แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 2

รหัสโครงการ 56-00262
สัญญาเลขที่ 56-00-0472

ชื่อโครงการ โครงการแหลมยางนาพึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง(ต่อยอด)
รหัสโครงการ 56-00262 สัญญาเลขที่ 56-00-0472
ระยะเวลาตามสัญญา 1 มิถุนายน 2013 - 31 พฤษภาคม 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางเบญจา รัตนมณี
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นายยุทธนา รัตนมณี
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 6 มิถุนายน 2013
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 31 พฤษภาคม 2014
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นายวิมล เจริญสุข 38/1 หมู่ที่ 4 ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 08 9023 6089
2 นางธิดารัตน์ สังข์ช่วย 99 หมู่ที่ 4 ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 08 9724 1984
3 นางวรรณา รวดเร็ว 80/2 หมู่ที่ 4 ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 08 1083 0099
4 นางฟอง เหวียดแป้น 81/2 หมู่ที่ 4 ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 08 1539 0933
5 นางอรวรรณ นาคเกษม 80/2 หมู่ที่ 4 ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 08 1083 0099

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

  1. สร้างครอบครัวและชุมชนให้อบอุ่น

1.1 มีลานชุมชนคนสามวัย

1.2 เกิดครอบครัวอบอุ่นต้นแบบ  ร้อยละ 70

2.

ครัวเรือนปลอดหนี้

2.1 ครัวเรือนมีการจัดทำบัญชีครัวเรือนครอบคลุมทุกหลังคาเรือน

2.2 สมาชิกชุมชนมีการออมเพิ่มขึ้น

2.3 มีศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

3.

จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการต่อยอดและขยายผลการดำเนินงาน

3.1 มีการสรุปรายงานที่ถูกต้อง

3.2 มีข้อเสนอเชิงนโยบายสู่การต่อยอดและขยายผลการดำเนินงาน

4.

เพื่อสนับสนุนการบริหารและดำเนินงานของโครงการ

4.1 โครงการเข้าร่วมการประชุมกับทางสสส. /สจรส.ม.อ.

4.2 มีรายงานความก้าวหน้า และรายงานฉบับสมบูรณ์ส่งสสส.

4.3 มีการถ่ายภาพตลอดโครงการ มีป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำบัญชีครัวเรือนi

6,600.00 56 ผลผลิต

จัดประชุมให้ความรู้เรื่องการทำบัญชีครัวเรือนและให้สมาชิกทดลองลงข้อมูลในบัญชีครัวเรือน มีสมาชิกที่เหลือจากโครงการรอบแรกเข้าร่วม จำนวน 42 คน(ครัวเรือน) ทุกคนฝึกลงข้อมูลเพื่อกลับไปทำต่อของตนเองที่บ้าน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

จากการดำเนินการรอบแรกไม่ครอบคลุม 100 % ของครัวเรือนทั้งหมด การดำเนินงานปี 2 ครัวเรือนให้ความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมครบ 100 % ส่งผลให้สมาชิกชุมชนสามารถลดและปลดหนี้ได้

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ครัวเรือนที่เหลือ  42  ครัวเรือน  กรรมการ 14 คน

6,600.00 6,600.00 56 56 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จำนวนครัวเรือนที่เข้าร่วมการทำบัญชีครัวเรือน  42  ครัวเรือน 

กิจกรรมหลัก : สร้างความสัมพันธ์ของครอบครัวและชุมชนi

19,000.00 150 ผลผลิต

กิจกรรมต่างๆที่จัดขึ้นทำให้ครอบครัวและชุมชนเกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ประกอบด้วย 1) กิจกรรมทำบุญตักบาตร พระและสามเณร จำนวน 45 รูป 2) กิจกรรมรดน้ำ ขอพรผู้สูงอายุในชุมชน  จำนวน  20 คน 3) กิจกรรมแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน  โดยการมีส่วนร่วมของสมาชิกกลุ่มคนสามวัย ในชุมชนและเครือข่ายต่างๆ เช่น อบต.ตะโก  รพ.สต.บ้านสามแยกจำปา ชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มต่างๆในชุมชน  กีฬาพื้นบ้าน ประกอบด้วย วิ่งกระสอบ  ลากกาบหมาก  วิ่งพลัดซุปเปอร์เกิล  กินวิบาก  อุ้มลูกตามเมีย  เก้าอี้ดนตรี จำนวน 94 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

หลังจากทำกิจกรรม ส่งผลให้เยาวชนและกลุ่มวัยทำงานมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรม  ออกกำลังกายที่สนามกีฬาโรงเรียนบ้านแหลมยางนาทุกเย็น ผู้สูงอายุมีการออกกำลังกายด้วยการเดินในสนามโรงเรียนและเล่นฮูล่าฮูบต่อเนื่องที่บ้าน ส่วนความสัมพันธ์ในครอบครัว  มีการใช้เวลาร่วมกันมากขึ้นในการทำกิจกรรมของครอบครัว

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 1 ครั้ง

ประชาชนทั่วไป  กรรมการหมู่บ้าน  อสม.  นักเรียน เยาวชน  ผู้สูงอายุ  เจ้าหน้าที่ขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น  จำนวน  159 คน

19,000.00 19,000.00 150 159 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-หลังจากทำกิจกรรม  เยาวชนและกลุ่มวัยทำงานมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรม  ออกกำลังกายที่สนามกีฬาโรงเรียนบ้านแหลมยางนาทุกเย็น
-ส่วนผู้สูงอายุมีการเล่นฮูล่าฮูบต่อเนื่องที่บ้าน -ความสัมพันธ์ในครอบครัว  มีการใช้เวลาร่วมกันมากขึ้นในการทำกิจกรรม

กิจกรรมหลัก : สร้างความเข้าใจเรื่องการออมi

0.00 100 ผลผลิต

สร้างความเข้าใจเรื่องการออมแก่สมาชิกใหม่ จำนวน 42 คน จาก 42 ครัวเรือน และแนะนำให้สมัครเข้าร่วมโครงการออมวันละบาท ส่งผลให้ครอบคลุมร้อยละ 100 ของชุมชน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

สมาชิกชุมชนที่สมัครเข้าร่วมโครงการใหม่ร่วมเป็นสมาชิกออมวันละบาทครอบคลุมทุกครัวเรือน และสามารถลดและปลดหนี้ได้

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

ครัวเรือนที่เหลือ 42 คน

0.00 0.00 42 42 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้สมาชิกใหม่ จำนวน 42 ครัวเรือน

กรรมการ ประชาชนทั่วไป เยาวชน จำนวน 27 คน

0.00 3,600.00 25 27 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดศูนย์เรียนรู้ที่สามารถ  ศึกษาหาความรู้ไ้ด้จริงในชุมชน

กิจกรรมหลัก : ประชุมติดตามประเมินผลi

11,200.00 14 ผลผลิต

คณะกรรมการโครงการมีการประชุมติดตามผลการดำเนินงานทุกเดือนมีการนำเสนอผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ปรึกษา และหารือเรื่องการกิจกรรมที่ต้องดำเนินการต่อตามแผน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

มีการปรับกิจกรรมที่ไม่เป็นไปตามแผนแต่อยู่ภายใต้แผนปฏิบัติงาน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 11 ครั้ง

 

1,120.00 0.00 14 14 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้แนวทางในการทำกิจกรรม กรรมการมีส่วมร่วมในการวางแผนกิจกรรม

 

1,120.00 1,120.00 14 14 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการสรุปผลการดำเนินงานของกิจกรรมที่ผ่านมาจากเวทีลานชุมชนคนสามวัยโดยมีการเสวนาที่มีสมาชิกประกอบด้วยผู้รับผิดชอบโครงการ ตัวแทนเยาวชน/ตัวแทนผู้สูงอายุและตัวแทนวัยทำงานขึ้นเวทีกล่าวถึงมุมมองของแต่ะละคนในเรื่องการวิเคราะห์ปัญหาชุมชน/การจัดทำแผนชุมชน/และความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน ซึ่งสมาชิกชุมชนให้ความสนใจและร่วมเรียนรู้จากเวทีเสวนาและนิทรรศการที่จัดขึ้น รวมทั้งร่วมเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติดและอบายมุข ปัญหาการคมนาคม ปัญหาการขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคและเรื่องลานกีฬา เพื่อนำเสนอสมาชิกชุมชนให้ได้รับทราบโดยทั่วกัน

 

1,120.00 1,120.00 34 34 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เข้าร่วมประชุมทั้ง 34 คน ร่วมกันสรุปผลการจัดค่ายครอบครัวอบอุ่น จำนวน 2 วัน 1 คืน ที่ได้รับผลเกินคาดทำให้ครอบครัวพ่อแม่ลูก ได้มีโอกาสแสดงความรู้สึกของกันและกัน ทำให้ทุกครอบครัวได้ทราบว่าสิ่งไหนลูกไม่ชอบและอยากให้พ่อแม่ปรับเปลี่ยน ซึ่งทีมงานได้จัดทำเป็นข้อสรุปของชุมชนและแจกจ่ายให้ครัวเรือนได้ใช้เป็นข้อเตือนใจ นอกจากนี้ยังได้รับความรู้ด้านการสร้างความสัมพันธ์ ความอบอุ่นของครอบครัว เป็นต้น

 

1,120.00 1,120.00 14 14 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการโครงการร่วมกันหารือแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดนตรีพื้นบ้านให้แก่สมาชิกชุมชนโดยสรุปใช้กลุ่มเยาวชนและผู้สูงอายุเข้าร่วมเรียนรู้

 

1,120.00 1,120.00 14 14 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะกรรมการลงมติร่วมกับสมาชิกชุมชนในการจัดกิจกรรมเรียนรู้เรื่องดนตรีพื้นบ้าน โดยสรุปเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนกลองยาว การจัดหาวิทยากรและเตรียมการรับสมัครผู้เข้าร่วมเรียนรู้ ตั้งเป้าไว้ที่ 30 คน เรียนรู้ในช่วงเดือนตุลาคม 56

คณะทำงาน

1,120.00 1,120.00 14 9 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลติดตาม การดำเนินงานที่ผ่านมา

คณะทำงาน

1,120.00 1,120.00 14 14 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้แผนงาน  และแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของคณะทำงาน

คณะทำงาน  จำนวน 13 คน

1,120.00 1,120.00 14 13 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา  และแนวทางการดำเนินงาน

คณะกรรมการ  11 คน

1,120.00 1,120.00 14 11 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วางแผนงานกิจกรรมการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อเผยแรพ่ผลการดำเนินงาน  ได้แก่ ป้ายครอบครัวอบอุ่น  ป้ายชุมชนปลอดหนี้  ป้ายศูนย์เรียนรู้  และแผ่นพับข้อมูลผลงานชุมชน ในวันที่ 8 มีนาคม 2557

กรรมการโครงการ จำนวน 13 คน

1,120.00 1,120.00 14 13 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทราบผลความก้าวหน้าของโครงการ  และกิจกรรมต่างๆที่ต้องทำตามแผน

พี่เลี้ยงลงพื้นที่ติดตามการจัดกิจกรรมของชุมชนตามแผนปฏิบัติการของโครงการ

500.00 0.00 3 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี่เลี้ยงลงพื้นที่ร่วมทำบุญตักบาตรและร่วมเป็นกรรมการการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน และให้กำลังใจกลุ่มคนสามวัยในการแข่งขันกีฬา การสาธิตการทำขนมไทยๆ ให้ลูกหลานได้ร่วมกิจกรรม อย่างขนมจากเด็กช่วยตัก ช่วยห่อ ช่วยปิ้ง และช่วยกินกันทั้งๆที่ไม่สุก(สุกไม่ทันคนกิน) จากการสังเกตุทุกคนมีความสุข โดยเฉพาะคนสูงวัยอย่างป้าหีต ป้านา ป้าหมายและลุงๆทั้งหลายดูจะสนุกกว่ากลุ่มเด็กๆ

กิจกรรมหลัก : จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่i

3,600.00 100 ผลผลิต

จัดทำมาตรการ ปฎิญญาครอบครัวชุมชนในการปฏิบัติตัวของกลุ่มเด็กและเยาวชนในชุมชน  เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติและอบอุ่น จำนวน 10 ป้าย


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชุมชนมีมาตรการร่วมของครัวเรือนในการปฏิบัติตนของเด็กและเยาวชนที่เด็ก เยาวชน ครอบครัวและชุมชนมีมติร่วมกัน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 0 ครั้ง

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

การปฏิบัติงานของกลุ่มคนสามวัยที่มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน ในขณะที่ชุมชนต้องมีการสนับสนุนและเสริมกำลังใจให้คนกลุ่มนี้ เช่นมีการยกย่องเชิดชูในการประชุมของชุมชน หรือสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ให้ตามสมควร

สร้างรายงานโดย Nongluk_R