แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โรงเรียนชุมชนจัดการตนเองบ้านสวนป่า ”

บ้านสวนป่า ม.6 ต.วังมะปรางเหนือ อ.วังวิเศษ จ.ตรัง 92220

หัวหน้าโครงการ
นายสายันต์ ชูหาญ

ชื่อโครงการ โรงเรียนชุมชนจัดการตนเองบ้านสวนป่า

ที่อยู่ บ้านสวนป่า ม.6 ต.วังมะปรางเหนือ อ.วังวิเศษ จ.ตรัง 92220 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 55-01778 เลขที่ข้อตกลง 55-00-1046

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"โรงเรียนชุมชนจัดการตนเองบ้านสวนป่า จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านสวนป่า ม.6 ต.วังมะปรางเหนือ อ.วังวิเศษ จ.ตรัง 92220

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โรงเรียนชุมชนจัดการตนเองบ้านสวนป่า



บทคัดย่อ

โครงการ " โรงเรียนชุมชนจัดการตนเองบ้านสวนป่า " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านสวนป่า ม.6 ต.วังมะปรางเหนือ อ.วังวิเศษ จ.ตรัง 92220 รหัสโครงการ 55-01778 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 202,400.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์
  2. เพื่อสร้างพื้นที่แปลงสาธิตการทำสวนเกษตรอินทรีย์ผสมผสาน
  3. เพื่อสร้างกลไกสนับสนุนการทำเกษตรแบบอินทรีย์ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การประชุมปฐมนิเทศน์และแลกเปลี่ยนผู้รับทุนโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ วันที่ 3-4 พ.ย.55 ณ โรงแรม ไดอิชิ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ตัวแทนคณะทำงานโครงการฯจากชุมชนเข้าร่วมเวทีปฐมนิเทศเรียนรู้การบริหารจัดการโครงการ
      การรายงานผลการดำเนินงานผ่านทางเว็ปไซต์ happynetwork จำนวน 3 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดความเข้าใจร่วมกับคณะกรรมการและพี่เลี้ยงในการดำเนินงานตามกิจกรรม
    • ตัวแทนคณะกรรมการเข้าใจการบริหารจัดการโครงการ

     

    0 0

    2. ประชุมคณะกรรมการร่วมกับตัวแทนหน่วยงานพัฒนาในพื้นที่

    วันที่ 21 พฤศจิกายน 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีคณะทำงานและครอบครัวอาสาเข้าร่วมจำนวน39คนประชุมทำความเข้าใจร่วมกับหน่วยงานในวันที่21พ.ค.55เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างหน่วยงาน และชุมชนมากขึ้น และมีการนำแผนงานโครงการของหมู่บ้านเข้าสู่แผนปฏิบัติงานของหน่วยงานที่รับผิดชอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีครอบครัวอาสาเข้าร่วมโครงการจำนวน 36 ครัวเรือน และโรงเรียนสวนป่าแต่งตั้งกลุ่มสมุนไพรใกล้ตัวของโรงเรียนเข้าร่วมโครงการจำนวน 12 คน และเกิดการยอมรับในการดำเนินงานของคณะทำงานโครงการ

     

    0 0

    3. เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ภูมิปัญญาชุมชน

    วันที่ 8 ธันวาคม 2555 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดประชุมเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ภูมิปัญญาชุมชน ณ โรงเรียนสวนป่าในวันที่8ธ.ค.55โดยมีผู้เข้าร่วม 22คน โดยตัวแทนครูจากโรงเรียนสวนป่า คณะทำงานครอบครัวอาสา และตัวแทนครอบครัวอาสา เพื่อกำหนดแนวทางการใช้วิถีชีวิตแบบพอเพียง โดยการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนมาปรับใช้ เพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของโครงการและเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์ จำนวน 36 ครอบครัว และกลุ่มเยาวชนในโรงเรียนสวนป่าฯ เพื่อให้เกิดกิจกรรมการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรม และแนวทางที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานและครอบครัวอาสามีการพูดคุยร่วมกับคณะครูโดยใช้หลักวิชาการกับภูมิปัญญาพื้นบ้านและที่ประชุมลงมติกำหนดพันธุ์พืชและสมุนไพร จำนวน 20 ชนิด ได้แก่ 1)ผักบุ้ง 2) ข้าวโพด 3) ดีปรีเชือก 4) ข้าวโพด 5 ) สับปะรด 6)มะขาม 7) ตะไคร้หอม 8) ขมิ้นชัน 9) หัวไพร 10) มะเขือ  11) มะกรูด 12) ผักหวาน 13) ขิงข่า 14)ชะอม 15) ชะมวง 16) ส้มหม้าว  17) ส้มปอย 18) พริกขี้หนู 19) ผักกูด 20) พริกไทย 21) มะละกอ
    • เกิดความเข้าใจร่วมกันของอาสาในการเข้าร่วมโครงการและร่วมกันพัฒนาแปลงสาธิตภายในโรงเรียนครอบครัว

     

    0 0

    4. ประชาคมหมู่บ้านรับสมัครครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์

    วันที่ 26 ธันวาคม 2555 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดเวทีประชาคมหมู่บ้านโดยมีคณะทำงานและครอบครัวอาสาเข้าร่วมจำนวน39คนเพื่อรับรองสมาชิกครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์ในวันที่26ธ.ค.55เพื่อรับรองการเข้าร่วมโครงการและการลงนามในหนังสือบันทึกความร่วมมือ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันในการหนุนเสริมการดำเนินกิจกรรมของครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์และการทำงานร่วมกันให้บรรลุตามเป้าหมายของโครงการ โดยมีการยึดแนวปฏิบัติตามกฎกติกาของส่วนรวม เพื่อให้เกิดการร่วมกันปฏิบัติงานที่เป็นระบบ และเกิดรูปธรรมมากยิ่งขึ้นระหว่างชุมชนกับหน่วยงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการร่างกติการ่วมกันของครอบครัวอาสา และการกำหนดแผนพัฒนาแปลงสาธิต

     

    0 0

    5. ติดตามโครงการครั้งที่ 1

    วันที่ 12 มกราคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานมาร่วมประชุมณ สวนดุสิตตรังเพื่อรายความคืบหน้าโครงการโดยมีทีมพี่เลี้ยงสจรส.มอ.คอยให้คำแนะนำและปรึกษา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานมีความเข้าใจเพิ่มมากขึ้นในการรายงานเอกสารการเงินและสรุปรายงานการประชุม

     

    0 0

    6. กิจกรรมสำรวจข้อมูลครอบครัวอาสา

    วันที่ 20 มกราคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงานจำนวน15คนเพื่อทำความเข้าใจแบบสำรวจข้อมูลและการจัดทีมเพื่อลงพื้นที่สำรวจข้อมูล ครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์ในวนที่20ม.ค.56 โดยมีการแบ่ง 3 ทีม
    ทีมที่ 1 นายประสิทธ์  เอ้งฉ้วน  รับผิดชอบ 12 ครอบครัว ทีมที่ 2 นางเพลินตา  ชูหาญ  รับผิดชอบ 13 ครอบครัว
    ทีมที่ 3 นางจิตรา  ทองหอม  รับผิดชอบ 13 ครอบครัว   โดยมีประเด็นที่สำคัญแต่ละทีมต้องเก็บประเด็นสภาพปัญหาของการใช้ประโยชน์ของที่ดิน และสภาพปัญหาของโรคพืชต่างๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมสรุปการจัดเก็บข้อมูลครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์จากการที่คณะกรรมการลงพื้นที่จัดเก็บข้อมูล ได้ประเด็นปัญหาที่สำคัญ
    - ประเด็นที่ดินทำกิน โดยเฉพาะปัญหาพื้นที่ทางการเกษตรมีสภาพดินแข็งกระด้าง ถ้าต้องการปลูกพืชผักต้องใส่ปุ๋ยจำนวนมากในกางปลูกแต่ละครั้ง
    - ประเด็นสวนยางพารา สภาพพื้นที่ดินหรือหน้าดินตอนนี้เสื่อมโทรมไม่เหมือนเมื่อก่อนเพราะการเตรียมพื้นที่เมื่อก่อนเกษตรกรมีการเผาตอไม้กิ่งไม้ในพื้นที่เศษเถ้าถ่านได้เป็นปุ๋ยที่สามารถปรับสภาพดินได้ แต่ตอนนี้ไม่มีเศษไม้ให้เผาแล้วทำให้ผู้ปลูกยางพาราต้องใส่ปุ๋ยเคมีในอัตราจำนวนมากทำให้เกิดผลกระทบต่อสภาพดิน
    - ประเด็นโรคที่พบในการปลูกยางพารา มีโรคเชื้อราในช่วงฤดูฝนทำให้ยางพาราที่ทำการกรีดในหน้าฝนหน้ายางจะดำและเน่า  ซึ่งเป็นผลกระทบที่ยังแก้ปัญหาไม่ได้
    - ประเด็นปัญหาที่สำคัญในการทำเกษตร คือการขาดน้ำในช่วงฤดูแล้ง   และในที่ประชุมมีการออกแบบฟอร์มในการสรุปข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินของครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์

     

    0 0

    7. อบรมเชิงปฏิบัติการครอบครัวอาสาวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยงสุขภาพ

    วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมเชิงปฏิบัติการครอบครัวอาสาและวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยงสุขภาพให้ความรู้ด้านพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพในวันที่13ก.พ.56โดยมีคณะทำงานและครอบครัวอาสาเข้าร่วมจำนวน45คนเจ้าหน้าที่สาธารณสุขนายอำนาจ  บุญทรงธรรมและเกษตรนางฉลวย  เวียนคำโดยให้ครอบครัวอาสาวิเคราะห์สภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวตนเองและมีการวางแผนด้านการดูแลสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมจำนวน 45 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ดังนั้นเพื่อให้ครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการและประชาชนในพื้นที่ลดความเสี่ยงต่อสุขภาพ เราต้องหันมาสนใจในการบริโภคพืชผักต่างๆและหันมาปลูกผักกินเองเพื่อเป็นการลดรายจ่ายและสร้างรายได้เสริมแกครอบครัวได้ และทางสำนักงานเกษตรจะเป็นที่ปรึกษาและให้ความรู้ทุกด้านที่ทางหมู่บ้านประสานงานไปนายอำนาจ  บุญทรงธรรม สาธารณสุขตำบลวังมะปรางเหนือ มีการอธิบายเบื้องต้นว่าพิษภัยที่แฝงมากับผักซึ่งอันตรายจากผักแบ่งเป็น  3 ประเภท
    1. อันตรายจากพยาธิและเชื้อโรค     ในปัจจุบันเกษตรกรใช้ปุ๋ยธรรมชาติเพื่อลดในการผลิตของเกษตรกรบางราย  ได้นำเอา  มูลสัตว์สด  มาใช้เป็นปุ๋ยรดผักตามแห่ลงเพาะปลูกต่างๆ  ซึ่งทำให้เกิดการปนเปื้อนของไข่พยาธิ ตัวอ่อนพยาธิ  และเชื้อโรคของระบบทางเดินอาหารชนิดต่างๆ  ในผักสดโดยทั่วไปผักที่พบไข่พยาธิ  ตัวอ่อนหรือเชื้อโรคส่วนมากมักจะเป็นผักชนิดที่ใบไม่เรียบและซ้อนกันมากๆ  เช่น  ผักกาดขาว  สะระแหน่  ผักชี  ต้นหอม  และ  กะหล่ำปลี  เป็นต้น  ซึ่งเป็นผักสดที่คนไทยนิยมบริโภคสดๆ  ทำให้มีโอกาสได้รับ ไข่พยาธิหรือเชื้อโรคจนทำให้เป็นโรคพยาธิชนิด  ต่างๆ  เช่นโรคพยาธิตืดหมู  โรคพยาธิแส้ม้า  โรคพยาธิไส้เดือน  เป็นต้น  หรือโรคของระบบทางเดินอาหาร  เช่น  โรคบิด    โรคอหิวาตกโรค  และโรคไทฟอยด์เป็นต้น
    2. อันตรายจากสารฟอกขาว  (  โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์  )
          คำว่าโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์  หรือบ้านเราเรียกว่า  สารฟอกขาวชนิดหนึ่ง  สารชนิดนี้มีการใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมเส้นใยไหม  แหและอวน  แต่พบว่ามีพ่อค้าแม่ค้านำไปแช่ผักบางชนิด  เช่น  ถั่วงอก  หน่อไม้ไผ่ตง ขิงหั่นฝอย  และกระท้อน  เป็นต้น  ซึ่งหากเราได้รับสารนี้โดยการบริโภค  จะทำให้เกิดการอักเสบของอวัยวะ  ที่สัมผัสกับอาหาร  เช่น  ปาก  ลำคอ  กระเพาะอาหาร  จนเกิดอาการปวดท้อง อาเจียน แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก ความดันโลหิตจะลดลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้แพ้อย่างรุนแรงหรือผู้ป่วยโรคหอบจะมีอาการช็อค หมดสติและเสียชีวิต ทั้งนี้สามารถหลีกเลี่ยงอันตรายจากสารนี้ได้ ด้วยการเลือกอาหารที่สะอาดและมีสีใกล้เคียงธรรมชาติ ไม่ขาวจนผิดปกติ 3. อันตรายจากสารตกค้าง     ปัจจุบันนี้มีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชกันอย่างแพร่หลาย และในปริมาณที่มากเกินความจำเป็น โดยที่เกษตรกรผู้ใช้ขาดความรู้ความเข้าใจที่ดี ซึ่งการใช้สารเคมีร่วมกันหลายชนิด หรือเมื่อใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชแล้วกลับเก็บผลผลิตก่อนครบกำหนดระยะเวลาที่กำหนดไว้ ทำให้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ยังสลายตัวไม่หมดเกิดการตกค้างในผักสด เมื่อร่างกายได้รับเข้าไปในปริมาณน้อยๆแต่บ่อยครั้งเป็นเวลานาน จะสะสมเพิ่มปริมาณมากขึ้น จนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของเซลจนกลายเป็นเซลมะเร็งลุกลามไปยังส่วนต่างๆของร่างกายได้ เช่น มะเร็งตับและมะเร็งของลำไส้ และอื่นๆ

     

    0 0

    8. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครอบครัวอาสา และครอบครัวอาสาสวนเกษตรอินทรีย์ ครั้งที่ 1

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานและครอบครัวอาสาจำนวน38คนมีการร่วมกับชมรมผู้สูงอายุในวันที่28ก.พ.56เพื่อร่วมกิจกรรมทำบุญเลี้ยงพระและเรียนรู้การดูแลสุขภาพตนเองด้วยการเสริมการออกกำลังกายโดยได้รับการแนะนำจากเจ้าหน้าที่แพทย์แผนไทย และการเฝ้าระวังเรื่องการบริโภคพืชผักอาหารที่ปลอดสารพิษและมีการให้คำปรึกษาเรื่องรูปแบบเอกสารที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลด้านสุขภาพของครอบครัวอาสาโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลวังวิเศษคอยให้การช่วยเหลือ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมจำนวน 20 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครอบครัวอาสา และครอบครัวอาสาสวนเกษตรอินทรีย์ ครั้งที่  1 โดยมีวัตถุประสงค์ สร้างการเรียนรู้ ด้านการทำเกษตรตามแนว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการนำความรู้และภูมิปัญญาพื้นบ้าน มาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ของครอบครัวอาสาที่เข้าร่วมโครงการ และการพัฒนาพื้นที่ภายในโรงเรียน เพื่อยกระดับเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงภายในสถานศึกษา และเป็นแหล่งเรียนรู้ของประชาชนในหมู่บ้าน โดยเป้าหมายที่สำคัญ คือ เพื่อให้เกิดความร่วมมือกัน ระหว่าง ประชาชนในหมู่บ้าน และครูนักเรียนของโรงเรียนสวนป่าประชาอุปถัมภ์ 

     

    0 0

    9. ติดตามโครงการครั้งที่ 2

    วันที่ 3 มีนาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยงแนะนำการรายงานกิจกรรมทางเว็ปไซด์และเอกสารการเงิน จำนวน 3 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานได้มีการเรียนรู้เรื่องรายงานผ่านทางเว็ปไซด์

     

    0 2

    10. การทำแปลงเพาะชำไม้ พันธุ์ผัก พันธุ์สมุนไพร การทำผังพื้นที่แปลงสาธิต

    วันที่ 6 มีนาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทางคณะทำงานมีข้อเสนอที่ดี และทุกคนก็เห็นด้วย ผมขอเสนอออกแบบโรงเพาะชำ เราจะทำขนาดกว้าง 4เมตรยาว 6เมตรและมีการทำชั้นวางถาดเพาะชำกล้าไม้จำนวน 3 ชั้น และการเพาะชำในช่วงแรกจะมีการเพาะชำ มะเขือ พริกดอกขาว และมะขาม ในส่วนพืชผักอื่นเราค่อยเพาะชำทีหลัง กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมจำนวน 16 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในส่วนของการทำโรงเพาะชำ ผมขอคุยในส่วนงบประมาณที่จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์เพราะอุปกรณ์บางอย่างนั้นมีอยู่แล้ว เช่น เสา ท่อพีวีซี หัวสปริงเกอร์ และไม้ ซึ่งทำให้เราประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ได้หลายอย่าง และเรื่องปรับเปลี่ยนพื้นที่ทำโรงเพาะชำ ให้มาทำข้างฝายชะลอน้ำ และโรงปุ๋ยทำให้ เราปฏิบัติงานได้ง่ายขึ้น

     

    20 16

    11. ประชุมคณะทำงานร่วมกับภาคีพัฒนาออกแบบพื้นที่แปลงสาธิตการทำเกษตรอินทรีย์ผสมผสาน

    วันที่ 17 เมษายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการประชุมปรึกษาหารือระหว่างคณะทำงานโครงการ ตัวแทนโรงเรียนสวนป่าและเจ้าหน้าที่เกษตรเพื่อวางแผนและกำหนดการปรับปรุงพื้นที่แปลงสาธิตในโรงเรียน กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมจำนวน 18 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดการหนุนเสริมของสำนักงานเกษตรในการให้ข้อมูลความรู้ทางด้านวิชาการและเกิดความร่วมมือระหว่างชุมชน โรงเรียน และหน่วยงาน

     

    20 18

    12. ติดตามโครงการครั้งที่ 3

    วันที่ 7 พฤษภาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้รับการแนะนำการดำเนินกิจกรรมตามแผนงานโครงการของทีมพี่เลี้ยง สจรส.มอ.จำนวน 3 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานโครงการของแต่ละหมู่บ้าน

     

    0 0

    13. คณะทำงานเยี่ยมเยี่ยนเก็บข้อมูลครอบครัว ครั้งที่ 1

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมเพื่อกำหนดเกณฑ์การลงเยี่ยมครอบครัวอาสาและกำหนดกลุ่มเป้าหมายครอบครัวต้นแบบ 5 ครอบครัวเพื่อเป็นตัวอย่างในการลงเยี่ยม กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมจำนวน 15 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานเข้าใจในการปฏิบัติงานลงพื้นที่เยี่ยมเยียนครอบครัวอาสา

     

    15 15

    14. คณะทำงานเยี่ยมเยี่ยนเก็บข้อมูลครอบครัว ครั้งที่ 2

    วันที่ 15 พฤษภาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานลงเยี่ยมเยียนครอบครัวต้นแบบ จำนวน 5 ครอบครัว คณะทำงานติดตามจำนวน 15 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานได้มีการเรียนรู้การจัดเก็บข้อมูลและการรวบรวมข้อมูล

     

    0 0

    15. คณะทำงานเก็บข้อมูลครอบครัว

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่สำรวจจัดเก็บข้อมูลพื้นที่ทางการเกษตรและพันธุ์ไม้พันธุ์พืชที่ครอบครัวอาสาได้มีการดำเนินการปลูกไปแล้ว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้งานสรุปพื้นที่ทางการเกษตรทั้งหมดของ 38 ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ

     

    3 3

    16. กิจกรรมพัฒนาแปลงสาธิต

    วันที่ 24 พฤษภาคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำบ่อเลี้ยงปลาดุก เลี้ยงกบ และบ่อหมักปุ๋ย รวมทั้งพื้นที่แปลงปลูกผักต่างๆในโรงเรียน มีกลุ่มเป้าหมาย 30 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนและโรงเรียนได้มีกิจกรรมร่วมกันในการพัฒนาพื้นที่ในโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้และร่วมกันทำกิจกรรมในวันที่ 24-25 พฤษภาคม 56 

     

    30 0

    17. คณะทำงานเยี่ยมเยี่ยนเก็บข้อมูลครอบครัว ครั้งที่ 3

    วันที่ 10 มิถุนายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานได้รับรู้ข้อมูลด้านการเกษตรและสภาพปัญหาเกี่ยวกับการเกษตรจากครอบครัวสมาชิก คณะทำงานติดตาม 15 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานได้เยี่ยมเยียนครอบครัวอาสาและจัดเก็บข้อมูลจำนวน 10 ครอบครัว

     

    0 0

    18. ครอบครัวอาสาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและการทำเกษตรอินทรีย์

    วันที่ 15 มิถุนายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ครอบครัวอาสาได้รับการเรียนรู้วิธีการปลูกผัก โดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และการเลือกบริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษ โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 45 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครอบครัวที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการเรียนรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว รวมทั้งวิธีการดูแลพืชผักที่ตนเองปลูก

     

    45 45

    19. จัดทำฐานข้อมูลเกษตรกรของหมู่บ้าน

    วันที่ 20 มิถุนายน 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานได้มีการเรียนรู้วิธีการการจัดเก็บข้อมูล โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 30 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานร่วมกันประชุมเพื่อเก็บข้อมูลด้านการทำเกษตร และข้อมูลของหมู่บ้าน

     

    30 30

    20. คณะทำงานเยี่ยมเยี่ยนเก็บข้อมูลครอบครัว ครั้งที่4

    วันที่ 25 มิถุนายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานได้ลงพื้นที่เยี่ยมเยียนครอบครัวอาสาและการหนุนเสริมการทำเกษตรของครอบครัวอาสา โดยคณะทำงานติดตาม 15 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานได้รับรู้ปัญหาและอุปสรรคในการทำเกษตรที่ส่งผลกระทบต่อครอบครัวอาสา เช่น เรื่องโรคพืช และสภาพอากาศ

     

    0 0

    21. ลงพื้นที่เก็บข้อมูล

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการรวบรวมข้อมูลหมู่บ้านในด้านต่างๆ เช่น ข้อมูลทั่วไปหมู่บ้าน ข้อมูลครอบครัวต้นแบบด้านเศรษฐกิจพอเพียงและข้อมูลการทำเกษตรของหมู่บ้าน โดยมีคณะทำงานติดตาม 8 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานร่วมกับคณะกรรมการหมู่บ้านได้นำข้อมูลที่จัดเก็บนำไปใช้ในการประกวดหมู่บ้านโครงการตำบลวังมะปรางเหนือหมู่บ้านเข้มแข็ง ตำบลแห่งความสุขประจำปี 56 และได้รับรางวัลชนะเลิศของตำบลแล้วได้รับเลือกให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบของตำบลวังมะปรางเหนือ

     

    8 8

    22. คณะทำงานเยี่ยมเยี่ยนเก็บข้อมูลครอบครัว ครั้งที่ 5

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานได้ลงพื้นที่เยี่ยมเยียนครอบครัวอาสาและการหนุนเสริมการทำเกษตรของครอบครัวอาสา โดยคณะทำงานติดตาม 15 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานได้รับรู้ปัญหาและอุปสรรคในการทำเกษตรที่ส่งผลกระทบต่อครอบครัวอาสา เช่น เรื่องโรคพืช และสภาพอากาศ

     

    15 15

    23. กิจกรรมทำปุ๋ยอินทรีย์ครั้งที่ 1

    วันที่ 15 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการทำปุ๋ยอินทรีย์และเรียนรู้โรคพืช กลุ่มเป้าหมายจำนวน 15 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครอบครัวอาสาและนักเรียนในโรงเรียนมีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม 65 คน

     

    15 65

    24. กิจกรรมทำปุ๋ยอินทรีย์ครั้งที่ 2

    วันที่ 20 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดทำปุ๋ยหมักน้ำเพื่อใช้ในการทำเกษตรของครอบครัวอาสา โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 15 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครอบครัวอาสาสามารถลดต้นทุนในการทำเกษตรและลดการใช้ปุ๋ยเคมีในการปลูกผักกินเอง

     

    15 15

    25. ติดตามโครงการครั้งที่ 4 และสังเคราะห์ความรู้

    วันที่ 25 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้รับการแนะนำการดำเนินกิจกรรมตามแผนงานโครงการของทีมพี่เลี้ยง สจรส.มอ. จำนวน 2 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานโครงการของแต่ละหมู่บ้าน

     

    0 0

    26. กิจกรรมทำปุ๋ยอินทรีย์ครั้งที่ 3

    วันที่ 26 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดทำปุ๋ยหมักน้ำเพื่อใช้ในการทำเกษตรของครอบครัวอาสา โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 15 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครอบครัวอาสาสามารถลดต้นทุนในการทำเกษตรและลดการใช้ปุ๋ยเคมีในการปลูกผักกินเอง

     

    15 0

    27. กิจกรรมทำปุ๋ยอินทรีย์ครั้งที่ 4

    วันที่ 30 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดทำปุ๋ยหมักน้ำเพื่อใช้ในการทำเกษตรของครอบครัวอาสา โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 15 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครอบครัวอาสาสามารถลดต้นทุนในการทำเกษตรและลดการใช้ปุ๋ยเคมีในการปลูกผักกินเอง

     

    15 0

    28. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครอบครัวอาสา และครอบครัวอาสาสวนเกษตรอินทรีย์ ครั้งที่ 2

    วันที่ 2 สิงหาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำงานของแต่ละครอบครัวร่วมกับคณะทำงาน กลุ่มเป้าหมายจำนวน 35 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 31 คน

     

    35 31

    29. กิจกรรมทำปุ๋ยอินทรีย์คั้งที่ 5

    วันที่ 5 สิงหาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดทำปุ๋ยหมักน้ำเพื่อใช้ในการทำเกษตรของครอบครัวอาสา โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 15 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครอบครัวอาสาสามารถลดต้นทุนในการทำเกษตรและลดการใช้ปุ๋ยเคมีในการปลูกผักกินเอง

     

    15 0

    30. กิจกรรมทำปุ๋ยอินทรีย์ครั้งที่ 6

    วันที่ 1 กันยายน 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการจัดทำปุ๋ยหมักน้ำเพื่อใช้ในการทำเกษตรของครอบครัวอาสา โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 15 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครอบครัวอาสาสามารถลดต้นทุนในการทำเกษตรและลดการใช้ปุ๋ยเคมีในการปลูกผักกินเอง

     

    15 0

    31. อบรมเชิงปฏิบัติการครอบครัวอาสาสมัครรับรู้โทษภัยสารเคมีและวิเคราะห์สภาพดินพื้นที่ทำกรเกษตร

    วันที่ 24 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมให้ความรู้ในการวิเคราะห์สภาพดิน โดยนางฉลวย เวียนคำ เจ้าหน้าที่เกษตร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิเดการเรียนรู้วิธีการตรวจสภาพดินและวิธีการปรับปรุงคุณภาพดินที่ใช้ในการทำเกษตรของครอบครัวอาสา

     

    30 30

    32. ประชุมคณะทำงานสรุปผลการดำเนินโครงการร่วมกับภาคีพัฒนา

    วันที่ 25 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เพื่อรายงานฉบับสมบูรณ์ มีกลุ่มเป้าหมาย 40 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการและรวบรวมเข้าเล่ม

     

    40 0

    33. ร่วมสร้างชุมชนในท้องถิ่นน่าอยู่สร้างสุขภาคใต้

    วันที่ 28 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตัวแทนโครงการเข้าร่วมกิจกรรม 1 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงาน

     

    0 0

    34. จัดทำรายงานสรุปปิดโครงการ

    วันที่ 30 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้เรียนรู้วิธีการจัดทำสรุปรายงานปิดโครงการของพี่เลี้ยง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานสามารถจัดทำรายงานสรุปปิดโครงการได้

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์
    ตัวชี้วัด : 1. มีเกณฑ์ครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์ และสวนอาสาเกษตรอินทรีย์ 2. มีสมาชิกครอบครัวอย่างน้อยครอบครัวละ 1 คน มีความรู้ในการวิเคราะห์สภาพดิน รวมอย่างน้อย 30 คน 3. มีครอบครัวที่รู้โทษภัยของสารเคมีจากพืชผักปลอดสารพิษและพืชสมุนไพรอย่างน้อย 20 ครัวเรือน 4. มีครอบครัวอาสาการทำสวนเกษตรอินทรีย์อย่างน้อย 10 ครัวเรือน

     

    2 เพื่อสร้างพื้นที่แปลงสาธิตการทำสวนเกษตรอินทรีย์ผสมผสาน
    ตัวชี้วัด : 1. มีพื้นที่แปลงสาธิตในการทำสวนเกษตรอินทรีย์แบบผสมผสานที่สามารถสาธิตการทำปุ๋ยอินทรีย์ การขยายพันธุ์ผัก สมุนไพร การปรับปรุงคุณภาพดิน พื้นที่ 50 ไร่ จำนวน 1 แปลง 2. มีพื้นที่ในการทำสวนเกษตรแบบอินทรีย์อย่างน้อย 10 แปลง

     

    3 เพื่อสร้างกลไกสนับสนุนการทำเกษตรแบบอินทรีย์ในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. มีแผนที่ศักยภาพชุมชนและพื้นที่เสี่ยง 1 ชุด 2. มีกองทุนสวัสดิการในการหนุนเสริมการทำเกษตร 3. มีฐานข้อมูลเกษตรกรในชุมชน 4. มีศูนย์เพื่อนเกษตรกรให้ความช่วยเหลือเกษตรกร 1 ศูนย์ 5. เกิดแผนชุมชนที่มีการหนุนเสริมการทำเกษตรแบบอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์ (2) เพื่อสร้างพื้นที่แปลงสาธิตการทำสวนเกษตรอินทรีย์ผสมผสาน (3) เพื่อสร้างกลไกสนับสนุนการทำเกษตรแบบอินทรีย์ในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โรงเรียนชุมชนจัดการตนเองบ้านสวนป่า

    รหัสโครงการ 55-01778 รหัสสัญญา 55-00-1046 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
    1. การจัดเก็บและจัดระบบฐานข้อมูลเกษตรกรครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์ (จากเดิมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะเป็นคนจัดเก็บข้อมูล สู่ชุมชนพัฒนาฐานข้อมูลเกษตร)เริ่มจากออกแบบฟอร์มการเก็บข้อมูลร่วมกับสำนักงานเกษตร มีการประชุมทำความเข้าใจแบบฟอร์มกับทีมเก็บข้อมูลตามโซนพื้นที่ รวบรวมประมวลผลข้อมูล
    1. แบบฟอร์มการเก็บข้อมูลครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์
      2.ไฟล์เอกสารฐานข้อมูลครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์
    2. สอบถามเจ้าหน้าที่เกษตรกรตำบล สำนักงานเกษตรอำเภอวังวิเศษ นางฉลวย เวียนคำ

    1.จะพัฒนาเสริมข้อมูลครอบครัวเกษตรอินทรีย์ด้านสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
    1. เกิดกลุ่มสมุนไพรของโรงเรียนบ้านสวนป่าประชาอุปถัมภ์
    2. เกิดกลุ่มครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์
    1. โรงเรียนบ้านสวนป่าประชาอุปถัมภ์
    2. รายงานเอกสาร และภาพถ่ายกิจกรรม
    3. สอบถามเรื่องกลุ่มสมุนไพรได้ทาง ผอ.โรงเรียนบ้านสวนป่าประชาอุปถัมภ์ หรือ ทาง อ.สิทธฺ์ แก้วกาญ
    4. สอบถามเรื่องกลุ่มครอบครัวอาสาเกษตรตำบล นางฉลวย เวียนคำ
    1. การนำกลุ่มสมุนไพรของโรงเรียนบ้านสวนป่าประชาอุปถัมภ์เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาของชุมชน
    2. การขยายสมาชิกกลุ่ม
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค
    • การบริโภคของครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์ 38 ครอบครัว มีการบริโภคพืชผักเพิ่มมากขึ้น
    • สอบถามจากครัวเรือนสมาชิกครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์
    • อยากมีการต่อยอดเรื่องเมนูสุขภาพสำหรับครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
    • มีตัวอย่างครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์ 10 ครัวเรือน ที่ปลูกและใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
    • บ้านครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์
    • การต่อยอดเมนูสุขภาพ ผักเป็นอาหารและเป็นยา
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
    1. สมาชิกครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์มีการปลูกพืชผักกินเองในครอบครัว โดยใช้พื้นที่ว่างรอบบ้าน
    2. โรงเพาะชำ แปลงสมุนไพร คอกปุ๋ยหมัก และโรงปุ๋ยน้ำ ในโรงเรียนบ้านสวนป่าประชาอุปถัมภ์
    1. บ้านครัวเรือนสมาชิกครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์ ในพื้นที่ ม.6 ต.วังมะปรางเหนือ
    2. โรงเรียนบ้านสวนป่าประชาอุปถัมภ์

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
    1. ครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์บางครอบครัวได้นำผลผลิตที่เหลือจากการกินในครอบครัวไปขายในหมู่บ้าน
    1. สอบถามสมาชิกครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์

    1.การพัฒนาจุดรวมพืชผักในชุมชน
    2. ประสานผลผลิตไปขายในตลาดนัดคนรักสุขภาพของโรงพยาบาลวังวิเศษทุกวันศุกร์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
    1. กติกาของครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์
    1. สอบถามได้ทางกลุ่มครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์ และทางเจ้าหน้าที่เกษตรตำบล นางฉลวย เวียนคำ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
    1. กลุ่มครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์ประสานงานกับกลุ่มเลี้ยงปลา มาให้ความรู้เรื่องวิธีการขุดบ่อน้ำตื้น
    2. การร่วมกับกลุ่มผู้สูงอายุในการทำบุญเลี้ยงพระของหมู่บ้านทุกวันที่ 30 ของทุกเดือน
    3. การร่วมกับกลุ่มอสม.ในชุมชนในการเก็บข้อมูลสุขภาพ
    4. การร่วมกับศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีของตำบลในการช่วยหนุนเสริมกิจกรรมตรวจคุณภาพดิน วิเคราะห์โรงพืช
    5. เชื่อมโยงประสานกับทางกลุ่มโครงการบ้านบางนาวจัดการแหล่งอาหารชุมชนสร้างสุข
    1. การทำบุญเลี้ยงพระประจำหมู่บ้านทุกวันที่ 30 ของทุกเดือน
    2. การสอบถามทางนายอำนาจ บุญทรงธรรม เจ้าหน้าที่สาธารณสุขตำบล โรงพยาบาลวังวิเศษ
    3. การสอบถามทางนางฉลวย เวียนคำ เจ้าหน้าที่เกษตรตำบล
    1. การเชื่อมโยงกับกลุ่มหมอพื้นบ้านอำเภอวังวิเศษในการเข้ามาสนับสนุนความรู้เรื่องพันธุ์สมุนไพร สรรพคุณ และการใช้ประโยชน์
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
    1. การใช้ทุนวิถีวัฒนธรรม ได้แก่ การใช้โอกาสการทำบุญทุกวันที่ 30 ของทุกเดือน ในการให้สมาชิกครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์ได้เข้าร่วม
    2. ทุนคน ได้แก่ การให้ผู้รู้ที่เชี่ยวชาญในการปลูกพืชสมรมมาถ่ายทอดความรู้ และพืชสมุนไพร
    1. สอบถามนายเคลื่อน เต็งรัง นายเกลื่อน เอียดชูทอง นางม่อย คดีพิศาล ในด้านการปลูกพืชสมรม และสมุนไพร
    2. กิจกรรมทำบุญเลี้ยงพระประจำเดือน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
    1. การขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มอย่างต่อเนื่อง ทั้งการดำเนินกิจกรรมภายในกลุ่มครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์ การให้ความรู้เรื่องการบริโภค โทษภัยจากการบริโภคพืชผักที่มีสารเคมี การประสานกับทางโรงเรียนประชาอุปถัมภ์ในการพัฒนาโรงปุ๋ย แปลงผัก และสมุนไพรสาธิต

    1.สอบถามทางสมาชิกกลุ่มครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์ ทางผู้ใหญ่บ้าน และทาง อ.สิทธ์ แก้วกาญ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
    • ทักษะในการจัดการโครงการ ด้านการจัดฐานข้อมูลของหมู่บ้าน

     

    • การพัฒนาฐานข้อมูลสุขภาพของชุมชน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    -  ความภูมิใจในการสร้างความร่วมมือของแกนนำในชุมชน
    - การยอมรับของชุมชนว่าไม่ใช่ผลประโยชน์ของส่วนตัวแต่เป็นประโยชน์ส่วนรวม

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
    • แกนนำครอบครัวอาสาเกษตรอินทรีย์เริ่มเห็นคุณค่าการพึ่งตนเอง ด้านการปลูกพืชผักไว้บริโภค

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โรงเรียนชุมชนจัดการตนเองบ้านสวนป่า จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 55-01778

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสายันต์ ชูหาญ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด