directions_run

โครงการส่งเสริมการจัดการสุขภาพป้องกันภาวะซึมเศร้าของเด็กและเยาวชนเขตโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตําบลบ้านโตระ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ โครงการส่งเสริมการจัดการสุขภาพป้องกันภาวะซึมเศร้าของเด็กและเยาวชนเขตโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตําบลบ้านโตระ ”

ตำบลตำนาน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางทิพวรรณ นวลนิรันดร์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการจัดการสุขภาพป้องกันภาวะซึมเศร้าของเด็กและเยาวชนเขตโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตําบลบ้านโตระ

ที่อยู่ ตำบลตำนาน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-00199-036 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2567 ถึง 16 เมษายน 2568


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการจัดการสุขภาพป้องกันภาวะซึมเศร้าของเด็กและเยาวชนเขตโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตําบลบ้านโตระ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตำนาน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการจัดการสุขภาพป้องกันภาวะซึมเศร้าของเด็กและเยาวชนเขตโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตําบลบ้านโตระ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการจัดการสุขภาพป้องกันภาวะซึมเศร้าของเด็กและเยาวชนเขตโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตําบลบ้านโตระ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตำนาน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-00199-036 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2567 - 16 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโตระ รับผิดชอบจำนวน 7 หมู่บ้าน มีประชากรกลุ่มอายุ 10-19 ปี จำนวน 668 คน ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กและเยาวชน เป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติในการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต     สถานการณ์ปัญหาเด็กและเยาวชนพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโตระ กลุ่มเสี่ยงยาเสพติด 7 หมู่ จำนวน 70 คน ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 1 คน ปัญหาโภชนาการมีภาวะอ้วน 10 คน เด็กติดเกมส์ 378 คน (ร้อยละ 57) โรคซึมเศร้า 3 คน ได้เห็นถึงปัญหาของเด็กและเยาวชน กลุ่มเสี่ยงยาเสพติด ติดเกมส์ โรคซึมเศร้า เป็นเรื่องสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม     จากข้อมูลปัญหาที่เกิดกับเด็กและเยาวชนเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโตระได้เลือกประเด็นปัญหาเสี่ยงภาวะซึมเศร้า เนื่องจากปัญหาที่เกิดขึ้นกับพื้นที่มีข้อมูลการตายของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโตระ จำนวนผู้ฆ่าตัวตายจำนวน 1 ราย และยังพบปัญหาสุขภาพจิตในเด็กและเยาวชน จำนวน 3 ราย เกี่ยวกับพฤติกรรม กำลังรักษาตัวในโรงพยาบาลพัทลุง จำนวน 1 ราย ซึ่งมี
สาเหตุจากด้านพฤติกรรมของบุคคลในครอบครัว ขาดการดูแลเอาใจใส่ ไม่เล็งเห็นความสำคัญปัญหาด้านสุขภาพจิตของเด็กและเยาวชน เลี้ยงดูบุตรหลานด้วยโทรศัพท์มือถือ ไม่มีเวลาให้บุตรหลาน ผู้ปกครองกดดัน การเลี้ยงดูมีการเปรียบเทียบเด็กและเยาวชนกับครอบครัวอื่น ครอบครัวแตกแยก ผู้ปกครองเลี้ยงดูตามใจบุตรหลาน เด็กและเยาวชนน้อยใจคิดมาก แยกตัวเองไม่สนใจผู้อื่น จากสถานการณ์ชุมชน เยาวชน กลุ่มเสี่ยงยาเสพติด เด็ก
    ด้านกลไก ยังไม่มีกลุ่ม/ชุมชนสนับสนุนในการจัดกิจกรรมให้เด็กและเยาวชน ไม่ต่อเนื่อง มีชมรมทูบีนัมเบอร์วัน ดำเนินงานไม่ต่อเนื่อง ขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ด้านสุขภาพจิต คณะทำงานมีไม่ครอบคลุมทุกภาคส่วน
ด้านสภาพแวดล้อม มีการจับกลุ่มเล่นเกมส์ออนไลน์ ต้องจ่ายเงินทำให้มีภาวะเครียด แยกตัวรวมกลุ่มมั่วสุมยาเสพติด/กินน้ำใบกระท่อม มีสถานที่มั่วสุม เช่น กระท่อมในสวนยางพารา ศาลาหมู่บ้าน จากสาเหตุดังกล่าวส่งผลกระทบกับพื้นที่ดังนี้
ผลกระทบด้านสุขภาพ เด็กและเยาวชนพูดจาก้าวร้าว ด้านเด็กและเยาวชนมีปัญหาสุขภาพจิต เครียดซึมเศร้า ขาดการเอาดูแลสุขภาพตนเองทำให้ร่างกายซูบผอม ขาดสารอาหาร นอนไม่หลับ
ด้านสังคม เก็บตัวไม่เข้าสังคม รู้สึกตนเองไม่มีคุณค่าขาดความอบอุ่นจากครอบครัว
ด้านเศรษฐกิจ เกิดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ผู้ปกครองรายได้ลดลงเนื่องจากต้องดูแลเด็กและเยาวชนที่มีปัญหาภาวะซึมเศร้า และด้านสิ่งแวดล้อม เด็กและเยาวชน จับกลุ่มแยกตัวจากผู้ปกครอง
    ดังนั้นคณะทำงานโครงการฯร่วมกับหน่วยงานด้านสุขภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโตระ เทศบาลตำบลตำนาน โรงเรียนวัดตำนาน โรงเรียนวัดประจิมทิศาราม กศน.ตำบลตำนาน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมความรู้ในการจัดการสุขภาพป้องกันภาวะชึมเศร้าของเด็กและเยาวชนเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโตระขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดความรู้ในการจัดการสุขภาพของเยาวชนมีกลุ่มเป้าหมายสำคัญคือกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่ โดยมุ่งเน้นผลลัพธ์ที่สามารถวัดผลและมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายมีกิจกรรมส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาพในชุมชนและกลไกขับเคลื่อนงานที่ทำให้กลุ่มเป้าหมายดำเนินการอย่างต่อเนื่องและขยายผลการดำเนินงานได้ในอนาคต สามารถเป็นพื้นที่ต้นแบบการบูรณการการจัดการสุขภาพ โดยมีความรู้และมีภูมิคุ้มกันที่ดีลดความเสี่ยงปัญหาภาวะซึมเศร้าในเด็กและเยาวชน และเกิดความมั่นคงในด้านสุขภาพของคนในชุมชนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และตระหนักในการจัดการสุขภาพป้องกันภาวะชึมเศร้า
  2. วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อพัฒนากลไกการดำเนินงานการจัดการสุขภาพของตนเองและครอบครัวโดยชุมชน
  3. วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อปรับสภาพแวดล้อมของชุมชนให้เอื้อต่อการจัดการสุขภาพของตนเองและครอบครัว
  4. วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนสามารถจัดการสุขภาพของตนเองมีภูมิคุ้มกันที่ดีลดความเสี่ยงปัญหาซึมเศร้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน
  2. กิจกรรมที่ 4 4.ประชุมคณะทำงาน
  3. กิจกรรมที่ 1 1.เปิดโครงการ ถ่ายทอดความรู้
  4. กิจกรรมที่ 2 2.ศึกษาดูงานการส่งเสริมสุขภาพจิตป้องกันภาวะซึมเศร้าของเด็กและเยาวชน
  5. กิจกรรมที่ 3 3.กิจกรรมรวมกลุ่มสัมพันธ์เพื่อนเยาวชน
  6. กิจกรรมที่ 8 8.ปฏิบัติการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว
  7. กิจกรรมที่ 6 6.กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้
  8. กิจกรรมที่ 7 7. แลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการสุขภาพของเด็กและเยาวชนต้นแบบ
  9. กิจกรรมที่ 5 5.เวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)
  10. กิจกรรมที่ 9 9.เวทีถอดบทเรียนการดูแลสุขภาพของเยาวชนและครอบครัว
  11. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน
  12. กิจกรรมที่ 4 4.ประชุมคณะทำงาน
  13. กิจกรรมที่ 1 1.เปิดโครงการ ถ่ายทอดความรู้
  14. กิจกรรมที่ 2 2.ศึกษาดูงานการส่งเสริมสุขภาพจิตป้องกันภาวะซึมเศร้าของเด็กและเยาวชน
  15. กิจกรรมที่ 3 3.กิจกรรมรวมกลุ่มสัมพันธ์เพื่อนเยาวชน
  16. กิจกรรมที่ 8 8. ปฏิบัติการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว
  17. กิจกรรมที่ 6 6.กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้
  18. กิจกรรมที่ 7 7. แลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการสุขภาพของเด็กและเยาวชนต้นแบบ
  19. กิจกรรมที่ 5 5.เวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)
  20. กิจกรรมที่ 9 9. เวทีถอดบทเรียนการดูแลสุขภาพของเยาวชนและครอบครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
เยาวชนและครอบครัว 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กและเยาวชนมีความรู้และตระหนักในการจัดการสุขภาพป้องกันภาวะชึมเศร้า 2.เกิดกลไกการดำเนินงานการจัดการสุขภาพของตนเองและครอบครัวโดยชุมชนที่มีความเข้มแข็ง 3.เกิดสภาพแวดล้อมของชุมชนให้เอื้อต่อการจัดการสุขภาพของตนเองและครอบครัว 4.เด็กและเยาวชนสามารถจัดการสุขภาพของตนเองมีภูมิคุ้มกันที่ดีลดความเสี่ยงปัญหาภาวะซึมเศร้า


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน

วันที่ 20 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.เปิดการประชุมและมอบนโยบายการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนภายใต้แผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะ โดยนายสุทธิ์ ธรรมเพชร นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง 2.พีธีลงนามในบันทึกข้อตกลงสนับสนุนทุนโครงการย่อย ระหว่างนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง ซึ่งเป็นผู้ให้ทุน กับ ผู้รับทุน 3.ชี้แจงแนวทางและขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการเบิกจ่ายเงิน การจัดทำรายงานการเงิน/หลักฐานการเงิน 4.พักรับประทานอาหารกลางวัน 5.การจัดทำรายงานผ่านระบบ Happy Networt 6.ปฏิบัติการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ Happy Networt และทดลองจัดทำรายงานผ่านระบบ Happy Networt 7.แนวทางการเขียนรายงานความก้าวหน้าและผลลัพธ์การดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แนวทางและขั้นตอนงานโครงการ
  2. หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการเบิกจ่ายเงิน
  3. การจัดทำรายงานการเงิน/หลักฐานการเงิน
  4. การจัดทำรายงานผ่านระบบ Happy Networt
  5. แนวทางการเขียนรายงานความก้าวหน้าและผลลัพธ์การดำเนินงาน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และตระหนักในการจัดการสุขภาพป้องกันภาวะชึมเศร้า
ตัวชี้วัด : 1.เด็กและเยาวชน.มีความรู้และตระหนักในการจัดการสุขภาพป้องกันภาวะชึมเศร้า ผ่านการทดสอบความรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ80 2.มีแผนการดำเนินงานการจัดการสุขภาพของเด็กและเยาวชน

 

2 วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อพัฒนากลไกการดำเนินงานการจัดการสุขภาพของตนเองและครอบครัวโดยชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการสุขภาพของเด็กและเยาวชนร่วมกับทุกภาคส่วนจำนวน15 คน ประชุม อย่างต่อเนื่อง 2.มีข้อมูลและข้อเสนอการจัดการสุขภาพและการปรับเปลี่ยนการดูแลสุขภาพของเยาวชนและครอบครัว 3.เกิดกติกาข้อตกลง 4.เกิดกลไกการติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ

 

3 วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อปรับสภาพแวดล้อมของชุมชนให้เอื้อต่อการจัดการสุขภาพของตนเองและครอบครัว
ตัวชี้วัด : 1.มีแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพชุมชน จำนวน 1 แหล่ง 2.มีพื้นที่สร้างสรรค์ จำนวน 2 แห่ง 3.มีกิจกรรมสานสัมพันธ์ครอบครัวด้วยชุมชน

 

4 วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนสามารถจัดการสุขภาพของตนเองมีภูมิคุ้มกันที่ดีลดความเสี่ยงปัญหาซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : 4.1 จำนวนเด็กและเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างน้อยร้อยละ 80 4.2 มีเยาวชนต้นแบบหรือบุคคลต้นแบบด้านจัดการสุขภาพของตนเอง จำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน 4.3 มีกิจกรรมสานสัมพันธ์ครอบครัวด้วยชุมชน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
เยาวชนและครอบครัว 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และตระหนักในการจัดการสุขภาพป้องกันภาวะชึมเศร้า (2) วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อพัฒนากลไกการดำเนินงานการจัดการสุขภาพของตนเองและครอบครัวโดยชุมชน (3) วัตถุประสงค์ข้อที่ 3  เพื่อปรับสภาพแวดล้อมของชุมชนให้เอื้อต่อการจัดการสุขภาพของตนเองและครอบครัว (4) วัตถุประสงค์ข้อที่ 4  เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนสามารถจัดการสุขภาพของตนเองมีภูมิคุ้มกันที่ดีลดความเสี่ยงปัญหาซึมเศร้า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน (2) กิจกรรมที่ 4  4.ประชุมคณะทำงาน (3) กิจกรรมที่ 1  1.เปิดโครงการ ถ่ายทอดความรู้ (4) กิจกรรมที่ 2  2.ศึกษาดูงานการส่งเสริมสุขภาพจิตป้องกันภาวะซึมเศร้าของเด็กและเยาวชน (5) กิจกรรมที่ 3  3.กิจกรรมรวมกลุ่มสัมพันธ์เพื่อนเยาวชน (6) กิจกรรมที่ 8  8.ปฏิบัติการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว (7) กิจกรรมที่ 6  6.กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้ (8) กิจกรรมที่ 7  7. แลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการสุขภาพของเด็กและเยาวชนต้นแบบ (9) กิจกรรมที่ 5  5.เวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) (10) กิจกรรมที่ 9 9.เวทีถอดบทเรียนการดูแลสุขภาพของเยาวชนและครอบครัว (11) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน (12) กิจกรรมที่ 4  4.ประชุมคณะทำงาน (13) กิจกรรมที่ 1  1.เปิดโครงการ ถ่ายทอดความรู้ (14) กิจกรรมที่ 2  2.ศึกษาดูงานการส่งเสริมสุขภาพจิตป้องกันภาวะซึมเศร้าของเด็กและเยาวชน (15) กิจกรรมที่ 3 3.กิจกรรมรวมกลุ่มสัมพันธ์เพื่อนเยาวชน (16) กิจกรรมที่ 8  8. ปฏิบัติการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว (17) กิจกรรมที่ 6  6.กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้ (18) กิจกรรมที่ 7  7. แลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการสุขภาพของเด็กและเยาวชนต้นแบบ (19) กิจกรรมที่ 5  5.เวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) (20) กิจกรรมที่ 9 9. เวทีถอดบทเรียนการดูแลสุขภาพของเยาวชนและครอบครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการจัดการสุขภาพป้องกันภาวะซึมเศร้าของเด็กและเยาวชนเขตโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตําบลบ้านโตระ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-00199-036

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางทิพวรรณ นวลนิรันดร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด