แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 1

รหัสโครงการ 56-00262
สัญญาเลขที่ 56-00-0472

ชื่อโครงการ โครงการแหลมยางนาพึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง(ต่อยอด)
รหัสโครงการ 56-00262 สัญญาเลขที่ 56-00-0472
ระยะเวลาตามสัญญา 1 มิถุนายน 2013 - 31 พฤษภาคม 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางเบญจา รัตนมณี
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นายยุทธนา รัตนมณี
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 29 มิถุนายน 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 30 สิงหาคม 2013
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางธิดารัตน์ สังข์ช่วย 99 หมู่ที่ 4 ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 08 9724 1984
2 นายวิมล เจริญสุข 38/1 หมู่ที่ 4 ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 08 9023 6089
3 นางวรรณา รวดเร็ว 80/2 หมู่ที่ 4 ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 08 1083 0099
4 นางฟอง เหวียดแป้น 81/2 หมู่ที่ 4 ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 08 1539 0933
5 นางอรวรรณ นาคเกษม 80/2 หมู่ที่ 4 ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 08 1083 0099

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

  1. สร้างครอบครัวและชุมชนให้อบอุ่น

1.1 มีลานชุมชนคนสามวัย

1.2 เกิดครอบครัวอบอุ่นต้นแบบ  ร้อยละ 70

2.

ครัวเรือนปลอดหนี้

2.1 ครัวเรือนมีการจัดทำบัญชีครัวเรือนครอบคลุมทุกหลังคาเรือน

2.2 สมาชิกชุมชนมีการออมเพิ่มขึ้น

2.3 มีศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

3.

จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการต่อยอดและขยายผลการดำเนินงาน

3.1 มีการสรุปรายงานที่ถูกต้อง

3.2 มีข้อเสนอเชิงนโยบายสู่การต่อยอดและขยายผลการดำเนินงาน

4.

เพื่อสนับสนุนการบริหารและดำเนินงานของโครงการ

4.1 โครงการเข้าร่วมการประชุมกับทางสสส. /สจรส.ม.อ.

4.2 มีรายงานความก้าวหน้า และรายงานฉบับสมบูรณ์ส่งสสส.

4.3 มีการถ่ายภาพตลอดโครงการ มีป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : จัดประชุมชี้แจงโครงการแก่สมาชิกชุมชนi

7,000.00 140 ผลผลิต

จัดประชุมชี้แจงรายละเอียดของโครงการต่อยอดปี 2 แก่สมาชิกชุมชนมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 140 คน เป็นคณะกรรมการโครงการและพี่เลี้ยงร่วมให้ข้อมูลรายละเอียดของโครงการแก่สมาชิกชุมชนทั้งเก่า/ใหม่(ผู้นำชุมชน/แกนนำด้านสุขภาพ/ผู้สนใจ)และร่วมตอบข้อซักถาม


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ประชาชนให้สนใจและรัร่วมแสดงความคิดเห็นในเรื่องการจัดพื้นที่ศาลาเอนกประสงค์ของหมู่บ้านให้เป็นศูนย์เรียนรู้ เป็นลานชุมชนคนสามวัย โดยให้ปรับปรุงให้มีบรรยากาศที่เหมาะแก่การทำกิจกรรมโดยเฉพาะของกลุ่มคนสามวัย

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

 

7,000.00 7,000.00 140 140 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการโครงการชี้แจงรายละเอียดของโครงการที่ได้รับการพัฒนาต่อยอดเป็นปีที่ 2 ซึ่งมีประชาชนสนใจและรับทราบถึงวัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย รายละเอียดกิจกรรม แผนการดำเนินงานและงบประมาณที่ได้รับจาก สสส. และประชาชนร่วมกันแสดงความคิดเห็นในเรื่องการจัดพื้นที่ศาลาเอนกประสงค์ของหมู่บ้านให้เป็นศูนย์เรียนรู้ ลานชุมชนคนสามวัย ให้มีบรรยากาศร่มรื่นเหมาะแก่การทำกิจกรรม

กิจกรรมหลัก : สร้างบรรยากาศของชุมชนให้เป็นพื้นที่สร้างสรรค์i

22,700.00 80 ผลผลิต

จัดพื้นที่ในการจัดกิจกรรมของคนสามวัย ในศูนย์ประชุมหมู่บ้าน โดย จัดกิจกรรมให้คนสามวัยได้ทำร่วมกัน ได้แก่ 1)การแบ่งกลุ่มคนสามวัยให้มีเวทีพบปะพูดคุย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทำความเข้าใจร่วม เพื่อสร้างความสันพันธ์ที่ดีระหว่างวัย 2) จัดนิทรรศการเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 3) มีการเสวนาปัญหาชุมชนเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน  เชิญวิทยากรจากวิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจมาให้ความรู้ เรื่องวัฒนธรรม  การทักทาย  การต้อนรับชาวต่างชาติ มีสมาชิกชุมชนเข้าร่วม 40 คน นักเรียนโรงเรียนบ้านแหลมยางนาเข้าร่วมกิจกรรม 30 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

จากการจัดกิจกรรม ได้รับความร่วมมือจากประชาชน  ภาคีเครือข่ายต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน ประชาชนมีความรู้ ความตื่นตัว  และเตรียมตัวเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน และทำให้กลุ่มคนสามวัยได้มีพื้นที่พบปะทำกิจกรรมต่างๆร่วมกันต่อเนื่องบ่อยขึ้น

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

 

24,200.00 13,200.00 80 100 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้รับความร่วมมือจากประชาชน  ภาคีเครือข่ายต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน ประชาชนมความรู้ ความตื่นตัว  และเตรียมตัวเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน

 

24,200.00 0.00 80 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สมาชิกชุมชนและกลุ่มเยาวชนร่วมกิจกรรมเรียนรู้เรื่องประชาคมอาเซียนและร่วมชมนิทรรศการเรื่องประชาคมอาเซียนและกิจกรรมเสรษฐกิจพอเพียงของชุมชน

กลุ่มคนสามวัย  ผู้นำชุมชน  อสม.  เจ้าหน้าที่ รพ.สต.

9,500.00 9,500.00 30 80 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดการสร้างกลุ่มคนสามวัยที่มีความสัมพันธ์ที่ดี มีการจับเข้าคุยกัน  ร่วมการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน ตัวแทนลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูล

กิจกรรมหลัก : กลุ่มคนสามวัยจัดกิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วม/สร้างงาน/สร้างรายได้i

13,900.00 50 ผลผลิต

กลุ่มคนสามวัยจัดกิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วม/สร้างงาน/สร้างรายได้ด้วยการสอนดนตรีพื้นบ้านกลองยาว ให้แก่เยาวชน จำนวน 20 คน โดยการสอนของกลุ่มผู้สูงอายุและวัยทำงาน ฝึกสอนทุกวันในช่วงเย็นและวันหยุด จนทีมงานมีความชำนาญสามารถนำไปออกงานบ เช่น งานบวชของสมาชิกในชุมชนได้ค่าตอบแทนเล็กน้อยเป็นการสร้างงานสร้างอาชีพให้สมาชิก


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

กลุ่มคนสามวัยมีความภาคภูมิใจและจะดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 11 ครั้ง

คนสามวัย 31 คน  เจ้าหน้าที่และวิทยากร 4 คน

7,500.00 7,500.00 50 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กลุ่มคนสามวัยมีการทำกิจกรรมร่วมกัน มีการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น

กรรมการ  21  คน

640.00 640.00 10 21 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เยาวชน  สามารถบอกชื่ออุปกรณ์ดนตรีกลองยาวพื้นบ้านได้ และสามารถตีเข้าจังหวะขั้นพื้นฐานได้

เยาวชน และวิทยากร  จำนวน 11 คน

640.00 640.00 10 11 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สามารถตีกลองยาวประกอบเพลงได้

เยาวชน และวิทยากร  จำนวน 16 คน

640.00 640.00 10 16 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เยาวชนสามารถตีกลองยาวประกอบเพลงได้

เยาวชน  และวิทยากร 12 คน

640.00 640.00 10 12 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดการรวมกลุ่มกลองยาวของเยาวชน

เยาวชน และวิทยากร 14 คน

640.00 640.00 10 14 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดการรวมกลุ่มของเยาวชนในชุมชน

เยาวชน และวิทยากร จำนวน 10 คน

640.00 640.00 10 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดการรรวมตัวของกลุ่มเยาวชน

เยาวชน และวิทยากร จำนวน 12 คน

640.00 640.00 10 12 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดการรวมกลุ่มของเยาวชนในชุมชน

เยาวชนและวิทยากร  13 คน

640.00 640.00 10 13 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดการรวมตัวของกลุ่มเยาวชน

เยาวชน และวิทยากร จำนวน 14 คน

640.00 640.00 10 14 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดการรวมตัวของกลุ่มเยาวชนในชุมชน

เยาวชน และวิทยากร 10 คน

640.00 640.00 10 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดการรวมตัวของเยาวชนในชุมชน

กิจกรรมหลัก : สร้างค่ายครอบครัวอบอุ่นi

110,000.00 50 ผลผลิต

จัดค่ายสร้างความสัมพันธ์ภายในครอบและเชื่อมร้อยความสัมพันธ์กับครอบครัวอื่นๆ 2 วัน 1 คืน มีสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 12 ครอบครัว เป็นทั้งครอบครัวกลุ่มเสี่ยงยาเสพติดและครอบครัว กลุ่มเด็กเรียนและกลุ่มที่ว่างงาน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 22 คน กิจกรรมที่ทางวิทยากรจัดให้ ประกอบด้วย 1) การให้ความเรื่องรู้บทบาทหน้าที่(พ่อ แม่ ลูก) การสื่อสาร เพศศึกษา 2.กิจกรรมครอบครัวสัมพันธ์ การใช้เวลาร่วมกันในครอบครัว การเปิดใจของสมาชิกในครอบครัว แบ่งกลุ่มครัวครัวทำกิจกรรมร่วมและนำมาเล่าถึงผลที่ได้ แบ่งกลุ่มลูกและ พ่อแม่ย่ายาย ให้ทุกคนสะท้อนความรู้สึกของตนเองสิ่งไหนชอบและไม่ชอบ และปรับเข้าหากัน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

จากการประเมินพบว่าสมาชิกครอบครัวมีความอบอุ่น มีความรัก ความสามัคคี และที่สำคัญทุกคนมีความสุขในการเข้าค่ายและปฏิญานตน จะเป็นเด็กดีคนดีของชุมชน ไม่ยุ่งเกี่ยวยาเสพติดและอบายมุข

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

 

54,000.00 95,000.00 30 22 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ครอบครัวมีความอบอุ่น มีความรัก ความสามัคคี

 

54,000.00 0.00 30 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สมาชิกแต่ละครอบครัวได้มีโอกาสอยู่ร่วมกัน พูดคุยและเปิดใจซึ่งกันและกัน ทำให้กิจกรรมที่จัดขึ้นในครั้งนี้ พ่อ แม่ ลูก ได้มีโอกาสแสดงความรู้สึกของตนต่อกัน เป็นบรรยากาศที่หายากในชุมชน แต่เกิดขึ้นในช่วงเข้าค่าย 2 วัน 1 คืน และอาจต่อเนื่องไปเมื่อกลับไปสู่ครอบครัว

เยาวชน  31 คน ผู้ปกครอง 4 คน

15,000.00 15,000.00 30 35 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดข้อตกลงร่วมกันในการชุมชน 

กิจกรรมหลัก : ประชุมติดตามประเมินผลi

11,200.00 14 ผลผลิต

คณะกรรมการโครงการมีการประชุมติดตามผลการดำเนินงานทุกเดือน 6 เดือน มีการนำเสนอผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ปรึกษา และหารือเรื่องการกิจกรรมที่ต้องดำเนินการต่อตามแผน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

มีการปรับกิจกรรมที่ไม่เป็นไปตามแผนแต่อยู่ภายใต้แผนปฏิบัติงาน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 11 ครั้ง

 

1,120.00 0.00 14 14 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้แนวทางในการทำกิจกรรม กรรมการมีส่วมร่วมในการวางแผนกิจกรรม

 

1,120.00 1,120.00 14 14 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการสรุปผลการดำเนินงานของกิจกรรมที่ผ่านมาจากเวทีลานชุมชนคนสามวัยโดยมีการเสวนาที่มีสมาชิกประกอบด้วยผู้รับผิดชอบโครงการ ตัวแทนเยาวชน/ตัวแทนผู้สูงอายุและตัวแทนวัยทำงานขึ้นเวทีกล่าวถึงมุมมองของแต่ะละคนในเรื่องการวิเคราะห์ปัญหาชุมชน/การจัดทำแผนชุมชน/และความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน ซึ่งสมาชิกชุมชนให้ความสนใจและร่วมเรียนรู้จากเวทีเสวนาและนิทรรศการที่จัดขึ้น รวมทั้งร่วมเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติดและอบายมุข ปัญหาการคมนาคม ปัญหาการขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคและเรื่องลานกีฬา เพื่อนำเสนอสมาชิกชุมชนให้ได้รับทราบโดยทั่วกัน

 

1,120.00 1,120.00 34 34 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมประชุมทั้ง 34 คน ร่วมกันสรุปผลการจัดค่ายครอบครัวอบอุ่น จำนวน 2 วัน 1 คืน ที่ได้รับผลเกินคาดทำให้ครอบครัวพ่อแม่ลูก ได้มีโอกาสแสดงความรู้สึกของกันและกัน ทำให้ทุกครอบครัวได้ทราบว่าสิ่งไหนลูกไม่ชอบและอยากให้พ่อแม่ปรับเปลี่ยน ซึ่งทีมงานได้จัดทำเป็นข้อสรุปของชุมชนและแจกจ่ายให้ครัวเรือนได้ใช้เป็นข้อเตือนใจ นอกจากนี้ยังได้รับความรู้ด้านการสร้างความสัมพันธ์ ความอบอุ่นของครอบครัว เป็นต้น

 

1,120.00 1,120.00 14 14 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการโครงการร่วมกันหารือแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดนตรีพื้นบ้านให้แก่สมาชิกชุมชนโดยสรุปใช้กลุ่มเยาวชนและผู้สูงอายุเข้าร่วมเรียนรู้

 

1,120.00 1,120.00 14 14 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการลงมติร่วมกับสมาชิกชุมชนในการจัดกิจกรรมเรียนรู้เรื่องดนตรีพื้นบ้าน โดยสรุปเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนกลองยาว การจัดหาวิทยากรและเตรียมการรับสมัครผู้เข้าร่วมเรียนรู้ ตั้งเป้าไว้ที่ 30 คน เรียนรู้ในช่วงเดือนตุลาคม 56

คณะทำงาน

1,120.00 1,120.00 14 9 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลติดตาม การดำเนินงานที่ผ่านมา

คณะทำงาน

1,120.00 1,120.00 14 14 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้แผนงาน  และแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของคณะทำงาน

คณะทำงาน  จำนวน 13 คน

1,120.00 1,120.00 14 13 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา  และแนวทางการดำเนินงาน

คณะกรรมการ  11 คน

1,120.00 1,120.00 14 11 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วางแผนงานกิจกรรมการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อเผยแรพ่ผลการดำเนินงาน  ได้แก่ ป้ายครอบครัวอบอุ่น  ป้ายชุมชนปลอดหนี้  ป้ายศูนย์เรียนรู้  และแผ่นพับข้อมูลผลงานชุมชน ในวันที่ 8 มีนาคม 2557

กรรมการโครงการ จำนวน 13 คน

1,120.00 1,120.00 14 13 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทราบผลความก้าวหน้าของโครงการ  และกิจกรรมต่างๆที่ต้องทำตามแผน

พี่เลี้ยงลงพื้นที่ติดตามการจัดกิจกรรมของชุมชนตามแผนปฏิบัติการของโครงการ

500.00 0.00 3 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี่เลี้ยงลงพื้นที่ร่วมทำบุญตักบาตรและร่วมเป็นกรรมการการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน และให้กำลังใจกลุ่มคนสามวัยในการแข่งขันกีฬา การสาธิตการทำขนมไทยๆ ให้ลูกหลานได้ร่วมกิจกรรม อย่างขนมจากเด็กช่วยตัก ช่วยห่อ ช่วยปิ้ง และช่วยกินกันทั้งๆที่ไม่สุก(สุกไม่ทันคนกิน) จากการสังเกตุทุกคนมีความสุข โดยเฉพาะคนสูงวัยอย่างป้าหีต ป้านา ป้าหมายและลุงๆทั้งหลายดูจะสนุกกว่ากลุ่มเด็กๆ

กิจกรรมหลัก : ปฐมนิเทศโครงการi

10,000.00 2 ผลผลิต

คณะกรรมการโครงการเข้าร่วมปฐมนิเทศโครงการกับสจรส.และสสส.จำนวน 1 ครั้ง และเข้ารับการติดตามประเมินผลโครงการร่วมกับ สจรส.และพี่เลี้ยงจำนวน 3 ครั้ง


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ผลการดำเนินงานไม่ต่อเนื่องการรายงานไม่เป็นไปตามงวดงานเนื่องจากพื้นที่ไม่มีระบบอินเตอร์เน็ตต้องอาศัยหน่วยบริการสาธารณสุขซึ่งไม่ค่อยมีเวลาให้ได้ใช้ ทำให้การรายงานไม่มีคุณภาพเท่าที่ควร

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 3 ครั้ง

 

10,000.00 4,610.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้รับความรู้เรื่องการจัดทำรายงานการเงิน/บัญชีการลงรายงานทางแว็บไซด์คนใต้สร้างสุข

 

10,000.00 0.00 2 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะกรรมการ เข้ารับฟังการบรรยายถึงการปฏิบัติการตามแผนของโครงการและระบบการรายงานทางระบบ(ทางเว็บไซด์)ที่ปรับปรุงใหม่ และเงื่อนไขของการลงรายงาน และให้ปฏิบัติการลงรายงานจริง 

 

3,560.00 3,560.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการโครงการลงระบบรายงานงวดที่ 1 เป็นปัจจุบันและ รวบรวมรายงานส่งให้ สจรส.มอ.

กิจกรรมหลัก : จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่i

1,000.00 2 ผลผลิต

จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์พื้นที่ปลอดบุหรี่ จำนวน 2 ป้าย ได้แก่ป้ายเขตปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

สมาชิกในชุมชนมีมติร่วมกันในการไม่สูบบุหรี่หรือดื่มแอลกอฮอล์ในบริเวณที่จัดกิจกรรม

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

คณะทำงานโครงการ

1,000.00 1,000.00 2 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ชุมชนมีป้ายเพื่อแสดงสัญลักษณ์สถานที่นี้ปลอดบุหรี่ สำหรับติดตั้งในชุมชน/สถานที่ในการกิจกรรมโครงการ

กิจกรรมย่อย: i

คณะกรรมการโครงการ 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

คณะกรรมการโครงการประชุมสรุปผลการจัดกิจกรรมที่ผ่านมาเดือนละ 1 ครั้ง

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

คณะกรรมการโครงการทั้งชุดร่วมประชุมหารือและสรุปผลตามกิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้น

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

คณะกรรมการร่วมกันประเมินผลการจัดกิจกรรมที่ผ่านมาที่ค่อนข้างไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้เนื่องจากสมาชิกเมื่อปลดและลดหนี้ได้ไม่ค่อยให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมในกิจกรรมเท่าที่ควร ซึ่งผู้ใหญ่มล ซึ่งเป็นหนึ่งในคณะกรรมการเสนอแนวคิดเห็นว่าจะต้องปรับวิธีการเสียใหม่ ในขณะที่พี่หมายซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการมีแนวคิดว่าตนเองอาจต้องบริหารจัดการใหม่ อาจต้องให้ผู้ใหญ่ออกหน้า วรรณาตามและค่อยมาที่พี่หมาย แต่อย่างไรก็ตามคณะกรรมการทั้งหมดก็จะร่วมกันสู้ต่อไป เพื่อแหลมยางนาน่าอยู่

กิจกรรมย่อย: i

เยาวชนและกลุ่มคนสามวัย 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

สมาชิก/เยาวชน ที่เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 80 คน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

กลุ่มนักเรียน นักศึกษา เข้าร่วมทำกิจกรรมของชุมชน เช่นเรียนรู้เรื่องประชาคมอาเซียน นิทรรศการเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

กลุ่มเยาวชนจากโรงเรียน(บ้านปหลมยางนา)และสถาบันการศึกษาเอกชน(ชุมพรบริหารธุรกิจ) ให้ความสำคัญในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง เข้าร่วมเรียนรู้ ร่วมกับสมาชิกชุมชน ซักถามถึงการจัดกิจกรรมและที่มาของกิจกรรมค่อนข้างวุ่นวาย แต่ในขณะที่รับฟังการให้ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียนที่ทุกคนตั้งใจฟัง อาจมีงงเพราะไม่ค่อยมีใครซักถามวิทยากรสักเท่าไร เป็นบรรยายกาศที่เป็นกันเอง

กิจกรรมย่อย: i

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะกรรมการ 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

คณะกรรมการโครงการ เข้าร่วมกิจกรรมตลอดระยะเวลาที่กำหนด

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะกรรมการ 2 คนเข้าร่วมรับการปฐมนิเทศโครงการและระบบรายงาน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะกรรมการโครงการเข้าร่วมปฐมนิเทศ รับทราบเรื่องการจัดทำรายงาน การจัดทำบัญชีและการลงข้อมูลต่างในเว็บไซด์ และปฏิบัติการลงข้อมูลจริงของโครงการ โดยมีพี่เลี้ยงคอยตรวจสอบและให้คำชี้แนะ

กิจกรรมย่อย: i

สมาชิกชุมชน จำนวน 30 ครอบครัว 0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

สมาชิกครัวเรือนชุมชน เข้าร่วมกิจกรรมและมีการปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมที่ดีต่อกัน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

สมาชิกชุมชนที่ประกอบด้วย พ่อ แม่ ลูก ตา ยาย ปู่ ย่า เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 22 ครอบครัวเข้าร่วมกิจกรรมเชื่อมร้อยความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัวและสมาชิกในชุมชน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

สมาชิกชุมที่บางครอบครัวมีครบทั้ง พ่อ แม่ ลูก อย่างครอบครัวผู้ใหญ่มล ถึงแม้บางช่วงผู้ใหญ่ต้องวิ่งไปประชุมที่บ้านถัดไปบ้าง แต่การเข้าร่วมกิจกรรมไม่ขาด(วิ่งไป-วิ่งมา) ครอบครัวของน้องนา ที่มีทั้งลูก หลาน ลูกเขย ครอบครัวน้องฟองที่มีครบ พ่อ แม่ ลูก เช่นเดียวกับครอบครัวน้องหมายผู้รับผิดชอบโครงการ ในขณะที่บางครอบครัวมียายและหลาน บางครอบครัวมีย่า หลานและลูก แต่ในภาพรวมค่อนข้างสมบูรณ์ ในช่วงของการทำกิจกรรมทุกคนมีส่วนร่วมช่วยกันคนละไม้คนละมือ และในช่วงของการเปิดใจทำให้เห็นความซาบซึ้งของสมาชิกครอบครัวที่บางครอบครัวไม่เคยกอดกัน ไม่เคยกินข้าวด้วยกัน ไม่เคยมีเวลาร่วมกันในการแสดงความคิดเห็น ได้เห็นน้ำตาของครอบครัวที่หลั่งออกมาด้วยความสุข เวทีนี้ ทำให้ผู้ที่เป็นพ่อแม่ ได้รับทราบว่าสิ่งที่ลูกไม่ชอบไม่ต้องการคืออะไร ในขณะที่ลูกก็ได้รับทราบว่าพ่อแม่รักและเป็นห่วงตัวเองขนาดไหน ทุกครอบครัวคิดว่าเวลาในการอยู่ร่วมน่าจะมากกว่านี้ อาจจะเป็น 3 วัน 2 คืน ซึ่งผู้รับผิดชอบโครงการเสนอให้จัดกันเองที่บ้าน เนื่องจากงบประมาณมีจำกัด

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ประชาชนในชุมชนเข้าร่วมรับทราบข้อมูลโครงการ แผนการจัดกิจกรรมอย่างครอบคลุม

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

จัดประชุมชี้แจงรายละเอียดของโครงการต่อยอดปี 2 แก่สมาชิกชุมชนมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 140 คน เป็นคณะกรรมการโครงการและพี่เลี้ยงร่วมให้ข้อมูลรายละเอียดของโครงการแก่สมาชิกชุมชนทั้งเก่า/ใหม่(ผู้นำชุมชน/แกนนำด้านสุขภาพ/ผู้สนใจ)และร่วมตอบข้อซักถาม

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

ประชาชนให้สนใจและรัร่วมแสดงความคิดเห็นในเรื่องการจัดพื้นที่ศาลาเอนกประสงค์ของหมู่บ้านให้เป็นศูนย์เรียนรู้ เป็นลานชุมชนคนสามวัย โดยให้ปรับปรุงให้มีบรรยากาศที่เหมาะแก่การทำกิจกรรมโดยเฉพาะของกลุ่มคนสามวัย

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

คณะกรรมการเข้าร่วมประชุมอย่างพร้อมเพรียงและต่อเนื่อง 2 ครั้ง

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

คณะกรรมการ จำนวน 14 คน เข้าร่วมประชุมติดตามโครงการเพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมครอบครัวอบอุ่น ในวันที 6 พ.ค. และ 26 มิ.ย.56

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

คณะกรรมการร่วมประชุมและสรุปการจัดกิจกรรมครอบครัวอบอุ่นในระหว่างวันที่ 29-30 มิถุนายน 2556

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

มีผลการประเมินที่มีประสิทธิภาพ

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

คณะกรรมการโครงการร่วมกับตัวแทนครอบครัวอบอุ่นและครอบครัวต้นแบบร่วมกันจัดประชุมทบทวนและประเมินผลการจัดกิจกรรมครอบครัวอบอุ่น

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การสรุปผลการจัดกิจกรรมจากสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม ทุกคนมีความสุขและให้ความร่วมมือในกิจกรรมเป็นอย่างดี ส่งผลให้เกิดการรวมตัวของกลุ่มเยาวชนสีขาว

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

คณะกรรมการเข้าร่วมประชุมอย่างพร้อมเพรียง

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

คณะกรรมการโครงการร่วมประชุมสรุปผลการดำเนินงานการลงรายงานที่ต้องไปใช้ของเครือข่ายและถ้าเน๊ตเข้าไม่ได้ต้องนำไปลงที่บ้านพี่เลี้ยงและวางแผนการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การลงรายงานยังไม่เรียบร้อยต้องปรับปรุงและลงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ระบบรายงานถูกต้องเป็นปัจจุบัน

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

เอกสารการเงินและการลงรายงานไม่เป็นปัจจุบัน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

การลงข้อมูลและการจัดทำรายงานถูกต้องเป็นปัจจุบัน

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

คณะกรรมการโครงการเข้าร่วมประชุมอย่างพร้อมเพรียง

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

คณะกรรมการเข้าร่วมประชุมและสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาและวางแผนการจัดกิจกรรมให้กลุ่มคนสามวัยได้มีพื้นที่ทำงานร่วมกัน

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

คณะกรรมการมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบที่ชัดเจนในการเตรียมจัดกิจกรรม

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

ผู้เข้าอบรมเชิงสามารถการทำพิมเสน ยาหม่อง และทำขนมไทยได้

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

คนสามวัย 31 คน  เจ้าหน้าที่จาก รพ.สต บ้านสามแยกจำปา เข้าร่วมบรมเชิงปฏิบัติการ การทำยาหม่องและพิมเสนน้ำโดยวิทยากร จาก กศน.อ.ทุ่งตะโก สอนการทำขนมพื้นบ้าน  โดยปราชญ์ชาวบ้าน  ได้แก่นางอุ่นเรือน จันทร์เปี่ยม  นางบุญเยื้อน  คุณศรี  นางลัดดาวัลย์  เกตุแก้ว  นางอารีย์  บูญสนอง

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

กลุ่มคนสามวัยมีการทำกิจกรรมร่วมกัน มีการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

คณะกรรมการโครงการประชุมสรุปผลการดำเนินงานอยางต่อเนื่อง

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

คณะกรรมการ จำนวน 14 คน ร่วมประชุมสรุปผลการจัดกิจกรรมที่ผ่านมาและวางแผนการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

คณะกรรมการมีการสรุปงานอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

กิจกรรมย่อย: i

0.00 0.00 0 0 ผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ :

 

ผลการจัดกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง :

 

สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ :

 

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
เยาวชนสีขาว

จากการที่มีการเข้าค่ายครอบครัวอบอุ่น ทำให้เยาวชนของแต่ละครอบครัวได้มีโอกาสพูดคุญทำกิจกรรมร่วมกันสนิทกันจึงได้รวมกลุ่มกันจัดตั้งเป็นกลุ่มเยาวชนสีขาวเยาวชนกลุ่มนี้จะไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับสิ่งเสพติดและอบายมุข มีจำนวน 10 คน หลังกลับจากค่ายกลุ่มนี้มีแนวคิดที่จะนำน้องๆในโรงเรียนและในชุมชนเข้าร่วมกลุ่มเพื่อช่วยกันดำเนินการเชิญชวนเรียกร้องให้เด็กและเยาวชนสีเทาลด ละ เลิกสิ่งเสพติดและอบายมุขซึ่งขณะนี้กำลังดำเนินการอยู่

กลุ่มเยาวชนก่อการดีในชุมชนที่มีแนวคิดจะขยายเครือข่ายให้ครอบคลุมกลุ่มเยาวชนในชุมชน

2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

จากการได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมครอบครัวอบอุ่น ทำให้ได้เห็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของสมาชิกชุมชนแต่ละครอบครัว ที่เมื่อมาถึงครั้งแรกรู้ตัวว่าถูกปล่อยเกาะก็แสดงอาการไม่พอใจ เมื่อได้เข้าร่วมกิจกรรมละลายพฤติกรรมกลับกลายเป็นเห็นชอบแต่ยังสงวนท่าที เมื่อโดยทีมวิทยากรกระบวนการของครูสุชาติที่สร้างบรรยาศได้อย่างดีเยี่ยม ทำให้เห็นความรู้สึกที่ซ่อนไว้และแสดงออกมาเมื่อมีโอกาสให้แต่ละครอบครัวต้องทำกิจกรรมของครอบครัวจึงได้เห็นความมุ่งมั่นของการมีส่วนร่วม เท่าที่สังเกตแหลมยางนายังมีสิ่งดีๆที่ซ่อนไว้อีกเยอะที่ไม่นำมาใช้ คิดว่าสมาชิกคงค้นพบเช่นเดียวกัน

สร้างรายงานโดย parben