stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ร่วมสร้างชุมชนโพธิ์ทองให้น่่าอยู่
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 54-01502
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2554 - 31 กรกฎาคม 2555
งบประมาณ 208,650.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาววณิชญา ฉันสำราญ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ - ชุมชนบ้านสี่แยกวัดโหนด หมู่ที่ ๕ ตำบล โพธิ์ทอง อำเภอท่าศาลา จังหวัด นครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด 8.630582,99.926147place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.ประชุมคณะทำงานและทีมงานของโครงการ

    1.1  ประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อทำความเข้าใจ โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย  และการดำเนินการ
    1.2  เด็ก 40คน พี่ ๑๐ คนเข้าร่วมกิจกรรม “พี่สอนน้อง” ที่ลานอ่านหนังสือมัสยิด เดือนละ 2 ครั้ง เด็ก 40คน ผู้สูงอายุ ๑๐ คนเข้าร่วมกิจกรรม “เล่าเรื่องดีๆของชุมชนให้เด็ก” ที่ลานอ่านหนังสือมัสยิด เดือนละ 2 ครั้ง กลุ่มเด็กและเยาวชน ร่วมฝึกซ้อมการแสดงตามความถนัด โดยมีผู้ปกครองเป็นผู้สอน และเข้าร่วมการแสดงที่อำเภอ  3 เดือน / ครั้ง

  1. คัดเลือกแกนนำผู้ปกครองเพื่อวิเคราะห์มุมมองของชุมชนต่อสถานการณ์ด้านพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของเด็กและเยาวชน
      -ประเมินปัญหาและพฤติกรรมเสี่ยงของเยาวชนในชุมชน และแนวทางในการแก้ไขปัญหา ( ข้อดี ข้อด้อย  )   - รับทราบถึงปัญหา อุปสรรค และวิธีการแก้ไขปัญหาให้แก่เยาวชนแกนนำ
  2. ค้นหาผู้ปกครองที่ดีเพื่อเป็นต้นแบบให้กับเด็กและเยาวชน  เช่น  พ่อสอนการบ้านลูก  อ่านหนังสือกับลูก  พ่อแม่พาลูกเข้าวัด  / มัสยิด  ลานพี่สอนน้อง
  3. ประสานงานร่วมกับโรงเรียนในชุมชน เพื่อทำกิจกรรมร่วมกับเด็กและเยาวชน ผู้ปกครอง
    ๓.๑ ประชุมร่วมกันระหว่างผู้ปกครอง แกนนำชุมชน  สถานีอามัย  ผู้นำศาสนา  ผู้อำนวยการโรงเรียน  เป็นจำนวน  ๑๒  ครั้ง / ๑  ปี
    ๓.๒  แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ของเด็กและเยาวชน  เดือนละ  ๒  ครั้ง เป็นจำนวน ๒๔  ครั้ง/ปี
    ๓.๓ กิจกรรมพบปะเครือญาติ / ผู้นำศาสนา /ผู้นำชุมชน ผู้ปกครอง  แกนนำชุมชน  แกนนำเยาวชน ในวัน ฮารีรายอ โดยมีการทำกิจกรรมดังนี้ -ร่วมละหมาดร่วมกันในวันฮารีรายอ  และประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
    -รับฟังคำสอนจากผู้นำศาสนา -ทำความสะอาดร่วมกันกับแกนนำในชุมชน
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ส.ค. 2554 20:02 น.