directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มผู้สูงอายุ บ้านสวนโหนด

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการเลือกบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับวัย
ตัวชี้วัด : -ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 -ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องอาหารเพิ่มขึ้นร้อยละ80 -ผู้สูงอายุ.สามารถวางแผนการบริโภคอาหารของตนเองได้ ร้อยละ60 ผู้สูงอายุร้อยละ80สามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมไปปรับเรื่องการบริโภคและการจัดการแหล่งวัตถุดิบ

 

 

 

2 เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนและติดตาม
ตัวชี้วัด : -มีคณะทำงานจากหน่วยงานต่างๆและมีการประชุมติดตามงานทุก 2 เดือน -มีแผนการดำเนินงานที่ชัดเจนในด้านการปรับพฤติกรรมการบริโภคในผู้สูงอายุ -มีรูปแบบการติดตามที่ชัดเจน -มีแกนนำผู้สูงอายุในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

 

 

 

3 เกิดการปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : -มีแปลงผักรวมอย่างน้อย1แปลงในหมู่บ้านทุกหมู่และมีผักย่างน้อย 5 ชนิด/แปลง -มีแปลงผักในครัวเรือนร้อยละ 80 -มีกติการ่วมกันในชุมชนเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค

 

 

 

4 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : -ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ80 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง

 

 

 

5 เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการบรรลุวัตถุประสงค์
ตัวชี้วัด : -เข้าร่วมกิจกรรมที่แผนงานจัด 100% -สามารถจัดส่งรารยงานต่างๆได้ตามกำหนด