แบบเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ ปี 2555 (เฉพาะภาคใต้)

by kanvala @20 มิ.ย. 55 13.35 ( IP : 118...68 ) | Tags : ชุมพร

แบบเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ ปี 2555 (เฉพาะภาคใต้)

ชื่อโครงการ      ปลอดหนี้ลดจ่ายเพิ่มได้แปลรูปสร้างชุมชนน่าอยู่
ชื่อและที่อยู่ ชุมชนที่เสนอโครงการ ......บ้านเขายาว  หมู่ที่ 2  ตำบล ถ้ำสิงห์  อำเภอ เมือง  จังหวัด  ชุมพร ……………………………. พื้นที่ดำเนินโครงการ  บ้านเขายาว  หมู่ที่ 2  ตำบล ถ้ำสิงห์  อำเภอ เมือง  จังหวัด  ชุมพร

ชื่อ-นามสกุลผู้ใหญ่บ้านหรือประธานชุมชน    นาย  รักชาติ  แค่ลวคล่อง เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    3860100956936 ที่อยู่  47  หมู่ที่ 2  ต. ถ้ำสิงห์  อ. เมือง  จ. ชุมพร………….. รหัสไปรษณีย์ …86100  โทรศัพท์ / โทรศัพท์เคลื่อนที่    084-889-4558

ชื่อ-นามสกุลผู้รับผิดชอบโครงการ  นาย  ชูเกียรติ  นารีศรีสวัสดิ์..…………… เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    3101700998220 องค์กร หน่วยงานหรือเครือข่าย …อาสาพัฒนาชุมชน  ..ตำแหน่ง…ผู้นำ อช. ต. ถ้ำสิงห์… ที่อยู่  23  หมู่ที่ 2  ต. ถ้ำสิงห์  อ. เมือง  จ. ชุมพร…………..รหัสไปรษณีย์ ......86100........................... โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ..086-994-8502..

รายชื่อผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ  (ให้ระบุ 3-5 คน) 1. ชื่อ-นามสกุล.......นาย  สุนันธ์        เกื้อสกุล เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก      3860101041052 องค์กร หน่วยงานหรือเครือข่าย ……กรมการปกครอง…..ตำแหน่ง…ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ที่อยู่    69  หมู่ที่ 2  ต. ถ้ำสิงห์  อ. เมือง  จ. ชุมพร…………..รหัสไปรษณีย์ ......86100.................................... โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก .....089-723-1936 บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้..............ประสานงานโครงการ

  1. ชื่อ-นามสกุล............นาย  ประชีพ    ชูปลอด เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    3860700409871 องค์กร หน่วยงานหรือเครือข่าย ……กองทุนหมู่บ้าน…..ตำแหน่ง    ประธานกองทุน ฯ…… ที่อยู่    37  หมู่ที่ 2  ต. ถ้ำสิงห์  อ. เมือง  จ. ชุมพร…………..รหัสไปรษณีย์ ......86100.................................... โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก ......077-.650157.......................
    บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้............ประสานงานโครงการ

3.ชื่อ-นามสกุล............นาย  สิทธิพร  คงมั่น เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก      3860100956227 องค์กร หน่วยงานหรือเครือข่าย ……กลุ่มเกษตรกร.…..ตำแหน่ง……กรรมการหมู่บ้าน ที่อยู่    23/1  หมู่ที่ 2  ต. ถ้ำสิงห์  อ. เมือง  จ. ชุมพร…………..รหัสไปรษณีย์ ......86100 โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก .....086-949-5002.
บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้.................ประสานงานโครงการ

  1. ชื่อ-นามสกุล........นาย  รุ่งเรือง    แคล่วคล่อง.... เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    3860100955921 องค์กร หน่วยงานหรือเครือข่าย ……กรมการปกครอง…..ตำแหน่ง…ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ที่อยู่    18  หมู่ที่ 2  ต. ถ้ำสิงห์  อ. เมือง  จ. ชุมพร…………..รหัสไปรษณีย์ ......86100 โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก .... 084-889-4558
    บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้..................ประชาสัมพันธุ์

  2. ชื่อ-นามสกุล.......นาย  บรรเลง  วิชัยดิษฐ์ เลขที่ประจำตัวประชาชน 13 หลัก    4860100003414 องค์กร หน่วยงานหรือเครือข่าย ……กรมการปกครอง…..ตำแหน่ง…ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ที่อยู่    46/3  หมู่ที่ 2  ต. ถ้ำสิงห์  อ. เมือง  จ. ชุมพร…………..รหัสไปรษณีย์ ......86100 โทรศัพท์ที่ติดต่อได้สะดวก .....081-538-2618
    บทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบในโครงการนี้..................ประติคม

ระบุรายชื่อแกนนำในชุมชน ให้ระบุเพิ่มอีก 3- 5 คน พร้อมประสบการณ์ในการทำงาน ที่จะมาช่วยหนุนเสริมการดำเนินงานของโครงการ ( เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน สมาชิกองค์การบริหารตำบล ครู ผู้นำศาสนา กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่มสหกรณ์ กลุ่มสวัสดิการ ผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. เป็นต้น) นาย สราวุธ  ชูปลอด ประธาน อสม.  ,  ส.อบต. น.ส เอื่องฟ้า  นวลมี    ส.อบต. นาย  กลั่น  แก้วโรย    ผู้สูงอายุ …………………………………………………………………………………………………..……………… …………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………

งบประมาณโครงการที่เสนอ งบประมาณรวม         200 ,000      ...................  บาท จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุนจาก สสส.    ……..200,000 ..………….…… บาท งบประมาณสมทบจากองค์กรที่เสนอโครงการ/องค์กรชุมชน/ชุมชน  ………-.…..…..  บาท แหล่งทุนอื่นๆ     .............………-….………….….  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน 1 ปี วันเริ่มต้น  ...........กัยนายน......2555........กำหนดเสร็จ  ......................................................................


รายละเอียดของโครงการ








1. ท่านได้ศึกษาแนวคิดชุมชนน่าอยู่และสนใจจะนำแนวคิดดังกล่าวไปปฏิบัติในชุมชนของท่านหรือไม่ อย่างไร □ สนใจ เพราะ          เกิดการเอื้ออารีพึ่งพาอาศัยกันในชุมชน......................... □ ไม่สนใจ เพราะ......................................................................................................................

  1. ท่านมีความพร้อมในการเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการอย่างน้อย  3 ครั้งเพื่อพัฒนาโครงการหรือการศึกษาดูงานนอกพื้นที่ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางในการพัฒนาชุมชนของท่านหรือไม่  (การเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการแต่ละครั้ง ต้องประกอบด้วยผู้ใหญ่บ้าน หรือประธานชุมชน  ผู้รับผิดชอบโครงการ  ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการ ซึ่งอาจเป็นสมาชิก อบต.  เจ้าหน้าที่สาธารณสุข แกนนำกลุ่มต่าง ๆ หรือผู้ที่มีศักยภาพในการดำเนินโครงการ ) □  มีความพร้อม(ต้องเข้าร่วมครบทุกครั้ง) □ ไม่มีความพร้อม





  2. ข้อมูลพื้นฐานชุมชน 3.1  ให้อธิบายขั้นตอนการพัฒนาโครงการและผลการดำเนินงานแต่ละขั้นตอนให้ชัดเจน
    3.1.1  ขั้นตอน และวิธีการรวมรวบข้อมูลชุมชน และวิเคราะห์ข้อมูลชุมชน (ให้แสดงข้อมูลชุมชนในภาคผนวกที่ 1)
    ……………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………….. 3.1.2  ขั้นตอนการทำและทบทวนแผนชุมชน (ให้แสดงหรือแนบแผนชุมชนในภาคผนวกที่ 2 ) ………………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………….. 3.1.3  ขั้นตอนการพัฒนาหรือเขียนโครงการ (เช่น การประชุมกลุ่มหรือการทำประชาคมหมู่บ้านเพื่อการตัดสินใจร่วมกันในการทำโครงการ)
    จากการประชุมประชาคมหมู่บ้านและมีการเสนอผ่านที่ประชุมดังนี้ 1. การแก้ปัญหาเรื่องหนี้สิน 1.1  การทำบัญชีครัวเรือน ( จะได้รู้รับและรู้จ่าย ) 1.2  การทำปุ๋ยใช้เอง  ( เพื่อลดต้นทุน ) 1.3  การทำน้ำยาล้างจาน , น้ำยาซักผ้า  ( ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ ) 1.4  การทำมันหม่อง , น้ำมันหม่อง , ลูกประคบ  ( สร้างกลุ่มสร้างอาชีพ ) 1.5  การทำสบู่สมุนไพร  ( สร้างอาชิพและรายได้ )
    3.2  โปรดวิเคราะห์ และอธิบายทุนที่มีอยู่ในชุมชนที่จะเป็นปัจจัยเอื้อค่อการดำเนินโครงการ (ทุนของชุมชน ได้แก่ คน ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม วิถีชีวิต ภูมิปัญญา และเศรษฐกิจชุมชน) 3.2.1  ในชุมชนของท่านมีใครที่เป็นปราชญ์ชาวบ้าน เป็นผู้นำ และแกนนำ ด้านใดบ้างที่ได้รับการยอมรับจากชุมชน (เช่น ผู้นำศาสนา กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน หมอพื้นบ้าน ครู เป็นต้น) 1. นาย ประชีพ  ชูปลอด    (  ปราชณ์ชาวบ้าน ) 2. นาย กลั่น  แก้วโรย        ( นวดกดจุด ) 3. นาย สำราญ  เสวกจันทร์    ( ยาแผนโบราณประจำหมู่บ้าน ) 4. นาย ชูเกียรติ  นารีศรีสวัสดิ์  ( ด้านบริหารจัดชุมชนภายใต้การเศรษฐกิจพอเพียง )

    3.2.2&nbsp; ในชุมชนของท่านมีกลุ่ม องค์กร หน่วยงานและเครือข่ายใดบ้างที่มีความเข้มแข็งเป็นกำลังหลักในงานพัฒนาชุมชน (เช่น เทศบาล,&nbsp; อบต., รพ.สต., โรงเรียน, อสม.,&nbsp; กลุ่มแม่บ้าน,&nbsp; กลุ่มผู้สูงอายุ, กลุ่มอาชีพ เป็นต้น)<br />
    1. กลุ่มเกษตรกรทำสวนกล้วย   2. กลุ่มผู้สูงอายุ  3. กลุ่มแม่บ้าน 4. กลุ่ม อสม หมู่บ้าน
    5. กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกขมิ้น 6. สมาชิก อบต. หมู่บ้าน 7. คณะกรรมการหมู่บ้าน<br />
    3.2.3&nbsp; ในชุมชนของท่านมีวิถีชีวิตหรือประเพณี วัฒนธรรมใดบ้างที่เป็นจุดเด่น สามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาชุมชน (เช่น ศาสนา ประเพณีพื้นบ้าน การบริโภค อาชีพ กีฬาและการละเล่น เป็นต้น)
    - การแห่กลองยาวขึ้นถ้ำงู ( 13 เม.ย ของทุกปี งานประจำปีหมู่บ้าน )
    - กีฬาประจำปีตำบล
    - งานวันแม่แห่งชาติ
    - งานวันพ่อแห่งชาติ
    - งานวัดประจำปี
    3.2.4&nbsp; ในชุมชนของท่านมีสิ่งใดที่ถือว่าเป็นภูมิปัญญา เป็นความรู้ เป็นนวัตกรรม ที่จะนำมาใช้ในการการพัฒนาชุมชน (เช่น แพทย์แผนไทย เกษตรวิถีธรรมวิถีไท ตำรับอาหาร สิ่งประดิษฐ์และกรรมวิธีในการประกอบอาชีพ เป็นต้น)
     - ภูมิปัญญายาแผนโบราณ , ภูมิปัญญาการนวดกดจุดแบบไทย<br />
    -&nbsp; นวัตกรรมการทำสบู่สปากาแฟ , สบู่เครื่องเทศ , สบู่ต้มยำ
    -&nbsp; วิทยากรการแปรูปสบู่ก้อน , น้ำยาล้างจาน , น้ำยาซักผ้า , การทำน้ำมันมะพร้าว
    -&nbsp; การบริหารงานภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
    3.2.5&nbsp; ในชุมชนของท่านมีศูนย์เรียนรู้ หรือกระบวนการเรียนรู้ หรือการจัดการความรู้ ในชุมชนอย่างไร (เช่น ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตรท้องถิ่น เวทีชาวบ้าน การวิจัยชุมชนท้องถิ่น เป็นต้น)
    - ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนด้านการบริหารจัดการชุมชนภายใต้ปรัชญาของเศราฐกิจพอเพียง
    - หมอดิน , อาสาเกษตร<br />
    - มีเอกสารตู้ยาสามัญประจำครัว&nbsp; 15 สมุนไพร&nbsp; 30 สูตรยาสมุนไพร
    3.2.6&nbsp; ในชุมชนของท่านมีการทำงานร่วมกัน หรือกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างไร&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; (เช่น สภาชุมชน สภากาแฟ การลงแขก เวทีชุมชน เวทีชาวบ้าน การทำงานเป็นกลุ่ม เครือข่าย เป็นต้น)
    - กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต , กลุ่ม อสม , กลุ่มสตรีหมู่บ้าน , เครือข่ายกองทุนหมู่บ้าน
    - กลุ่มพัฒนาถนนสาธารณะชุมชน
    3.2.7&nbsp; ในชุมชนของท่านมีเครือข่ายเศรษฐกิจชุมชนใดบ้าง ที่มีความเข้มแข็งและสามารถเข้าร่วมในการพัฒนาชุมชน (เช่น กองทุนออมทรัพย์ สหกรณ์ กองทุนสวัสดิการ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนสุขภาพตำบล เป็นต้น )
    
    • กลุ่มกองทุนและกลุ่มออมทรัพย์  ที่มีสมาชิก 145 คน
    • กลุ่มสมาชิกวิสาหกิจชุมชนกาแฟบ้านถ้ำสิงห์
    • กลุ่มสมาชิกสวัสดิการชุมชนตำบลถ้ำสิงห์
  3. สภาพปัญหาของชุมชนที่ต้องดำเนินการแก้ไข หรือพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
        4.1 ให้ระบุปัญหาในชุมชนและจัดลำดับความสำคัญจากปัญหาที่สำคัญมากไปน้อย และให้รายละเอียดแต่ละปัญหาในตารางต่อไปนี้

ปัญหาในชุมชน ขนาดของปัญหา
(เป็นปัญหามากหรือน้อย เท่าใด ) ความรุนแรงและผลกระทบของปัญหา ความตระหนักในการแก้ปัญหาของชุมชน ความยากง่าย ในการแก้ปัญหานี้ของชุมชน 1.  หนี้สิน           4     3     3      4 2.  ลดรายจ่าย           3     3     3            3 3.  เพิ่มรายได้           3     2     3      3
4.  สร้างอาชีพ           4       3       3      3 5.  การแปลรูป           3       2       3       2
ให้อธิบายเหตุผลสำคัญว่าทำไมชุมชนจึงเลือกปัญหาใดปัญหาหนึ่ง(หรืออาจจะมากกว่าหนึ่งปัญหา)ในตารางข้างต้น  มาเพื่อดำเนินโครงการนี้
-  ปลอดหนี้ลดจ่ายเพิ่มได้แปลรูปสร้างชุมชนน่าอยู่ เพราะคนในชุมชนมีความต้องการที่จะลดรายจ่ายและมีรายได้เสริม ปัจจุบัน มีภาวะหนี้สินคิดเป็นร้อยละ 50 %  ของประชากรในหมู่บ้าน  และมีความต้องการอยากจะตั้งกลุ่มอาชีพที่มีการเรียนรู้ในรูปแบบปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  การพอประมาณ , มีเหตุผล , มีภูมิคุ้มกันที่ดี  , เรียนรู้ คู่ คุณธรรม  เป็นแนวทางการดำเนินชีวิตในสถาณะกานณ์โลกที่ไม่แน่นอน และการเมืองนายทุนแสวงอำนาจ 4.2 ภาพพึงประสงค์ของชุมชนน่าอยู่ที่อยากเห็นของท่านเป็นอย่างไร หากท่านดำเนินการตามโครงการนี้สำเร็จจะทำให้บรรลุภาพความเป็นชุมชนน่าอยู่ของท่านได้หรือไม่ อย่างไร - เกิดความร่วมมือของคนในหมู่บ้านรู้รักสามัคคี - ผู้สูงอายุมีรายได้และมีสวัสดิการดูแลเมื่อเจ็บป่วย - เกิดองค์ความรู้แนวใหม่ - คนในหมู่บ้านมีงานทำและไม่พึ่งพายาเสพติด - ครอบครัวอบอุ่นอยู่ร่วมกันทานอาหารร่วมกันทุกๆมื้อ - หมู่บ้านสามารถพึ่งตนเองได้และมีการเกื้อกูลกันในหมู่บ้าน   4.3 ปัจจัยอะไรที่เป็นสาเหตุของปัญหา และปัจจัยอะไรที่เอื้อต่อการแก้ปัญหาที่ระบุในโครงการ 4.3.1 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคน (เช่น ความรู้ ความตระหนัก พฤติกรรม ความเชื่อ จิตวิญญาณ) - พฤติกรรมของคนในหมู่บ้านมีการเกื่อกุลกันแบ่งปันกัน - มีความรู้สามารถพึ่งตนเองและเป็นที่พึ่งคนในหมู่บ้าน -มีความเข้าใจการทำงานรูปแบบกลุ่มในทางที่ดีและมีจิตสำนึกรักหมู่บ้าน 4.3.2  ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อม (เช่น วิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา การศึกษา เศรษฐกิจ การเมือง นโยบาย เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม) - มีวิถีชีวิตที่เกื่อกูลกันเป็นต้นแบบของวัฒนธรรมการเกื่อกูล - พัฒนาองค์ความรู้ต่อยอดการศึกษาสู่เด็กและเยาวชน - เพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน 4.3.3  ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกลไก (เช่น ระบบสาธารณสุข กลไกของกลุ่ม และเครือข่ายในชุมชน กลไกท้องถิ่น กลไกของหน่วยราชการในชุมชน กลไกสื่อสารสาธารณะ) - การฝึกอบรมขบวนการชุมชนการเรียนรู้ - ส่งเสริมและติดตามขบวนการ - ประเมินผลการดำเนินงาน - จัดสวัสดิการ 4.4  ท่านจะใช้แนวทางสำคัญ  วิธีการสำคัญ หรือกลวิธีดำเนินงานที่สำคัญอะไร อย่างไร  เพื่อการแก้ไขปัญหาดังกล่าว 4.4.1 กลวิธีที่เกี่ยวข้องกับคน กลุ่มคน
-  จัดการฝึกอบรมการทำบัญชีครัวเรือน -  จัดอบรมแนวทางปรัชญาเศราฐกิจพอเพียง -  จัดฝึกอาชีพและพัฒนาฝีมือ -  จัดให้มีการออมพิเศษเพื่อปลดหนี้ 4.4.2 กลวิธีที่เกี่ยวข้องกับการปรับสภาพแวดล้อม - การทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม -  การเกื่อกูลกันในหมู่บ้าน 4.4.3  กลวิธีที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง และปรับปรุงกลไก -  ขบวนการการมีส่วนร่วม -  ขบวนการการเกื่อกูล -  ขบวนการการเรียนรู้ 4.5 ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงปัจจัยต่อไปนี้อย่างไร 4.5.1 การเปลี่ยนของคน และกลุ่มคนในชุมชน -  เกิดภูมิคุ้มกันตนเอง ด้านการใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น -  มีแนวทางการดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง -  มีองค์ความรู้ในการพัฒนาอาชีพ 4.5.2 การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในชุมชนที่เอื้อต่อชุมชนน่าอยู่ -  ความเป็นระเบียบ และมีความพร้อมในหมู่บ้าน -  เกิดขบวนการรักษาหมู่บ้าน


4.5.3 การเปลี่ยนแปลงของกลไกในชุมชน -  การเกื้อกูลภายในและภายนอกชุมชน -  ความรักความสามัคคีภายในและภายนอกชุมชน -  การเรียนรู้ชุมชนภายใต้แผนชุมชนโดยชุมชน

  1. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด การดำเนินงาน  ระบุวัตถุประสงค์ของโครงการให้ชัดเจนและกำหนดตัวชี้วัดให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ โดยตัวชี้วัดควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ ตัวชี้วัดอาจจะมีเพียงตัวชี้วัดเดียว หรือหลายตัวชี้วัดในแต่ละเป้าหมายก็ได้ ตามความเหมาะสม

วัตถุประสงค์/เป้าหมาย (ให้สอดคล้องกับข้อ 4.2) ตัวชี้วัด (ให้สอดคล้องกับข้อ 4.5) 1.  มีความร่วมมือและเกื้อกูลกันในหมู่บ้าน 1.1  มีภูมิคุ้มกันในชุมชน 1.2  มีแนวทางดำเนินชีวิต 1.3  มีอาชีพเพิ่มรายได้ 2.  มีองค์ความรู้ 2.1  มีการรวมกลุ่มกิจกรรม 2.2  มีความพร้อมของชุมชน 2.3  มีการพัฒนาที่ดี 3.  ชุมชนพึ่งตนเอง 3.1  มีเหตุผล 3.2  มีความสามัคคี 3.3  มีสำนึกสาธารณะ

  1. กลุ่มเป้าหมายที่คาดว่าจะได้รับผลประโยชน์และพื้นที่ดำเนินงาน  ระบุกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นใครบ้าง จำนวนเท่าไร มีวิธีการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายอย่างไร หากมีกลุ่มเป้าหมายหลายกลุ่มควรระบุกลุ่มเป้าหมายหลักและเป้าหมายรองด้วย และพื้นที่ที่จะดำเนินงาน (โดยระบุชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด)
    -  กลุ่มผู้สูงอายุ  มีจำนวน  75  คน  เป็นบุคคลที่ร่วมสร้างหมู่บ้าน/ชุมชนและเป็นต้นทุนของหมู่บ้านที่ควรดูแลเป็นพิเศษ -  กลุ่มสตรีและเยาวชน  มีจำนวน  180  คน  เป็นกลุ่มที่ควรเสริมความรู้และสนับสนุนในทุกเรื่องเพื่อสร้างอนาคตหมู่บ้าน/ชุมชน -  กลุ่มเกษตรกร  มีจำนวน  250  คน  เป็นกลุ่มทุนชุมชนและฐานชุมชนและเป็นแกนนำชุมชน
  2. แผนการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ (ตามข้อ 5) ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ (ตามข้อ 5) กลุ่มเป้าหมาย (ตามข้อ 6) กิจกรรม จะทำอะไร  วิธีการอย่างไร (สอดคล้องกับข้อ 4.4) ระยะเวลาดำเนินงาน ประมาณการค่าใช้จ่ายที่ เสนอ สสส. ภาคีร่วมสนับสนุน มีความร่วมมือและเกื้อกูลกันในหมู่บ้าน 1.1  มีภูมิคุ้มกันในชุมชน 1.2  มีแนวทางดำเนินชีวิต 1.3  มีอาชีพเพิ่มรายได้     กลุ่มผู้สูงอายุ
มีจำนวน  75  คน     จัดฝึกอาชีพและพัฒนาฝีมือ     การทำมันหม่อง ,น้ำมันหม่อง ลูกประคบ.    ใช้เองและจำหน่าย 2  เดือน 50,000  บาท
      มีองค์ความรู้ 2.1  มีการรวมกลุ่มกิจกรรม 2.2  มีความพร้อมของชุมชน 2.3  มีการพัฒนาที่ดี     กลุ่มสตรีและเยาวชน  มีจำนวน         180  คน  จัดอบรมแนวทางปรัชญาเศราฐกิจพอเพียง 2  เดือน 30,000  บาท
    ชุมชนพึ่งตนเอง 3.1  มีเหตุผล 3.2  มีความสามัคคี 3.3  มีสำนึกสาธารณะ     กลุ่มเกษตรกร
มีจำนวน  250  คน  จัดการฝึกอบรมการทำบัญชี  ครัวเรือน 2  เดือน 30,000  บาท
      มีองค์ความรู้

4.1 มีการรวมกลุ่มกิจกรรม

4.2 มีอาชีพเพิ่มรายได้     กลุ่มเกษตรกร
มีจำนวน  250  คน   จัดอบรมเรื่องการแปรูปผลิตภัณฑ์     ภาคการเกษตรสมุนไพรต่างๆ 2  เดือน 40,000  บาท
มีความร่วมมือและเกื้อกูลกันในหมู่บ้าน 5.1  มีภูมิคุ้มกันในชุมชน 5.2  มีอาชีพเพิ่มรายได้     กลุ่มสตรีและเยาวชน  มีจำนวน         180  คน        จัดฝึกการทำน้ำยาล้างจาน                 น้ำยาซักผ้า           .ใช้เองและจำหน่าย 2  เดือน 50,000  บาท


8. แนวทางการพัฒนาเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน และการขยายผล  แสดงให้ชัดเจนในเรื่องคาดหว้งผลของโครงการว่าจะเกิดอะไรขึ้น และจะนำไปทำอะไร อย่างไร ให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืนในชุมชน/ท้องถิ่น และใครจะเป็นผู้รับผิดชอบในการดำเนินการต่อไป ชุมชนจะทำเองต่อ หรือใช้แหล่งทุนใดในชุมชน  ตลอดจนจะมีวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการนี้อย่างไร และชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการอย่างไร

-  โครงการที่ดำเนินการมีความหวังให้เกิดความรักความสามัคคีของคนในชุมชนภายใต้ร่วมสร้างชุมชนน่าอยู่  ทำให้คนในชุมชนมีอาชิพเสริมเพิ่มรายได้ มีการวางแผนเวลาในภาคการเกษตรที่เป็นเวลาว่างร่วมงานกันเป็นกลุ่มสร้างอาชีพสร้างรายได้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง  ก่อให้เกิดสวัสดิการชุมชนและสวัสดิการผู้ด้อยโอกาส , เกิดการพัฒนาที่สาธารณะชุมชน , สร้างลานสุขภาพชุมชน , ส่งเสริมการดูแลสุขภาพชุมชน โดยให้ชุมชนดำเนินการภายใต้การทำงานของกรรมการหมู่บ้านร่วมกับกรรมการกลุ่มที่ร่วมโครงการเพื่อการพัฒนาและการวางแผนอนาคตชุมชนโดยชุมชนต่อไป























ภาคผนวกที่ 1
ข้อมูลชุมชน

1.  ข้อมูลประชากรศาสตร์ 1) โครงสร้าง ลักษณะและสถานภาพต่าง ๆ ของคนในหมู่บ้าน เช่น เพศ อายุ เชื้อชาติ สถานภาพการสมรส เป็นต้น 2) สภาพการเคลื่อนย้ายของคน ได้แก่ การย้ายเข้าและออกของคนในหมู่บ้าน 3) จำนวนคนในหมู่บ้าน  พร้อมทั้งแยกตามเพศและอายุ 4) การเพิ่มของคน  ได้แก่ อัตราเพิ่มของคนในหมู่บ้าน  ในรอบปีที่ผ่านมา 1.1 อาณาเขตโดยรอบ  ทิศเหนือจรด  :  หมู่ 1 ต. ถ้ำสิงห์      ทิศใต้จรด        :  หมู่ 9 ต.วิสยเหนือ ทิศตะวันออกจรด      :  หมู่ 4 ต. ถ้ำสิงห์        ทิศตะวันตกจรด      :  จดเทือกเขา ภูเขายาว ระยะทางห่างจากอำเภอโดยหมู่ที่2บ้านเขายาวระยะห่าง    25  กม 1.2 ข้อมูประชากร  , อาชีพ , รายได้ จำนวนประชากร       -    จำนวนครัวเรือน    95    ครัวเรือน  ประชากร    334    คน    ชาย    177    คน  หญิง  157  คน       -      แห่งน้ำสาธารณะ      1      แห่ง 2.  ข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคม 1) ประวัติศาสตร์ชุมชน 2) ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม วิถีชีวิต และความเชื่อถือต่าง ๆ 3) องค์การชุมชน  รวมทั้งผู้นำของชุมชน 4) อาชีพปัจจุบัน  อาชีพหลัก  อาชีพรอง 5) ความสามารถในการทำงานแต่ละอาชีพ 6) ระดับรายได้เป็นรายบุคคล  และครอบครัว 7) รายจ่ายเป็นรายบุคคล และครอบครัว 8) ภาระหนี้สิน 9) ระดับการศึกษา 10) การซื้อขายผลิตผล เช่น ข้าว และพืชไร่ต่าง ๆ เป็นต้น 11) การคมนาคมไปสู่ชุมชนอื่น 12) กองทุนชุมชนต่างๆ เช่น กองทุนออมทรัพย์ กองทุนสวัสดิการ เป็นต้น 1.1  ประวัติหมู่บ้าน/ชุมชน (บอกความเป็นมาของหมู่บ้าน,ที่มาของชื่อหมู่บ้าน,ผู้นำในการจัดตั้งหมู่บ้าน,จำนวนผู้นำ หมู่บ้าน,และผู้นำหมู่บ้านปัจจุบัน )       บ้านเขายาวหมู่ที่ 2 ตำบล ถ้ำสิงห์ อำเภอ เมือง จังหวัดชุมพร  มีลักษณะภูมิประเทศ  เป็นที่ลาดเอียงเชิงเขา  ซึงมีลักษณะยาวมาก จากทิศเหนือสู่ทิศใต้  เป็นแนวกั้นเขตระหว่างหมู่บ้าน  ชาวบ้านเรียกภูเขาลูกนี้ว่า “เขายาว”  จนกรายเป็นที่มาของชื่อหมู่บ้านในปัจจุบัน
      เมื่อก่อนบ้านเขายาวเป็นส่วนหนึ่งของ หมู่ที่ 10 ตำบลทุ่งคา และมีการแยกการปกครองมาเป็นตำบลถ้ำสิงห์ เมื่อปี พ.ศ  2535 แล้วให้บ้านเขายาวเป็นหมู่ที่ 2 ของตำบลถ้ำสิงห์ ข้อมูลงานประเพณี/แหล่งท่องเที่ยว       -      สงกรานต์  เดือน เมษายน      อาบน้ำผู้สูงอายุ , แห่กลองยาวขึ้นถ้ำงู       สถานที่ท่องเที่ยวหมู่บ้าน/โบราณสถาน/โบราณวัตถุ       -      แห่กลองยาวขึ้นเขา  ชมถ้ำงู  ดูธรรมชาติ       แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร - สวนผลไม้ตามฤดูกาล -      อาชีพหลัก  ( 1 )  ทำสวนผลไม้              จำนวน              70                ครัวเรือน                                 ( 2 )  ทำสวนยางพารา        จำนวน              6                  ครัวเรือน       -      อาชีพเสริม  ( 1 )  รับจ้างทั่วไป              จำนวน            19                  ครัวเรือน       -      รายได้ภาคเกษตรเฉลี่ย    50,000  บาท/ครัวเรือน/ปี     -      รายได้นอกภาคเกษตรเฉลี่ย    30,000    บาท/ครัวเรือน/ปี       -      รายได้เฉลี่ยของประชากร ( ตามเกณฑ์ จปฐ. ปี 2550 )  50,000    บาท/คน/ปี       1.4 ข้อมูลสภาพทั่วไปของหมู่บ้าน/ชุมชน       -      พื้นที่อยู่อาศัย    70          ไร่  พื้นที่ทำการเกษตร    2,650      ไร่       -      พื้นที่ทำสวน    1,520          ไร่       -      พื้นที่การเกษตรอื่นๆ      5  ไร่ ภาวะหนี้สิน -  ออมทรัพย์เพื่อการผลิต    มีลูกหนี้คิดเป็นร้อยละ 50  ของสมาชิก  1,000,000  บาท -  กองทุนหมู่บ้าน          มีลูกหนี้คิดเป็นร้อยละ 50  ของสมาชิก  1,400,000  บาท -  ธนาคารหมู่บ้าน        มีลูกหนี้คิดเป็นร้อยละ 50  ของสมาชิก    600,000  บาท -  ธนาคารออมสิน    มีลูกหนี้คิดเป็นร้อยละ 60  ของสมาชิก  7,000,000  บาท การศึกษา -  ป4.-ป6    ร้อยละ    40  % -  ม. ต้น    ร้อยละ    30  % -  ม. ปลาย    ร้อยละ    20  % -  สูงกว่า ม. ปลาย  ร้อยละ    10  % การเดินทางเข้าสู่ชุมชนมี 3 ส้นทาง -  เส้นทางบ้านวิสัยเหนือ -  เส้นทางบ้านทุ่งคา -  เส้นทางบ้านขุนกระทิง 3.  ข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นเรื่องความอุดมสมบูรณ์ และ สถานการณ์ปัญหา
1) ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ป่า น้ำ พืช สัตว์ แหล่งน้ำดื่ม  เป็นต้น 2) สิ่งแวดล้อม เช่น สภาพภูมิประเทศ สภาพและลักษณะบ้านแต่ละครอบครัว ขยะมูลฝอย น้ำเสีย แมลงและสัตว์ที่เป็นพาหนะของโรค -  เป็นที่ราบลุ้มเชิงเขามีการใช้แหล่งน้ำโดยการขุดและใช้ภายในหมู่บ้านปัจจุบันมีเจาะบ่อบาดาลมาเป็นแหล่งน้ำใหม่ที่ใช้ในการอุปโภคทั้วถึงทุกครัวเรือน -  สภาพครัวเรือนภายในชุมชนมีพื้นที่บริเวณรอบบ้านพอที่จะทำลายขยะในภาคเกษตรและในครัวเรือนโดยการขุดหลุมกบกันเอง -  บางครัวเรือนไม่มีพื้นที่ขุดหลุมกบก็ทำการกองเผาเพื่อกำจัดขยะ 4.  นวัตกรรมและภูมิปัญญา 1) นวัตกรรม หมายถึง ผลิตภัณฑ์ กลไก วิธีการ หรือ ลักษณะของกิจกรรม อันเป็นสิ่งใหม่ หรือความรู้ใหม่ในพื้นที่หรือเป็นการต่อยอดจากความรู้ที่สะสมอยู่ก่อนแล้วในพื้นที่
2) ภูมิปัญญา หมายถึง ชุดความรู้ที่มีอยู่ในชุมชน เช่น การแพทย์แผนไทย การเกษตรแบบผสมผสาน เป็นต้น -  การทำสบู่สปากาแฟ , สบู่เครื่องเทศ , สบู่ต้มยำ  โดยมีวิทยากรกระบวนการดำเนินการและถ่ายทอดองค์ความรู้ผ่านการศึกษานอกโรงเรียน ( กศน. ) -  มีภูมิปัญญาการนวดกดจุดแผนไทย , มีสูตรยาโบราณตกทอดสืบกันมา -  การทำเกษตรผสมผสานการปลูกพืช 3-4 ระดับ 5.  คน กลุ่มคน เครือข่าย 1) คน กลุ่มคน เครือข่าย ที่เป็นภาคีหลัก หมายถึง มีบทบาท หน้าที่ ในการดำเนินงานในเรื่องนั้นๆ 2) คน กลุ่มคน เครือข่าย ที่เป็นภาคียุทธศาสตร์ หมายถึง เป็นตัวทำหน้าที่ ผลักดัน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการดำเนินงานในเรื่องนั้นๆให้ประสบความสำเร็จ -  มีแกนนำกลุ่มเกษตรกรที่มีบทบาทในการจัดหาข้อมูลและติดตามสาเหตุวิเคราะห์ปัญหาพร้อมหาแนวทางแก้ปัญหาภายในกลุ่ม โดยมีเครือข่ายร่วมแก้ปัญหาให้คำปรึกษาผ่านศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยี่เกษตรตำบลดำเนินการติดตามผลสำเร็จ -  แกนนำชุมชนร่วมแนะนำแนวทางช่องทางการประสานงานกับส่งเสริมเกษตร 6.  ข้อมูลเกี่ยวกับสถิติชีพและอนามัย 1) ความยืนยาวของชีวิต 2) การเจ็บป่วยทางกายและทางจิต เช่น อัตราป่วยด้วยโรคต่าง ๆ เป็นต้น 3) ความทุพพลภาพ ได้แก่ อัตราคนพิการจากสาเหตุต่าง ๆ 4) การตาย ได้แก่  อัตราตายจากสาเหตุต่าง ๆ 5) สภาวะเสี่ยงและปัจจัยที่ทำให้เกิดการเสี่ยงต่อการเกิดโรค เช่น บุหรี่ เหล้า ยาเสพติด เป็นต้น
-  มีการใช้สมุนไพรในการดูแลตนเองและดูแลชุมชน -  การเจ็บป่วยของคนในชุมชนมีผลมาจากสารเคมี -  การตายอันได้แก่ โรคมะเร็ง -  มีโอกาสที่จะเกิดโรคความดัน , เบาหวาน เพราะไม่มีสถานทีออกกำลังกายและบำบัดสุขภาพเป็นพื้นที่สาธารณะของชุมชน
7.  ข้อมูลเกี่ยวกับกลไก ระบบ ด้านสุขภาพ 1) บุคลากรและสถานบริการด้านสาธารณสุขของรัฐ ท้องถิ่นและเอกชนในหมู่บ้าน  และเขตใกล้เคียง 2) การครอบคลุม การเข้าถึง หลักประกันสุขภาพและการใช้บริการด้านสุขภาพของชุมชน 3) กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น 4) กองทุนสวัสดิการสุขภาพชุมชน 5) เครือข่ายอาสาสมัครสุขภาพของชุมชน เครือข่ายหรือกลุ่มที่ดำเนินการเกี่ยวข้องกับสุขภาพ

  • มีโรงพยาบาลสุขภาพชุมชนตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ระยะการเดินทาง  2.5 ก.ก
  • มีการอบรมและมีการนำเสนอ
  • มีกองทุนสวัสดิการชุมชนตำบล ดูแล เกิด , แก่ , เจ็บ , ตาย
  • มีอาสาสมัคร ( อสม.) ชุมชนดูแล 1 คน ต่อ 10 ครัวเรือน


ภาคผนวกที่ 2
ข้อมูลแผนชุมชน

  1. สถานการณ์สุขภาวะในมิติต่างๆของชุมชน (มิติทางกาย จิต สังคม และ ปัญญา) หนี้สินที่เกิดจากการลงทุนภาคการเกษตร ผลผลิตภาคเกษตรราคาตกต่ำขาดองค์ความรู้ ขาดการออกกำลังกาย ไม่มีเวลาให้ส่วนรวม ต่างคนต่างอยู่ไม่ดูแลกัน
  2. วิสัยทัศน์ (ภาพพึงประสงค์หรือภาพที่คาดหวังของชุมชน) มุ่งหวังให้ชุมชนอยู่ดีมีสุข คนในชุมชนมีสุขภาพแข็งแรง ,มีเศรษฐกิจภายในชุมชน , ร่วมกันดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน , เป็นเขตปลอดสารเคมีในอนาคต , มีความสามัคคีสมานฉันท์และยึดมั่นในแนวทางเศราฐกิจพอเพียง
  3. พันธกิจ (บทบาท และภารกิจที่ชุมชนต้องทำเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์) ด้านอุปโภคและบริโภคที่ดีมีคุณภาพปลอดสารพิษ ค้านเศรษฐกิจมั่นคงและก้าสหน้า ด้านพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านบริหารจัดการชุมชนและบุคลากรในชุมชน ด้านกีฬาและส่งเสริมการออกกำลังกาย ด้านการเรียนรู้จากภายในและภายนอกชุมชน
  4. เป้าประสงค์  (เรื่องหรือประเด็นที่ต้องทำให้สำเร็จ) 1) พัฒนาองค์ความรู้ให้แก่เยาวชน, สตรี ,แกนนำกลุ่มและองค์ 2) พัฒนาคุณภาพชีวิตและสุขภาพของผู้สูงอายุให้มีการเตรียมความพร้อม 3) พัฒนาอาชีพเพิ่มรายได้และการทำงานรวมกลุ่มให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น 4) พัฒนาตนเองและครอบครัวให้ห่างไกลยาเสพติด 5) พัฒนาชุมชนให้น่าอยู่ โดยบูรณาการชุมชนโดยชุมชน


    เป้าประสงค์ (เรื่องหรือประเด็นที่ ต้องทำให้สำเร็จ) ยุทธวิธี (แนวทางหรือวิธีการสำคัญที่จะทำให้สำเร็จใน        แต่ละเป้าประสงค์) วัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย (ต้องการให้เกิดผลอะไรบ้างในแต่ละยุทธวิธี) โครงการหรือกิจกรรม (ต้องทำอะไร อย่างไรบ้างใน              แต่ละวัตถุประสงค์) ผู้รับผิดชอบ (ใคร เป็นคนทำ และใครร่วมทำ) งบประมาณ (ต้องใช้เงินเท่าไร จากแหล่งทุนใด) การติดตาม และ ประเมินผล ( จะใช้วิธีการใด  ทำให้รู้ว่างานได้ผลสำเร็จ) 1.หนี้สิน 1.รู้รายรับรู้รายจ่าย 1.พอประมาณ การจ่ายที่ไม่จำเป็น แกนนำชุมชน การวางแผนและ 2.มีเหตุผล คิดก่อนทำไม่ทำก่อนคิด สมาชิกกลุ่ม 50,000  บาท การดำเนินงานต่อ 3.มีภูมิคุม้กัน มีแนวทางคิดเป็นระบบ ออมทรัพย์ เนื่องรายงานผลการ 2.ลอรายจ่าย เพิ่มรายได้ 1.การรวมกลุ่ม กิจกรรมลดรายจ่ายเพิ่รายได้ กลุ่มเยาวชน ดำเนินงานเป็นขั้น 2.ผลิตของใช้ประจำวัน น้ำยาล้างจาน , น้ำยาซักผ้า กลุ่มสตรี 50,000  บาท ตอนลดรายจ่าย 3.การเรียนรู้ การผลิตและจำหน่าย กลุ่มผู้สูงอายุ มีสวัสดิการกลุ่ม 2.ผลิตภัณฑ์ หมู่บ้าน 1.ยาสมุนไพร นวดแผนไทย 1.องค์ความรู้ สมุนไพรและสรรพคุณยา แกนนำชุมชน เพิ่มรายได้ชุมชน 2.สืบภูมิปัญญา การทำลูกประคบ กลุ่มผู้สูงอายุ 50,000  บาท เพิ่มรอยยิ้มชุมชน 3.สุขภาพชุมชน รักษาสุขภาพชุมชน
2.ผลิตภัณฑ์แปลรูปจากสมุนไพร 1.อบรม / ฝึกหัด วิธีการทำและวิธีการใช้ แกนนำชุมชน
2.มีการรวมกลุ่ม ทำยาหม่อง , ทำน้ำมันหม่อง กลุ่มเกษตรกร 50,000  บาท
3.มีองค์ความรู้ บันทึกสัดส่วนเป็นสูตร กลุ่มสมุนไพร





    เป้าประสงค์ (เรื่องหรือประเด็นที่ ต้องทำให้สำเร็จ) ยุทธวิธี (แนวทางหรือวิธีการสำคัญที่จะทำให้สำเร็จในแต่ละเป้าประสงค์) วัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย (ต้องการให้เกิดผลอะไรบ้างในแต่ละยุทธวิธี) โครงการหรือกิจกรรม (ต้องทำอะไร อย่างไรบ้างในแต่ละวัตถุประสงค์) ผู้รับผิดชอบ (ใคร เป็นคนทำ และใครร่วมทำ) งบประมาณ (ต้องใช้เงินเท่าไร จากแหล่งทุนใด) การติดตาม และ ประเมินผล ( จะใช้วิธีการใด ทำให้รู้ว่างานได้ผลสำเร็จ) 3. 1. 1.
2.
3.
2. 1.
2.
3.
4. 1. 1.
2.
3.
2. 1.
2.
3.

Relate topics