แบบบันทึกการติดตามสนับสนุนโครงการ ครั้งที่ 3

รหัสโครงการ 56-00262
สัญญาเลขที่ 56-00-0472

ชื่อโครงการ โครงการแหลมยางนาพึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง(ต่อยอด)
รหัสโครงการ 56-00262 สัญญาเลขที่ 56-00-0472
ระยะเวลาตามสัญญา 1 มิถุนายน 2013 - 31 พฤษภาคม 2014

ส่วนที่ 1 : ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม

1.1 ข้อมูลเบื้องต้นการติดตาม
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 1 นางเบญจา รัตนมณี
ชื่อสกุลผู้ติดตาม 2 นายยุทธนา รัตนมณี
วันที่ลงพื้นที่ติดตาม 31 พฤษภาคม 2014
วันที่ส่งรายงานถึง สสส. 31 พฤษภาคม 2014
1.2 ผู้ให้ข้อมูล
ลำดับชื่อ-สกุลผู้ให้ข้อมูลที่อยู่หมายเลขโทรศัพท์
1 นางธิดารัตน์ สังข์ช่วย 99 หมู่ที่ 4 ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 08 9724 1984
2 นายวิมล เจริญสุข 38/1 หมู่ที่ 4 ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 08 9023 6081
3 นางวรรณา รวดเร็ว 80/2 หมู่ที่ 4 ตำบลตะดก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 08 1083 0099
4 นางฟอง เหวียดแป้น 81/2 หมู่ที่ 4 ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 08 1539 0933
5 นางอรวรรณ นาคเกษม 80/2 หมู่ที่ 4 ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร 08 1083 0099

ส่วนที่ 2 : ข้อมูลโครงการและความก้าวหน้าการดำเนินงาน

2.1 วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดความสำเร็จโครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1.

  1. สร้างครอบครัวและชุมชนให้อบอุ่น

1.1 มีลานชุมชนคนสามวัย

1.2 เกิดครอบครัวอบอุ่นต้นแบบ  ร้อยละ 70

2.

ครัวเรือนปลอดหนี้

2.1 ครัวเรือนมีการจัดทำบัญชีครัวเรือนครอบคลุมทุกหลังคาเรือน

2.2 สมาชิกชุมชนมีการออมเพิ่มขึ้น

2.3 มีศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

3.

จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการต่อยอดและขยายผลการดำเนินงาน

3.1 มีการสรุปรายงานที่ถูกต้อง

3.2 มีข้อเสนอเชิงนโยบายสู่การต่อยอดและขยายผลการดำเนินงาน

4.

เพื่อสนับสนุนการบริหารและดำเนินงานของโครงการ

4.1 โครงการเข้าร่วมการประชุมกับทางสสส. /สจรส.ม.อ.

4.2 มีรายงานความก้าวหน้า และรายงานฉบับสมบูรณ์ส่งสสส.

4.3 มีการถ่ายภาพตลอดโครงการ มีป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่

2.2 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมายงบประมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงปริมาณผลการจัดกิจกรรมเชิงคุณภาพ/สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ
ที่ตั้งไว้(บาท)เกิดขึ้นจริง(บาท)จำนวนที่ตั้งไว้(คน)จำนวนเกิดขึ้นจริง(คน)

กิจกรรมหลัก : จัดเวทีสรุปผลการดำเนินงานi

6,000.00 100 ผลผลิต

จัดเวทีสรุปผลการดำเนินงาน 1) มีการนำเสนอผลงานโครงการ อาทิ - กิจกรรมลดและปลดหนี้ ซึ่งผลจากดำเนินการทำให้สมาชิกลดและปลดหนี้ได้ พร้อมกับการเข้าร่วมการออมวันละบาทที่ครอบคลุมทุกครัวเรือน - เวทีคนสามวัยที่ทำให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีของชุมชน - กิจกรรมครอบครัวอบอุ่นที่สร้างความเข้าใจของสมาชิกในครัวเรือน ส่งผลให้เยาวชนมีกิจกรรมยามว่าง เกิดกลุ่มแกนนำเยาวชนสีขาว - มีข้อเสนอเชิงนโยบาย ที่ขยายตัวเป็นธรรมนูญสุขภาพบ้านแหลมยางนา - มีข้อเสนอต่อชุมชนท้องถิ่นเพื่อการต่อยอด  และขยายผลการดำเนินงานให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน 2) มีการมอบรางวัลครอบครัวอบอุ่น และบุคคลต้นแบบ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้รวมทั้งสิ้น 107 คน ประกอบด้วยประชาชนทั่วไป  37 คน ผู้สูงอายุ  35 คน นักเรียนเยาวชน  20 คน กลุ่ม อสม. 11 คน เจ้าหน้าที่ รพ.สต.  2 คน ครูโรงเรียนบ้านแหลมยางนา  2 คน


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ชุมชนบ้านแหลมยางนาลดและปลดหนี้ได้ค่อนข้างครอบคลุม เกิดข้อตกลงร่วม ที่สามารถใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติของประชาชนในชุมชน

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

ประชาชนทั่วไป  37 คน ผู้สูงอายุ  35 คน นักเรียนเยาวชน  20 คน กลุ่ม อสม. 11 คน เจ้าหน้าที่ รพ.สต.  2 คน ครูโรงเรียนบ้านแหลมยางนา  2 คน

13,024.00 13,024.00 100 107 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดธรรมนูญสุขภาพบ้านแหลมยางนา  เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติของประชาชนในชุมชน

คณะทำงาน/คณะกรรมการหมู่บ้าน/สมาชิกหมู่บ้าน/นักเรียน/ครูกศน.

0.00 0.00 0 0 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานร่วมกันสรุปผลการดำเนินงานตลอดระยะเวลา 1 ปี เพื่อนำเสนอให้คณะกรรมการหมู่บ้าน สมาชิกหมู่บ้าน นักเรียน ครูกศน.และกลุ่มต่างๆในชุมชนได้รับทราบ ซึ่งทำให้ได้รับทราบจากสมาชิกที่เข้าร่วมประชุมเสียงส่วนใหญ่ให้ดำเนินการต่ออีกครั้ง โดยเสนอให้ดำเนินการในกลุ่มเยาวชนและยาเสพติดซึ่งมีปริมาณพอสมควรแต่ไม่สามารถเปิดเผยข้อมูลที่ชัดเจนได้(เกี่ยวข้องกับครอบครัวที่มาร่วมประชุม) สมาชิกต้องการให้ชุมชนนี้เป็นชุมชนปลอดสิ่งเสพติดและอบายมุข โดยต้องไม่ประสานภายในก่อนดำเนินการ

กิจกรรมหลัก : จัดทำสรุปรายงานและรูปเล่ม พร้อมภาพประกอบตลอดโครงการi

2,000.00 5 ผลผลิต

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน 2 คน พบพี่เลี้ยง เพื่อปรึกษาเรื่องข้อสงสัยต่างๆในการดำเนินกิจกรรม การลงรายงานและจัดทำสรุปรายงานและรูปเล่ม พร้อมภาพประกอบตลอดโครงการ


ผลลัพธ์ (สรุปผลงานที่ได้จากการดำเนินงานเชิงคุณภาพ)

ลงข้อมูลรายงานของผู้รับผิดชอบโครงการครอบคลุมทุกรายงาน และจัดทำรูปเล่มส่ง สสส.

keyboard_arrow_downกิจกรรมย่อย 2 ครั้ง

ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 คน

3,000.00 3,000.00 14 2 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผู้รับผิดชอบโครงการและการเงินโครงการ

0.00 0.00 0 10 ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี่เลี้ยงช่วยตรวจสอบเอกสารทางการเงิน รายงานในระบบ พบว่าการลงข้อมูลยังไม่เรียบร้อย เพราะพี่เลี้ยงแนะนำให้พิมพ์ไว้ใน word ก่อนกันสูญหาย ใช้เวลา 1 วันในการทำรายงานและให้พริ้นออกมาจัดทำรูปเล่มเพื่อเตรียมส่งให้ สจรส.มอ.ต่อไป

2.3.1 นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ

(นวัตกรรมคือ การจัดการความคิด กระบวนการ ผลผลิต และ/หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม มาใช้งานให้เกิดประสิทธิผล และ/หรือประสิทธิภาพมากกว่าเดิมอย่างชัดเจน)

ชื่อนวัตกรรมคุณลักษณะ/วิธีการทำให้เกิดนวัตกรรมผลของนวัตกรรม/การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.2 โครงการเด่น (Best Practice)

(โครงการเดิ่น คือ โครงการสร้างเสริมสุขภาพให้สัมฤทธิ์ผลที่เป็นรูปธรรมแล้วขยายผลอย่างยั่งยืน โดยแนวคิดกระบวนการ และผลงาน สามารถเป็นตัวอย่างที่จะนำไปขยายผลในชุมชน (Setting) อื่น ๆ ได้ การดำเนินงานมีส่วนร่วมของภาคีที่หลากหลาย มีการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใสและตรวจสอบได้)

ชื่อ Best Practiceวิธีการทำให้เกิด Best Practiceผลของ Best Practice / การนำไปใช้ประโยชน์
2.3.3 เกิดแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นต่าง ๆ
ชื่อ-สกุลที่อยู่ติดต่อได้สะดวกคุณสมบัติแกนนำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
นายโกศล ณ พัทลุง/นายสำราญ พัฒนาขา/นายวิมล เจริญสุข เป็นต้น บ้านเลขที่ 38/1 หมู่ที่ 4 ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร

มีสมาชิกชุมชนที่สามารถลด ละ เลิก เหล้า บุหรี่ การพนัน ได้ส่วนหนึ่ง และยังคงใช้ชีวิตทำงานได้เป็นอย่างดี

2.3.4 มีสภาพแวดล้อมและปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพ

เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อสุขภาพในชุมชนพื้นที่โครงการดังนี้

สถานที่/พื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

1.เรื่องอบายมุข แหลมยางนามินิมาร์ท เป็นมินิมาร์ทติดแอร์ที่มีของขายคล้ายร้านเซเว่นเพียงแต่ไม่ขาย 24 ชั่วโมง เป็นร้านปลอดบุหรี่/สุราและยาเสพติด ปลอดปุ๋ยเคมีและยาฆ่าแมลง

1.เรื่องอบายมุข นายโกศล ณ พัทลุง เป็นเจ้าของร้านมินิมาร์ทติดแอร์ โกศล เล่าให้ฟังว่า ว่าเดิมเป็นร้านขายของชำธรรมดาที่ขายทุกอย่าง ของใช้อุปโภคบริโภค ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง ฯลฯ และตั้งแต่มีโครงการสสส.เข้ามาเมื่อปี 54 ตนได้รับรู้เรื่องราวด้านสุขภาพ ทำให้กลับมาดูสินค้าในร้าน และพบว่ามีสินค้าหลายอย่างที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพคนในชุมชน ทำให้ตน เริ่มลดสินค้าเสี่ยงที่สำคัญๆ เช่น บุหรี่และสุรา โดยเฉพาะสุราเมื่อคนซื้อไปดื่มที่ไร ไม่เกิดอุบัติเหตุก็เกิดความรุนแรงในครอบครัว และอีกประเภทที่เปลี่ยนแปลงคือ ปุ๋ยเคมี เปลี่ยนมาขายปุ๋ยอินทรีย์และเป็นต้นแบบใช้เองด้วย มีโกดังเก็บปุ๋ยแยกจากมินิมาร์ท เขามองว่าเป็นเพราะเขาขายสินค้าเหล่านั้นให้ จึงเกิดเหตุต่างๆ เขาได้รับบาป จึงเลิกขายใหม่ๆภรรยาไม่เข้าใจทะเลาะกันบ้างเพราะความไม่เข้าใจ สิ่งที่เลิกขายมันคือกำไร ปัจจุบันเข้าใจและให้กำลังใจ

2.เรื่องครอบครัวอบอุ่น มีครอบครัวที่มีความอบอุ่นขึ้นเมื่อได้เปิดใจร่วมกัน 20 ครอบครัว

2.เรื่องครอบครัวอบอุ่น ป้าหีต หรือนางอารีย์ พัฒนาขา เล่าให้ฟังว่าตั้งแต่ป้าและครอบครัวกลับจากการเข้าค่าย ป้ามีความสุขมาก จากที่เคยอยู่คนเดียว ปัจจุบันลูกชาย/ลูกสะใภ้และหลานจะเข้ามาที่บ้านป้าทุกวัน มาทำอาหารรับประทานกัน และจะมานอนเป็นเพื่อนเสาร์/อาทิตย์ หลานๆ ก่อนไปโรงเรียนจะมาไหว้ทุกวัน ป้ามีความสุขมาก ป้าบอกว่าไม่เหงา ป้าบอกว่าอยากให้มีกิจกรรมดีๆแบบนี้อีก อยากให้ทุกครอบครัวรักกันมากๆครอบครัวจะได้อบอุ่น คนแก่จะได้ไม่เหงา

ส่วนที่ 3 : ปัญหาและอุปสรรคสำคัญที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงาน

3.1 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเด็นปัญหา/อุปสรรคการแก้ไขของผู้รับทุนข้อเสนอแนะ/การแก้ไขปัญหาและการเสริมพลังของผู้ติดตาม
3.2 การดำเนินงานกจิกรรม/กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินงาน/การดำเนินงาน/งบประมาณ
ประเภทความเสี่ยง / ปัจจัยเสี่ยงระดับความเสี่ยง
(จากมากไปหาน้อย)
ข้อมูล ข้อสังเกตุ และข้อคิดเห็นของผู้ติดตาม
3210
1. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risks)
1.1 โครงสร้างการดำเนินงาน

 

1.2 ศักยภาพและทักษะการดำเนินงาน

 

1.3 ผลลัพธ์และผลสำเร็จของการดำเนินงาน

 

2. ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks)
2.1 ระบบและกลไกการบริหารจัดการ

 

2.2 การใช้จ่ายเงิน

 

2.3 หลักฐานการเงิน

 

ผลรวม 0 0 0 0
ผลรวมทั้งหมด 0 ระดับความเสี่ยง : ???
เกณฑ์วัดระดับความเสี่ยง ???
สรุปการแก้ไขความเสี่ยง แก้ไขแล้ว ยังไม่ได้แก้ไข

ส่วนที่ 4 : สรุปความเห็นของผู้ติดตาม

ส่วนที่ 4สรุปความเห็นของผู้ติดตาม
4.1 กรณีเบิกเงินงวด/ติดตามเยี่ยมชม มีแนวโน้มสำเร็จตามเป้าหมายโครงการและติดตามปกติ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีแนวโน้มเสี่ยง ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการและสรุปข้อคิดเห็น

 

มีความเสี่ยง ต้องยุติโครงการ เนื่องจาก
4.2 กรณีสรุปปิดโครงการ ดำเนินงานได้ตามแผนปฏิบัติการและสามารถปิดโครงการได้
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ ให้ดำเนินการจัดระบบการเงิน ระบบรายงานให้ถูกต้องก่อนปิดโครงการ
สรุปผลภาพรวมการดำเนินงาน-การเงินโครงการและข้อคิดเห็น

 

ส่วนที่ 5 : สรุปภาพรวมของการติดตามประจำงวด (ข้อสังเกต/สิ่งดีๆ ที่ค้นพบ/ข้อพึงระวัง/บทเรียนที่ได้)

มีร้านมินิมาร์ทปลอดเหล้าปลอดบุหรี่ และปลอดสารเสพติดที่ใช้ทางการเกษตรทุกชนิด เกิดกลุ่มเยาวชนสีขาวที่มีการปฏิบัติการเป็นแบบอย่างด้านดีของชุมชนและชุมชนใกล้เคียง จากเดิม 10 คนขยายเครือข่ายเพิ่มเป็น 30 คนสามารถช่วยดูแลน้องๆในชุมชนให้เป็นคนดี มีมาตรการชุมชนในเรื่องเกษตรอินทรีย์ แกนนำกำลังรวมตัวกันใช้น้ำดีที่พอมีในชุมชนไปเจือจางน้ำเสียให้ลดลงและนี่คือกลวิธีที่สมาชิกแหลมยางนาคิดจะดำเนินการต่อเพื่อให้บ้านแหลมยางนาปลอดสิ่งเสพติดและอบายมุข อยู่อย่างเป็นสุขและดำรงชีวิตด้วยเศรษฐกิจพอเพียง

สร้างรายงานโดย Nongluk_R