แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ฐานทรัพยากรมั่นคง ชุมชนในโป๊ะท่าน้ำ ”

ชุมชนในโป๊ะท่าน้ำหมู่ที่12ต.ตะโมด อ.ตะโหมด จ.พัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายอดุลย์ แก้วคงธรรม

ชื่อโครงการ ฐานทรัพยากรมั่นคง ชุมชนในโป๊ะท่าน้ำ

ที่อยู่ ชุมชนในโป๊ะท่าน้ำหมู่ที่12ต.ตะโมด อ.ตะโหมด จ.พัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 55-01916 เลขที่ข้อตกลง 55-00-0888

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2555 ถึง 31 ตุลาคม 2556


กิตติกรรมประกาศ

"ฐานทรัพยากรมั่นคง ชุมชนในโป๊ะท่าน้ำ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชุมชนในโป๊ะท่าน้ำหมู่ที่12ต.ตะโมด อ.ตะโหมด จ.พัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ฐานทรัพยากรมั่นคง ชุมชนในโป๊ะท่าน้ำ



บทคัดย่อ

โครงการ " ฐานทรัพยากรมั่นคง ชุมชนในโป๊ะท่าน้ำ " ดำเนินการในพื้นที่ ชุมชนในโป๊ะท่าน้ำหมู่ที่12ต.ตะโมด อ.ตะโหมด จ.พัทลุง รหัสโครงการ 55-01916 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 213,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.สร้างการเรียนรู้ให้คนในชุมชนเห็นความสำคัญเพื่อให้เกิดความตระหนักในการดูแลทรัพยากรและนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง 2.หนุนเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมในการปรับสภาพแวดล้อมในการแก้ปัญหาคลองและสภาพแวดล้อม 3.เพื่อให้เกิดการพัฒนากลไกในการบริหารจัดการชุมชนที่มีทุกภาคส่วนในชุมชนเป็นกลไก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมปฐมนิเทศรับทุนโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2555 เวลา 13.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ผู้เข้ารับโครงการ 3 คนเข้าร่วมประชุมเชิงปฎิบัติการ 2.ฝึกทักษะการทำรายงาน ส.1  ง.1  ส.2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับโครงการจำนวน 3 ท่านจากพื้นที่ได้เรียนรู้และทำรายงานได้อย่างถูกต้อง

     

    0 0

    2. เวทีแลกเปลี่ยนบอกเรื่องสภาพปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะและน้ำเสีย

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2555 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.จัดประชุมให้ข้อมูลถึงสถานการณ์ของขยะน้ำเสีย  ผลกระทบต่อชุมชน และทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาแก่ชุมชน 2.หาทีมทำงาน 3.สำรวจสภาพพื้นที่ชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจและเกิดความตระหนัก กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมจำนวน 40คนน้อยกว่าที่กำหนด -ครัวเรือนต้นแบบ -เยาวชน -ผู้นำ -ผู้บริหารทต.ตะโหมด 2.มีผู้สมัครใจเข้าร่วมเป็นคณะทำงาน 15 คน -อสม.

     

    0 0

    3. จัดเก็บข้อมูลขยะและน้ำเสีย

    วันที่ 25 พฤศจิกายน 2555 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ประชุมจัดเก็บข้อมูลมีผู้ร่วม32คน/ชุมชน 30คน/ท้องถิ่น 2คน -คณะทำงานลงพื้นที่สัมภาษณ์และใช้แบบสอบถาม 100ชุดจำนวน100ครัวเรือน -ลงสำรวจพื้นที่จริง -ค้นหาข้อมูลจากเทศบาลตำบลตะโหมดและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ -รวบรวมและนำมาวิเคราะห์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ได้ข้อมูลสาเหตูและผลกระทบของขยะและน้ำเสีย -ชนิด/ปริมาณขยะและน้ำเสีย -ชุมชนมีความตระหนักและมีความรู้ความเข้าใจ

     

    0 0

    4. ประชุมทีม/วางแผน/เตรียมงาน

    วันที่ 14 ธันวาคม 2555 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -มีคณะทำงาน 15คน/ชุมชน 12คน/ท้องถิ่น3คน -มีการแลกเปลี่ยน -ทำแผนงาน -ทำกำหนดการ วันเวลาและสถานที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ทำกำหนดการ วันเวลาและสถานที่

     

    0 0

    5. ติดตามและประเมินผลโครงการครั้งที่1

    วันที่ 17 มกราคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ติดตามความก้าวหน้าของโครงการ -ให้ข้อเสนอแนะการรายงานความคืบหน้าและการรายงาน ส.1 และ ง.2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -สามารถรายงานความคืบหน้าได้อย่างถูกต้อง -ส่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ทได้

     

    0 0

    6. เวทีคืนข้อมูลให้ชุมชน

    วันที่ 27 มกราคม 2556 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -คณะทำงานได้นำข้อมูลที่จัดเก็บได้มานำเสนอให้ชุมชนที่่เข้าร่วมรับรู้ถึงสถานการขยะและน้ำเสียที่ส่งผลต่อชุมชนและได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้เข้าร่วมโครงการ โดยมีท้องถ่นเป็นภาคีร่วม มีผู้เข้าร่วมประมาณ6/คน ชุมชน 55คน ท้องถิ่น 7คน -ได้แนวทางในการแก้ไขปัญหา โดยการลดขยะที่นำเข้าในครัวเรือนก่อน และทุกครั้งที่มีขยะควรมีการคัดแยกก่อน  ส่วนขยะอินทรีก็นำมาใช้ทำปุ๋ย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ผู้เข้าร่วมเกินเป้าหมายที่ตั้งไว้โดยมีผู้นำท้องถิ่น/เยาวชนเข้าร่วม จำนวน 62คน -ชมชนได้รับรู้และเข้าใจถึงปัญหาและผลกระทบและได้หาแนวทางแก้ปัญหาและผลกระทบร่วมกัน -นำแนวทางเข้าแผนท้องถิ่น

     

    0 0

    7. อบรมให้ความรู้การจัดการขยะจากแหล่งกำเนิด3R

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -มีกลุ่มเป้าหมาย 50คน มีบ้านต้นแบบ30ครัวเรือน/ ผู้นำท้องถิ่น เยาวชน20คน/ เข้าร่วมอบรม -วิทยากรจากหน่วยงานและชุมชนให้ความรู้และมีการแลกเปลี่ยน -มีการสาธิตและปฎิบัติจริงในการนำขยะมาให้เกิดประโยชน์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -กลุ่มเป้าหมายจำนวน 50มีความรู้ความเข้าใจ ในการจัดการขยะและน้ำเสียในครัวเรือนและชุมชน -กลุ่มเป้าหมายได้นำความรู้มาใช้ในชีวิตจริง เช่นการนำขยะอินทรีย์มาทำปุ่ยหมัก  น้ำหมักใช้ในภาคเกษตรและครัวเรือน -มีบ้านต้นแบบ 30ครัวเรือน

     

    0 0

    8. ติดตามและประเมินผลโครงการครั้งที่2

    วันที่ 5 มีนาคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจสอบรายงาน  ส.1 ส.2 และ ง.1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ส่งรายงาน ง.1 ส.1 ส.2

     

    0 0

    9. ติดตามและประเมินผลโครงการครั้งที่3

    วันที่ 9 พฤษภาคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีคณะกรรมการผู้รับผิดชอบ 3ท่านมาร่วมประเมินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะผู้เข้าร่วมโครงการได้ตอบแบบสอบถาม

     

    3 2

    10. ซ่อมฝายชะลอน้ำแบบภูมิปัญญา

    วันที่ 14 พฤษภาคม 2556 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชุมชนร่วมกันทำฝายชะลอน้ำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนมีฝายชะลอน้ำที่ใช้ประโยชน์ได้จำนวน 3แห่ง

     

    0 0

    11. วันน้ำใสคลองสวยด้วยมือเรา

    วันที่ 10 มิถุนายน 2556 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -เก็บขยะมูลฝอยในแหล่งน้ำ -เยาวชนสำรวจสัตว์น้ำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาแหล่งน้ำในชุมชน -ชุมชนสามารับรู้ชนิดสัตว์น้ำที่ยังมีอยู่และที่หายไป

     

    0 0

    12. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชนต้นแบบที่มีประสบการณ์การจัดการขยะและน้ำเสีย

    วันที่ 15 มิถุนายน 2556 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -มีผู้เข้าร่วมศึกษาดูงานจำนวน 45คน -มีการเรียนรู้และเห็นของจริงที่ทำได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจและได้แนวทางที่จะกลับมาทำกิจกรรมขยะและน้ำเสียในชุมชนต่อ

     

    0 0

    13. มีระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมและประกาศเขตอภัยทาน

    วันที่ 24 มิถุนายน 2556 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -เวทีประชาคมหมู่บ้าน -ทำเขตอภัยทาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการกำหนดระเบียบข้อบังคับหมู่บ้าน -มีกลไกในการทำงาน

     

    0 0

    14. สร้างคนรุ่นใหม่เพื่อขยายผล

    วันที่ 12 กรกฎาคม 2556 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -อบรมให้ความรู้ -มีผู้เข้าร่วม55คน -เทศบาลตำบลตะโหมดเป็นภาคีร่วมจัด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -เยาวชนเข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจ -เกิดกลุ่มเยาวชนน้อยดูแลสิ่งแวดล้อม

     

    50 55

    15. หนุนเสริมกิจกรรมต้นแบบในการจัดการขยะและน้ำเสีย

    วันที่ 20 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ครัวเรือนต้นแบบจำนวน30ครัวเรือนสามารถจัดการขยะและน้ำเสียได้ -ขยะอินทรีแปลงเป็นปุ๋ยน้ำหมักและผลิตภัณฑ์น้ำยาเอนกประสงค์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ชุมชนมีแนวทางหรือรูปแบบในการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน -เทศบาลมีรูปแบบและขยายผลเพิ่มครัวเรือนต้นแบบได้ครบคลุมชุมชน

     

    30 30

    16. ปล่อยพันธุ์ปลาหน้าฝายชะลอน้ำ 3แห่ง

    วันที่ 27 กรกฎาคม 2556 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ปล่อยพันธุ์ปลา -เวทีทำความเข้าใจ -ประกาศเขตอภัยทาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -มีแหล่งสัตว์น้ำบริเวณฝายน้ำ -เกิดกลไกการดูแลแหล่งน้ำ -เกิดกฎกติกาในชุมชน

     

    50 55

    17. เดินรณรงค์ ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ การจัดการขยะในที่สาธารณะ

    วันที่ 30 กรกฎาคม 2556 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -เดินรณรงค์เผยแพร่การลดขยะและน้ำเสียในชุมชนเขตเทศบาลตำบลตะโหมด -ร่วมเทศบาล/โรงเรียนในพื้นที่เดินรณรงค์เผยแพร่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ชุมชนได้รับรู้และเข้าใจในการดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน -มีการเผยแพร่ข้อมูลค้วยแผ่นพับและไวนิล

     

    50 120

    18. ถอดบทเรียน/ทำชุดองค์ความรู้เรื่องการบริหารการจัดการทรัพยากรชุมชนในโป๊ะท่าน้ำ

    วันที่ 5 สิงหาคม 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -มีผู้เข้าร่วมและแสดงความคิดเห็นจำนวน 15คน -ภาคีเข้ร่วมมีเจ้าหน้าที่ท้องที่ เทศบาลตำบลตะโหมด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -มีข้อคิดเห็นถึงการดำเนินโครงการ -ข้อเสนอแนะในการดำเนินโครงการและแผนงานในปีต่อไป

     

    50 30

    19. เวทีสาธารณะนำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อท้องถิ่น

    วันที่ 20 สิงหาคม 2556 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เวทีเสวนาที่มีผู้ร่วม จำนวน 60 คน -ตัวแทนเทศบาลตำบลตะโหมด -ผู้ให้บ้านในพื้นที่ -ผู้แทนองค์กรในชุมชน -ตัวแทนเจ้าของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -มีผู้เข้าร่วมไม่ได้ตามเป้าที่วางไว้ -มีข้อเสนอแนะที่จะให้เทศบาลตำบลตะโหมดเข้าเทศบัญญัติท้องถิ่่น3เรื่อง 1.ประกาศเขตพื้นที่อภัยทานและกฎระเบียบชุมชนในโป๊ะท่าน้ำ 2.นำแผนงานโครงการเข้าแผนชุมชนเพื่อการขยายพื้นที่ให้ครบคลุม 3.ให้ตัวแทนชองชุมชนเข้าร่วมรับฟังการประชุมสภาเทศบาลทุกครั้ง

     

    100 60

    20. ติดตามและประเมินผลโครงการครั้งที่5

    วันที่ 16 กันยายน 2556 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ติดตามความคืบน้ำ ตรวจบัญชีและความสำเร็จของโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ทำส-3 รายงานผู้รับผิดชอบ

     

    2 2

    21. ร่วมงานสร้างสุขคนใต้

    วันที่ 28 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รับชมนิทรรศการประเด็นสิ่งแวดล้อม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -เรียนรู้การดำเนินงานของโครงการในพื้นที่ต่างๆ -ได้แนวคิดเรื่องคุณค่าของการจัดการชุมชนท้องถิ่น -ได้เรียนรู้ประสบการณ์แนวใหม่

     

    2 2

    22. ทำรายงานปิดโครงการ

    วันที่ 30 กันยายน 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้รายงานฉบับสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รายงานฉบับสมบูรณ์

     

    3 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.สร้างการเรียนรู้ให้คนในชุมชนเห็นความสำคัญเพื่อให้เกิดความตระหนักในการดูแลทรัพยากรและนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง 2.หนุนเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมในการปรับสภาพแวดล้อมในการแก้ปัญหาคลองและสภาพแวดล้อม 3.เพื่อให้เกิดการพัฒนากลไกในการบริหารจัดการชุมชนที่มีทุกภาคส่วนในชุมชนเป็นกลไก
    ตัวชี้วัด : 1.ได้คณะทำงาน 2.ได้เรียนรู้ เข้าใจปัญหาสาเหตุและผลกระทบ 3.มีข้อมูล 4.ได้แผนงาน/แนวทาง 5.ได้มีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน1.กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้ เข้าใจและได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 6.เกิดบ้านต้นแบบ 30 ครัวเรือน 7.มีระบบและวิธีการการจัดการสิ่งแวดล้อม 8.เกิดคนรุ่นใหม่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม 9. เกิดการมีส่วนร่วมฟื้นฟูชุมชน 10.มีกฎ กติกา ข้อตกลงของชุมชน 11.ประกาศเขตอภัยทานร่วมกัน1. เกิดกลไกในการทำงานที่หลากหลาย 12.มี ข้อมูลรายงานชาวบ้านและ สสส. 13. มีการติดตามประเมินผลเพื่อการพัฒนา 14.ผลักดันแผนไปสู่การปฎิบัติ 15.มีชุดองค์ความรู้ 16. กำหนดข้อเสนอเรื่องการประกาศพื้นที่เขตอภัยทานเชิงนโยบาย สู่ท้องถิ่นร่วมกัน 17.มีสื่อเผยแพร่ความรู้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.สร้างการเรียนรู้ให้คนในชุมชนเห็นความสำคัญเพื่อให้เกิดความตระหนักในการดูแลทรัพยากรและนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง 2.หนุนเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมในการปรับสภาพแวดล้อมในการแก้ปัญหาคลองและสภาพแวดล้อม 3.เพื่อให้เกิดการพัฒนากลไกในการบริหารจัดการชุมชนที่มีทุกภาคส่วนในชุมชนเป็นกลไก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ฐานทรัพยากรมั่นคง ชุมชนในโป๊ะท่าน้ำ

    รหัสโครงการ 55-01916 รหัสสัญญา 55-00-0888 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2555 - 31 ตุลาคม 2556

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    การให้ข้อมูลปัญหา ผลกระทบต่อชุมชนและรู้ถึงคุณค่าขยะ ทำให้เกิดการลดปริมาณการทิ้งขยะลงถัง  เป็นการใช้ข้อมูลแก้ปัญหา

    ในถังขยะไม่มีขยะที่ใช้ประโยชน์ได้ ครัวเรือนนำร่องบ้านในโป๊ะ

    -การให้ความรู้ความเข้าใจ -ประชาสัมพันธ์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    ปุ๋ยหมัก/น้ำหมัก/ตัวดักไขมัน

    ครัวเรือนนำร่องบ้านในโป๊ะ

    -น้ำยาเอนกประสงค์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    สร้างครัวต้นแบบเพื่อสร้างการเรียนรู้เพื่อการขยายผล

    ครัวเรือนนำร่องบ้านในโป๊ะ

    แหล่งเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    ให้ความสำคัญทุกคนทุกกลุ่ม

    รายงานส1.และภาพถ่ายกิจกรรม

    -การบูรณาการกับองค์กรในชุมชนและองค์ส่วนท้องถิ่น -ทำความเข้าใจ/ให้ข้อมูล

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    มีทุกภาคส่วน/ทุกวัยเป็นโครงสร้างของชุมชน /กลุ่มเยาวชน/อสม./ทส.ม./กรรมการหมู่บ้าน/กรรมการชุมชน กลุ่มเหล่านี้ร่วมกันทำงานเกิดกลุ่ม พัฒนาชุมชนในโป๊ะท่าน้ำ

    ชุมชนบ้านในโป๊ะ ตะโหมด

    สภาพัฒนาชุมชนในโป๊ะท่าน้ำ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    ชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ในการดูแลด้านการรักษาฐานทรัพยากร ป่า น้ำ ดินและวิถีชุมชน

    สภาลานวัดตะโหมด

    -ชุมชนต้นแบบ -ชุมชนน่าอยู่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

    เกิดองค์ความรู้

    เอกสารประกอบ ส3 รายงานผลปิดโครงการ

    การนำไปใช้และขยายผลในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    ครัวเรือนสะอาด/คัดแยกขยะถูกต้อง

    ครัวเรือนนำร่อง

    มีการจัดเก็บขยะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    กินผักปลูกเอง/ผักอินทรี

    ครัวเรือนนำร่อง

    ปลุกผักเอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    การนำพืชผักสมุนไพรที่มีในชุมชนมาบริโภค

    ครัวเรือนนำร่อง

    -สูตรอาหาร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    เริ่มจากตัวเองทำให้เป็นแบบอย่าง

    คณะทำงานและครัวเรือนนำร่อง

    -ทำให้เห็นเป็นรูปธรรม -ถ่ายทอดสู่ครัวเรือนและชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    -สร้างตัวดักไขมันเพื่อลดเรื่องมลพิษไหลสู่แหล่งน้ำ -การสร้างฝายชะลอการไหลของน้ำเป็นการเพิ่มออกซิเจนให้แหล่งน้ำและที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ -การไม่ใช้สารเคมีในภาคการเกษตร มาใช้ปุ๋ยอินทรีทำเองจากขยะ - การคัดแยกขยะ

    ครัวเรือนนำร่อง/ชุมชนบ้านทุ่งโป๊ะ

    สร้างเครือข่ายการเชื่อมโยง ตลอดสายน้ำ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    -ชุมชนในโป๊ะท่าน้ำ  ในการพัฒนาชุมชน  มีพระอาจารย์วัดตะโหมดเข้ามาดำเนินการร่วมด้วย  เพราะเป็นที่ศรัทธาของชุมชน
    -เพื่อเป็นการสร้างสภาแวดล้อมให้น่าอยู่ได้ทำกิจกรรมกับเยาวชน  ค่ายจริยธรรมกับสิ่งแวดล้อม

    ชุมชนบ้านทุ่งโป๊ะ

    ค่ายเยาวชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    คัดแยกขยะไปขาย/ทำน้ำหมัก/ปลูกผ้กอินทรี/ขยะเพื่อน้อง

    ครัวเรือนนำร่องบ้านทุ่งโป๊ะ

    เศรษฐกิจพอเพียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    การมีเขตอภัยทานและกติกาของชุมชนทำให้เกิดการมีส่วนร่วมดูแลทรัพยากรในชุมชน

    กรรมการชุมชนบ้านทุ่งโป๊ะ

    -กติกาชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    ข้อกำหนดชุมชน  ภายใต้การมีส่วนร่วมคิดร่วมทำของคนในชุมชน

    กรรมการชุมชนบ้านทุ่งโป๊ะ

    ออกเทศบัญญัติ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

    ชุมชนสามารถกำหนดทิศทาง  ข้อระเบียบชุมชน

    กรรมการชุมชนบ้านทุ่งโป๊ะ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

    เสนอเป็นแผนชุมชนเพื่อผลักดันสู่นโยบายท้องถิ่น

    แผนพัฒนาชุมชนบ้านทุ่งโป๊

    ออกเทศบัญญัติ

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    เชื่อมโยงการทำงานกับเครือข่ายกลุ่มอนุรักษ์ที่อยู่ต้นน้ำของชุมชนที่สายน้ำที่ผ่านชุมชน /ต้นน้ำ กลางน้ำและปลายน้ำที่สามารถเชื่อมโยงกันได้  มีกิจกรรมร่วมกัน

    กรรมการชุมชนบ้านทุ่งโป๊ะ

    สร้างเครือข่าย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    การเรียนรู้และแก้ปัญหาโดยใช้ข้อมูลที่ได้ นำมาวางแผนและแก้ปัญหาเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติการ

    กรรมการชุมชนบ้านทุ่งโป๊ะ

    แผนงานโครงการ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    -ภูมิปัญญาในการทำฝายน้ำ(ธนาคารน้ำ) -กลุ่มทำเกษตรอินทรี -กรรมการชุมชน/กรรมการหมู่บ้าน/เยาวชน/กรรมการบริหารเทศบาล      /อสม./ทส.ม ร่วมกิจกรรม

    สภาลานวัดตะโหมด

    รวมกลุ่ม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    -สร้างคนรุนใหม่เพื่อดำเนินการต่อ -เสนอเป็นแผนชุมชนเพื่อบรรจุสู่แผนท้องถิ่น

    แผนพัฒนาชุมชนบ้านทุ่งโป๊ะ

    -สร้างองค์ความรู้ -แผนชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    มีองค์ความรู้ในการจัดการฐานทรัพยากรในชุมชน

    โครงการฐานทรัพยากรมั่นคงฯบ้านทุ่งโป๊ะ

    -ถ่ายทอด  ประชาสัมพันธ์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    คณะได้จัดเก็บข้อมูล นำมาวิเคราะห์ร่วมกับชุมชนและได้คืนข้อมูลที่ได้กลับสู่ชุมชน เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนเป็นแผนงานต่อไป

    กรรมการชุมชนบ้านทุ่งโป๊ะ

    -แผนงาน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

    ทำแผนชุมชนสู่แผนท้องถิ่นและแผนจังหวัด

    แผนพัฒนาชุมชนบ้านทุ่งโป๊ะ

    -เป็นนโยบายชุมชน

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    การดำเนินกิจกรรมที่สามารถเป็นต้นแบบและแหล่งเรียนรู้ ขยายผลไปสู่ชุมชนอื่นได้

    กรรมการชุมชนบ้านทุ่งโป๊ะ/ครัวเรือนนำร่อง

    แหล่งเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    การสร้างให้สภาพแวดล้อม(คน  ประเพณีวัฒนธรรม  สิ่งแวดล้อม)ให้น่าอยู่  เอื้อเผื่อแบ่งปัน  ชุมชนและคนก็น่าอยู่

    กรรมการชุมชนบ้านทุ่งโป๊ะ

    การดำเนินการอย่า่งต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    การนำทรัพยากรในชุมชนให้เกิดประโยชน์อย่างสมดุล เช่นปลูกผักกินเอง

    ครัวเรือนนำร่อง

    วิถีพอเพียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    มีการแบ่งปัน โดยการให้และแลกเปลี่ยน  ทำงานแบบเชื่อมโยง

    ชุมชนบ้านทุ่งโป๊ะ

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    การใช้ข้อมูลและมติชุมชนในการตัดสินใจ

    กรรมการชุมชนบ้านทุ่งโป๊ะ

    ส่งเสริมการมีส่วนร่วม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

    กฎกติกาชุมช เทศบาลเข้าร่วมกิจกรรม

     

     

    ฐานทรัพยากรมั่นคง ชุมชนในโป๊ะท่าน้ำ จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 55-01916

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอดุลย์ แก้วคงธรรม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด