directions_run

โครงการ “ ร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ บ้านบางดุก ”

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการ “ ร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ บ้านบางดุก ” ”

หมู่ที่15 บ้านบางดุก ตำบลคลองน้อย อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช

หัวหน้าโครงการ
นางวาสนา ณ นคร

ชื่อโครงการ โครงการ “ ร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ บ้านบางดุก ”

ที่อยู่ หมู่ที่15 บ้านบางดุก ตำบลคลองน้อย อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 54-01627 เลขที่ข้อตกลง 54-00-0662

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2554 ถึง 15 สิงหาคม 2555


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ “ ร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ บ้านบางดุก ” จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่15 บ้านบางดุก ตำบลคลองน้อย อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ “ ร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ บ้านบางดุก ”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ “ ร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ บ้านบางดุก ” " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่15 บ้านบางดุก ตำบลคลองน้อย อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช รหัสโครงการ 54-01627 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กรกฎาคม 2554 - 15 สิงหาคม 2555 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 210,500.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

ให้ชุมชนเปลี่ยนจากการใช่ปุ๋ยเคมี มาใช้น้ำหมักชีวภาพ
1.โดยการให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้และเข้าใจในกระบวนการลดขยะเป็นน้ำหมักชีวภาพ  บำรุงชีวิตและสิ่งแวดล้อมได้ต่อเนื่อง
2. ให้ประชาชนน้ำขยะอินทรีย์เปลี่ยนเป็นวิถีชีวภาพในภาคเกษตรกรรมประณีตได้ถูกต้อง
3.  ให้ประชาชนได้ศึกษา  ประเพณีท้องถิ่น ภูมิปัญญาอาหารพื้นบ้าน  สมุนไพรท้องถิ่น  ขับเคลื่อนการสร้างสุขภาวะ และเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เสวนาสภาแกนนำสร้างพลังแห่งการเกิดสุขภาวะ

    วันที่ 13 สิงหาคม 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    เสวนา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    13/08/54  เวลา 09.00-12.00 น. มีผู้เข้าร่วมจำนวน  30คน  ประกอบด้วยผู้ใหญ่บ้านเป็นประธาน  มีกรรมการกลุ่มต่างๆ ได้แก่ กองทุนหมู่บ้าน สัจจะออมทรัพย์  สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล อาสาสมัครสาธารณสุข  เจ้าหน้าที่สาธารณสุข  แกนนำโครงการ  พูดคุยเพื่อหาแนวทางแก้ไข  ด้านสิ่งแวดล้อม  ด้านสุขภาพ  ด้านสังคม  หนี้สิน  ผู้ด้อยโอกาส  ด้านเศรษฐกิจ

     

    0 0

    2. แลกเปลี่ยนการเรียนรู้เส้นทางขยะสู้น้ำหมักชีวภาพบำรุงและสิ่งแวดล้อม

    วันที่ 3 กันยายน 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    3/9/54  เวลา  09.00 -16.00  น. มีผู้เข้าร่วม  55  คน  ร่วมกันพูดคุย  ค้นหาภูมิปัญญาชาวบ้านในการนำขยะและวัสดุที่เหลือใช้ให้เกิดประโยชน์  เช่น  การทำน้ำหมักจากเศษอาหาร,หอยเชอรี่.ผลไม้ -สิ่งประดิษฐ์จากพลาสติก  เช่นดอกไม้ จากถุงน้ำยาปรับผ้านุ่ม -หมวก,กระเป๋าจากกล่องนม

     

    0 0

    3. แลกเปลี่ยนการเรียนรู้เส้นทางขยะสู้น้ำหมักชีวภาพบำรุงและสิ่งแวดล้อม

    วันที่ 4 กันยายน 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่นเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    4/9/54  เวลา  09.00 – 16.00 น. มีผู้เข้าร่วม  56  คน
    -แบ่งกลุ่มตามความสนใจในการเรียนรู้โดยแบ่งเป็น      - น้ำหมักชีวภาพ -  สิ่งประดิษฐ์จากพลาสติก กระเป๋าจากกล่องนม

     

    0 0

    4. แลกเปลี่ยนการเรียนรู้เส้นทางขยะสู้น้ำหมักชีวภาพบำรุงและสิ่งแวดล้อม

    วันที่ 10 กันยายน 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    10/09/54  เวลา  09.00 – 16.00 น. มีผู้เข้าร่วม  59  คน  ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตั้งวงคุยแลกเปลี่ยน  วิธีการทำน้ำหมักชีวภาพจากวัสดุที่แตกต่างกันและนำไปใช้ประโยชน์ที่ต่างกัน  เช่น  สูตรบำรุงดิน,บำรุงต้น,บำรุงใบ,เร่งดอกและผล

     

    0 0

    5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ” ในพื้นที่ต้นแบบสู้การสร้างสุขภาวะ

    วันที่ 11 กันยายน 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    11/09/54  เวลา  09.00 – 16.00 น. ผู้เข้าร่วม  55  คน    ได้พูดคุยเรื่องการเกษตรเพื่อสุขภาพในครัวเรือนและรับสมัคร  “ ครัวต้นแบบ ”  พร้อมให้ความรู้เกี่ยวกับพืชผักสมุนไพร และหลักเกณฑ์ครัวต้นแบบ

     

    0 0

    6. แลกเปลี่ยนการเรียนรู้เส้นทางขยะสู้น้ำหมักชีวภาพบำรุงและสิ่งแวดล้อม

    วันที่ 17 กันยายน 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    17/09/54  เวลา  09.00 – 12.00 น. มีผู้เข้าร่วม  30 คน  ประกอบด้วย  นายประยุทธ  สีตุกา  ผู้ใหญ่บ้าน  ผู้นำชุมชน  แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข  ปราชญ์ชาวบ้าน  แกนนำโครงการร่วมพูดคุยชี้แจงเกี่ยวกับกิจกรรม  สิ่งที่ดีที่เกิดขึ้นพร้อมปัญหาในกิจกรรมที่ผ่านและวางแผนในการดำเนินกิจกรรมโครงการครั้งต่อไป

     

    0 0

    7. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ” ในพื้นที่ต้นแบบสู้การสร้างสุขภาวะ

    วันที่ 1 ตุลาคม 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1/10/54  เวลา  09.00 – 16.00 น. ผู้เข้าร่วม  55  คน    ตัวแทนผู้ที่ใช้น้ำหมักกชีวภาพ  จำนวน 12 คน  มาเล่าถึงผลดีที่ได้รับจากการใช้น้ำหมักชีวภาพ

     

    0 0

    8. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ” ในพื้นที่ต้นแบบสู้การสร้างสุขภาวะ

    วันที่ 2 ตุลาคม 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    2/10/54 เวลา  09.00 – 12.00 น.ผู้เข้าร่วม  55  คน  แกนนำครัวต้นแบบและคณะกรรมการร่วมพูดคุยถึงหลักเกณฑ์ของการเป็นครัวต้นแบบ
    หมายเหตุ  มีการตกลงคณะกรรมการลงเยี่ยมบ้านครัวต้นแบบในวันที่  5 /11/54 เวลา12.00 น.

     

    0 0

    9. การเรียนรู้แนวเศรษฐกิจพอเพียงสู้การปฎิบัติ

    วันที่ 8 ตุลาคม 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    เรียนรู้ร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    8/10/54  เวลา  09.00 – 15.00 น. ผู้เข้าร่วม  45  คน    พูดคุยเล่าเรื่อง/แลกเปลี่ยนสิ่งที่ดีๆที่แต่ละครัวเรือนทำอยู่เกี่ยวกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

     

    0 0

    10. การเรียนรู้แนวเศรษฐกิจพอเพียงสู้การปฎิบัติ

    วันที่ 12 ตุลาคม 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    เรียนรู้สู่การปฏิบัติ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    12/10/54  เวลา  09.00 – 15.00 น. ผู้เข้าร่วม  55  คน    แบ่งกลุ่มพูดคุยเกี่ยวกับการประกอบอาชีพภาคเกษตรกรรมของคนในชุมชนผ่านภาพวาด

     

    0 0

    11. แลกเปลี่ยนการเรียนรู้เส้นทางขยะสู้น้ำหมักชีวภาพบำรุงและสิ่งแวดล้อม

    วันที่ 15 ตุลาคม 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    15/10/54  เวลา  09.00 – 15.00  น. มีผู้เข้าร่วม  29  คน  ผู้ใหญ่ชี้แจงเรื่องปัญหายาเสพติดตามนโยบายรัฐบาล  เช่นการโค่นกระท่อม  การทำบัตรประชาชนผู้ที่มีอายุ 7 ปีบริบูรณ์  ประปาหมู่บ้านผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่ใช้สิทธินอกพื้นที่  เงินSML  นายประยุทธ  สีตุกา  นักวิชาการพูดคุยเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงและโทษของยาเสพติด

     

    0 0

    12. การเรียนรู้แนวเศรษฐกิจพอเพียงสู้การปฎิบัติ

    วันที่ 20 ตุลาคม 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    เรียนรู้สู่การปฏิบัติ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    20/10/54  เวลา  09.00 – 15.00 น. ผู้เข้าร่วม  55  คน    ผู้เข้าร่วมกิจกรรมและแกนนำโครงการตั้งวงคุยร่วมกันถอดบทเรียนเกี่ยวกับการประกอบอาชีพภาคเกษตรกรของคนในชุมชน

     

    0 0

    13. การเรียนรู้แนวเศรษฐกิจพอเพียงสู้การปฎิบัติ

    วันที่ 22 ตุลาคม 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    22/10/54  เวลา  09.00 – 15.00 น. ผู้เข้าร่วม  44  คน  ผู้เข้าร่วมกิจกรรมแบ่งกลุ่ม เป็น 2กลุ่ม เพื่อหาจุดเด่น-จุดด้อยของชุมชน  แล้วหาบทบาทสรุป

     

    0 0

    14. การเรียนรู้แนวเศรษฐกิจพอเพียงสู้การปฎิบัติ

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    5/11/54    เวลา  09.00 – 15.00 น. ผู้เข้าร่วม  42 คน    ผู้เข้าร่วมกิจกรรมช่วยกันถอดบทเรียน จาก จุดดี,จุดด้อย,อุปสรรคและโอกาส ภาคบ่าย  คณะกรรมการลงเยี่ยมบ้านครัวต้นแบบ  จำนวน 24ครัวเรือน

     

    0 0

    15. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ” ในพื้นที่ต้นแบบสู้การสร้างสุขภาวะ

    วันที่ 12 พฤศจิกายน 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    12/11/5454    เวลา  09.00 – 15.00 น. ผู้เข้าร่วม  40  คน
    ผู้เข้าร่วมกิจกรรม  ตั้งวงคุย-แลกเปลี่ยน ถึงสถานที่ที่จะไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อมาเป็นต้นแบบและนำมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับพื้นที่ นางสิทธิพรรณ  เรือนจันทร์  พี่เลี้ยงโครงการมาชี้แจงเกี่ยวกับการทำโครงการ/การเงิน  และทิศทางในการทำให้ชุมชนน่าอยู่

     

    0 0

    16. แลกเปลี่ยนการเรียนรู้เส้นทางขยะสู้น้ำหมักชีวภาพบำรุงและสิ่งแวดล้อม

    วันที่ 17 พฤศจิกายน 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    17/11/54  เวลา  09.00 – 12.00  น. ผู้เข้าร่วม  25  คน  ประกอบไปด้วย ผู้ใหญ่บ้าน  สภาผู้นำชุมชน,อสม.และภาคีเครือข่าย  เจ้าหน้าที่สาธารณสุข  ตั้งวงคุยเรื่องการขับเคลื่อนสุขภาพของคนในชุมชน  ที่ทำให้เกิดสุขภาวะที่ดีพร้อมกับเล่าถึงปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับกิจกรรมที่ผ่านมา

     

    0 0

    17. เสวนาสภาแกนนำสร้างพลังแห่งการเกิดสุขภาวะ

    วันที่ 19 พฤศจิกายน 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    19/11/5454    เวลา  09.00 – 15.00 น. ผู้เข้าร่วม  40  คน  ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้และพูดคุยเรื่องเกษรตสุขภาพในครัวเรือนและการทำจุลินทรีย์ชีวภาพ(EM ball) พร้อมร่วมกันทำ

     

    0 0

    18. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ แนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ” ในพื้นที่ต้นแบบสู้การสร้างสุขภาวะ

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2554

    กิจกรรมที่ทำ

    แลกเปลี่ยนเรียนรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    29/11/54  เวลา  09.00-17.00น. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม  40  คน เดินทางไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้พื้นที่ต้นแบบบ้านนายประยูร  เจริญขุน  ต.ท่าพญา  เยี่ยมชมการทำเกษตรแบบผสมผสาน เช่น ปลุกพืชหลายชนิดในพื้นที่เดียวกัน  มีมะนาว,มะม่วง,มะพร้าวบ้าน,มะละกอ,แก้วมังกร,ตะไคร้,ชมพู่,พริก,ขนุน,มะเขือ,การเลี้ยงปลา,เลี้ยงหมู โดยใช้ขี้หมูมาทำแก็สชีวมวลใช้เองใน

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    ให้ชุมชนเปลี่ยนจากการใช่ปุ๋ยเคมี มาใช้น้ำหมักชีวภาพ 1.โดยการให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้และเข้าใจในกระบวนการลดขยะเป็นน้ำหมักชีวภาพ บำรุงชีวิตและสิ่งแวดล้อมได้ต่อเนื่อง 2. ให้ประชาชนน้ำขยะอินทรีย์เปลี่ยนเป็นวิถีชีวภาพในภาคเกษตรกรรมประณีตได้ถูกต้อง 3. ให้ประชาชนได้ศึกษา ประเพณีท้องถิ่น ภูมิปัญญาอาหารพื้นบ้าน สมุนไพรท้องถิ่น ขับเคลื่อนการสร้างสุขภาวะ และเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ “ ร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ บ้านบางดุก ” จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ 54-01627

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวาสนา ณ นคร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด