directions_run

โครงการยาบี ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 5 บ้านโคกวัด ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการยาบี ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 5 บ้านโคกวัด ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ”

หมู่ที่ 5 บ้านโคกวัด ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางปาริชาติ แก้วทองประคำ

ชื่อโครงการ โครงการยาบี ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 5 บ้านโคกวัด ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

ที่อยู่ หมู่ที่ 5 บ้านโคกวัด ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 54-01572 เลขที่ข้อตกลง 54-00-0585

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2554 ถึง 31 กรกฎาคม 2555


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการยาบี ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 5 บ้านโคกวัด ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 5 บ้านโคกวัด ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการยาบี ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 5 บ้านโคกวัด ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการยาบี ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 5 บ้านโคกวัด ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 5 บ้านโคกวัด ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 54-01572 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2554 - 31 กรกฎาคม 2555 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 727,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

1.เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชนในหมู่บ้านและชุมชน ในการจัดการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงในชุมชน
2.เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมของประชาชนในการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูง
3.เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพที่เหมาะสม ของคนในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. คัดเลือกคณะทำงานควบคุมโรคเรื้อรังชุมชน

    วันที่ 16 ก.ค. 2567

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    0 0

    2. จัดค่ายพัฒนาทักษะเยาวชนรักถิ่นบ้านเกิด

    วันที่ 16 ก.ค. 2567

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    0 0

    3. จัดเวทีแสดงความคิดเห็นต่อการพัฒนาระบบบริการของหน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่

    วันที่ 16 ก.ค. 2567

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    0 0

    4. จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ป้องกันโรคเบาหวานความดันในชุมชน

    วันที่ 16 ก.ค. 2567

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    0 0

    5. จัดเวทีสุขภาพและจัดตั้งสภาผู้นำ

    วันที่ 16 กันยายน 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    มีตัวแทนครอบครัวรวมถึงท่านเจ้าอาวาส ที่เข้าร่วมประชุมรวมทั้งสิ้น 118 คน มาร่วมรับรู้ ร่วมคิด ร่วมคัดเลือกตัวแทนสภาผู้นำ ตามที่กำหนด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ในการรับฟังการชี้แจงโครงการ และร่วมคัดเลือกตัวแทนเพื่อมาทำงานในทีมสภาผู้นำ รวมถึงการแลกเปลี่ยนความคิด ทั้งตัวแทนชาวบ้าน ผู้รับผิดชอบโครงการ พี่เลี้ยงโครงการ และท่านเจ้าอาวาส ได้รูปแบบการเฝ้าระวังสุขภาพโดยชุมชนโดยการใช้ส่วนสูงลบ 100 เท่ากับน้ำหนักที่ควรจะเป็น ถ้าเกินกว่านั้น ต้องมีการลดน้ำหนัก และมีเมนูสุขภาพถวายพระสัปดาห์ละ 3 วันโดยเวรประจำวัด ท่านเจ้าอาวาสมีเทศนาเรื่องอาหารลดเสี่ยง 

     

    0 0

    6. ประชุมสภาผู้นำ เพื่อวางแผน/นโยบายการพัฒนาชุมชน

    วันที่ 17 ตุลาคม 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    หลังจากได้รายชื่อคณะทำงานมาแล้ว เราได้ให้ผญบ.ม.5 ออกเป็นหนังสือแต่งตั้ง และเชิญมาประชุมครั้งแรกวันที่ 17 ต.ค.54 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในเบื้องต้น ได้นำเสนอข้อมูลที่เราประชุมกับชาวบ้าน เมื่อวันที่ 16 ก.ย.54 ที่ผ่านมา เนื่องจากยังค้างเรื่องเมนูสุขภาพถวายท่านเจ้าอาวาส ซึ่งยังไม่ได้กำหนดวันและตัวบุคคลที่จะรับผิดชอบ เพื่อจะประกาศใช้ในชุมชนต่อไป จากนั้นได้มอบหมายให้แกนนำไปสำรวจข้อมูลกลุ่มที่กำหนด และนัดหมายให้มีการไปจัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพนอกพื้นที่ และหารือถึงวิธีจะสื่อสารอย่างไรให้ชาวบ้านตระหนักถึงการกิน การอยู่ เพื่อสุขภาพที่ดีของตนเอง

     

    0 0

    7. จัดทำแผนชุมชน แผนที่สุขภาวะชุมชนขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังความดันเบาหวานบ้านโคกวัดปี 2554-2556

    วันที่ 26 ตุลาคม 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    เรากำหนดขึ้นในวันที่ 26-28 ต.ค. 54 ณ เทพาบีช รีสอร์ท เป้าหมายครบ 50 คน โดยจัดให้มีกิจกรรมละลายพฤติกรรม การอบรมให้ความรู้ และการแบ่งกลุ่มระดมความคิดตามหัวข้อที่กำหนด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ท่านนายก อบต.ยาบี และปลัด อบต.ยาบี ได้กล่าวเปิดงาน และกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมในวันนี้ และเริ่มดำเนินกิจกรรมตามที่กำหนด ซึ่งชาวบ้านมีความตระหนัก และให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี สามารถระดมความคิดเห็นตามหัวข้อที่กำหนด และส่งตัวแทนมานำเสนอได้ จากนั้นทุกคนร่วมกันกำหนดตัวชี้วัดด้านสุขภาพ ร่วมจัดทำแผนสุขภาวะของหมู่บ้าน และกำหนดเป็นนโยบายการลดโรคเบาหวานความดัน ซึ่งจะได้นำประเด็นเหล่านี้ไปเสนอต่อเวทีชาวบ้านอีกครั้งหนึ่งเพื่อหามติของชุมชน และประกาศใช้ต่อไป

     

    0 0

    8. พัฒนาศักยภาพ อสม.เชิงรุกดูแลสุขภาพในชุมชน (มิสเตอร์ 6 อ.)

    วันที่ 31 ตุลาคม 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    เราได้จัดขึ้น 2 วัน วันแรกอบรม มิสเตอร์ 6 อ. วันที่ 31 ตุลาคม 54 ณ รพ.สต.ยาบี ในภาคปฏิบัติ เราให้ผู้เข้าร่วมแปรงฟันให้ถูกวิธี วันที่สอง อบรมทำลูกประคบ วันที่ 24 พฤศจิกายน 54 ณ ศูนย์การเรียนรู้ในชุมชนฯ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และทักษะการบริการตรวจคัดกรอง ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยเฉพาะเรื่อง 6 อ.การดูแลสุขภาพช่องปาก และการทำลูกประคบ เพื่อให้สามารถดูแลสุขภาพคนในชุมชนได้

     

    0 0

    9. ติดตามประเมินพฤติกรรมสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก่อน-ระหว่าง-หลังการดำเนินการ

    วันที่ 2 พฤศจิกายน 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    เราจัดขึ้นที่วัดยานิการาม โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามเป้าหมายที่วางไว้ และได้ตรวจสุขภาพ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถทำได้ตามกิจกรรมที่กำหนด โดยข้อมูลที่ได้จะนำไปวางแผนการจัดทำหลักสูตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสมกับปัญหาของคนในพื้นที่

     

    0 0

    10. จัดกระบวนการวิเคราะห์สภาพปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหา การดูแลสุขภาพ กลุ่มป่วย กลุ่มเสี่ยง กลุ่มปกติ

    วันที่ 11 พฤศจิกายน 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    ชาวบ้านมาร่วมประชุม ตามเป้าหมายที่วางไว้ คณะผู้จัดได้นำข้อมูลที่ตัวแทนชุมชนไปจัดทำนอกสถานที่เมื่อวันที่ 26-28 ต.ค.54 มาติดไว้ข้างผนัง เพื่อให้ชาวบ้านได้รับทราบ และให้ผญบ.นำเสนออีกครั้งหนึ่ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านได้ร่วมกันหารือ ถึงความเป็นไปได้ของแนวทางต่างๆ มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างตรงไปตรงมา มีการกำหนดตัวบุคคลที่จะรับผิดชอบในแต่ละเรื่อง พร้อมให้เจ้าตัวเห็นชอบและยินยอม กำหนดบทบาทหน้าที่ของแกนนำ, อสม. และตัวแทนชาวบ้านที่ได้รับมอบหมาย และมีประเด็นในการกำหนดเป็นพันธะสัญญาร่วมกันของคนในชุมชน ซึ่งเมื่อทุกคนเห็นพ้องต้องกัน จะได้ประกาศใช้เป็นมาตการทางสังคมต่อไป

     

    0 0

    11. ติดตามประเมินพฤติกรรมสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก่อน-ระหว่าง-หลังการดำเนินการ

    วันที่ 23 พฤศจิกายน 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    วันนี้เราจัดกิจกรรม 2 กิจกรรมนั่นคือ การติดตามประเมินพฤติกรรม ระหว่าง ดำเนินการ และกิจกรรมการเสริมพลังอำนาจผู้ป่วย คนมา 60 คน ให้ อสม ไปเก็บตกที่บ้าน อีก 40 คน ครบตามเป้าหมาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เราได้ติดตามประเมินพฤติกรรมสุขภาพการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นครั้งที่ 2 ซึ่งในครั้งนี้ นอกจากการตรวจสุขภาพแล้ว เราได้สัมภาษณ์ตามแบบสอบถาม เพื่อให้รู้เกี่ยวกับพฤติกรรมการกิน การอยู่ การนอน ของผู้ตอบ ทำให้เราได้ข้อมูล และนำข้อมูลเสนอกลับต่อผู้เข้าร่วมว่า พฤติกรรมการอยู่ การกิน ของเราส่งผลให้เราป่วยเป็นเบาหวาน ความดันอย่างไร และให้ผู้ป่วยที่ควบคุมความดันของตนเองได้ในระดับดี มาเล่าสู่กันฟังเกี่ยวกับเคล็ดลับการดูแลตนเอง และจัดตั้งชมรมผู้ป่วยเบาหวาน ความดัน และกำหนดกิจกรรมภายในชมรมขึ้นร่วมกัน

     

    0 0

    12. ประชุมสภาผู้นำ เพื่อติดตามความก้าวหน้า ควบคุมกำกับ และประเมินผลการดำเนินงาน

    วันที่ 30 พฤศจิกายน 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานสภาผู้นำสุขภาพและชุมชน จำนวน 30 คน พร้อมตัวแทนชาวบ้าน เข้าร่วมประชุมด้วย 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    วันนี้ คุณสัญญา  แพทย์จะเกร็ง พี่เลี้ยง สสส.ปน.เข้าร่วมติดตามประเมินผลโครงการของเราด้วย เมื่อพี่เสือถามว่า คิดว่าโครงการนี้สำเร็จไปแล้วกี่เปอร์เซ็นต์ คณะทำงานท่่านหนึ่ง ได้กล่าวว่า ถือว่าสำเร็จเพียง 50% เพราะเป็นเพียงการเริ่มต้นเท่านั้น หากจะวัดความสำเร็จ ต้องดูว่า ท้ายที่สุด กลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง สามารถควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้หรือไม่

     

    0 0

    13. จัดกระบวนการพัฒนาทักษะการเสริมพลังอำนาจการดูแลตนเองและการพัฒนาศักยภาพในการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงและผู้ดูแล

    วันที่ 21 ธันวาคม 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    ให้ความรู้ด้วยการบรรยาย นำเสนอด้วยโปรแกรมพาวเวอร์พอยท์ และมีการแบ่งกลุ่ม ให้เข้าฐานความรู้ 5 ฐานๆละ 20-30 นาที หมุนเวียนกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะรู้สึกสนุกกับกิจกรรม เพราะมีการหมุนเวียนกันเข้าฐาน สามารถเรียนรู้ รับรู้ อย่างทั่วถึง ใกล้ชิดกับวิทยากร กล้าสอบถามมากกว่า ในวงใหญ่ เมนูอาหารที่เสมือนจริง ทำให้เห็นภาพมากกว่าการบอกเล่า การนวดเท้า แช่เท้า อบตัว ก็เป็นสนใจ มีผู้ถามสูตรสมุนไพรด้วย

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    1.เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชนในหมู่บ้านและชุมชน ในการจัดการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงในชุมชน 2.เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมของประชาชนในการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3.เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพที่เหมาะสม ของคนในชุมชน

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการยาบี ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 5 บ้านโคกวัด ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 54-01572

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางปาริชาติ แก้วทองประคำ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด