directions_run

จากอาหารปลอดภัยสู่เมนูเพื่อสุขภาพ หมู่ที่ 5 ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ จากอาหารปลอดภัยสู่เมนูเพื่อสุขภาพ หมู่ที่ 5 ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง ”

หมู่ที่ 5 ตำบลนาท่อม

หัวหน้าโครงการ
นางปารีณา แขกกาฬ

ชื่อโครงการ จากอาหารปลอดภัยสู่เมนูเพื่อสุขภาพ หมู่ที่ 5 ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

ที่อยู่ หมู่ที่ 5 ตำบลนาท่อม จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 56-02536 เลขที่ข้อตกลง 56 -00-102

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2556 ถึง 30 กันยายน 2557


กิตติกรรมประกาศ

"จากอาหารปลอดภัยสู่เมนูเพื่อสุขภาพ หมู่ที่ 5 ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 5 ตำบลนาท่อม

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
จากอาหารปลอดภัยสู่เมนูเพื่อสุขภาพ หมู่ที่ 5 ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง



บทคัดย่อ

โครงการ " จากอาหารปลอดภัยสู่เมนูเพื่อสุขภาพ หมู่ที่ 5 ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 5 ตำบลนาท่อม รหัสโครงการ 56-02536 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2556 - 30 กันยายน 2557 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 212,400.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 80 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. สร้างและพัฒนากลไกจัดการอาหารปลอดภัยในชุมชน
  2. สร้างกฏกติกาของครัวเรือนอาหารปลอดภัยเพื่อใช้และขยายผลในชุมชน
  3. สร้างเสริมปฏิบัติการการผลิตและคิดค้นเมนูสุขภาพ และขายยผลสู่ชุมชน
  4. ขยายผลสสู่ชุมชน
  5. เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ก1. เวทีเรียนร่วมรู้กิจกรรมโครงการ

    วันที่ 17 ตุลาคม 2556 เวลา 09:00-16 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงาน 20 คน  + แกนนำภาคีร่วมได้แก่ผู้แทนเยาวชน 1 คน , ผู้แทนผู้สูงอายุ 1 คน, ผู้แทน อสม. 1 คน, ผู้แทนผู้ปกครองเด็กใน ศพด. 1 คน,ผู้แทนผู้ป่วยเรื้อรัง 1 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน และแกนนำกลุ่มภาคีที่ร่วมดำเนินการได้ทำความเข้าใจในทุกกิจกรรม ทุกกระบวนการ รับรู้และเข้าใจในการปฏิบัติงาน ข้อตกลงเบื้องต้นของโครงการ  งานเข้าใจเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของโครงการ ซึ่งจะนำไปสู่กระบวนการความร่วมมือ การติดตาม การประเมินผล

     

    20 25

    2. ก2. เรียนรู้ดูงานการจัดการอาหารปลอดภัย

    วันที่ 16 พฤศจิกายน 2556 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงาน 20 คน + แกนนำภาคี 5 คน ผู้ดูแลเด็ก 1 คน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข 1 คน สมาชิกครัวเรือนปฏิบัติการ 3 คน ออกเดินทางโดยรถตู้ 2 คัน ไปเรียนรู้ดูงานการจัดการอาหารปลอดภัยตามโครงการบ้างแก้วโมเดล / ฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำริ อำเภอบางแก้ว  / และศูนย์เรียนรู้โรงเรียนบ้านธนาคารดิน ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. รับฟังบรรยายสรุปก่อนลงพิ้นที่ดูงาน ณ ห้องประชุมสำนักงานเกษตรอำเภอบ้างแก้ว โดยนายสมชาติ  นาคะวิโรจน์ เกษตรอำเภอบางแก้ว
    2. ดูงานการจัดการอาหารปลอดภัย และการจัดเมนูอาหารเพื่อสุขภาพของศูนย์เรียนรู้ ตามโครงการบางแก้วโมเดล โดยนางนลินี  สามัครคี
    3. ดูงานการทำปุ๋ยอินทรีย์จากขี้เล ณ บ้านคลองกระอาน ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว
    4. ดูงานการจัดการอาหารปลอดภัยโครงการฟาร์มตัวอย่างในพระราชดำริ อำเภอบางแก้ว
    5. ดูงานการจัดการอาหารปลอดภัย และการพึ่งตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง(ครอบครัวพอเพียง) ณ ศูนย์เรียนรู้โรงเรียนบ้าธนาคารดิน โดยนายนิยม  อรุณรัตน์
              จากกการดูงานทุกพื้นที่ ผู้ดูงานได้เห็นและเรียนรู้ตั้งแต่กระบวนการจัดการ ปัญหาอุปสรรค จนถึงผลสำเร็จของกิจกรรมนั้น ๆ

     

    20 30

    3. ตรวจเยี่ยม ติดตามผลการดำเนินงานของครัวเรือนปฏิบัติการ ครั้งที่ 1

    วันที่ 12 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานแบ่งเป็น2กลุ่ม  กลุ่มละ  10 คนออกตรวจเยี่ยม ติดตามผลการดำเนินงานของครัวเรือนปฏิบัติการทั้ง 80 ครัวเรือน โดยแบ่งเป็นกลุ่มละ 40 ครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ครัวเรือนปฏิบัติการ  มีการปลูกผักพื้นบ้าน และพืชผักสวนครัวไว้กินเอง  และบางครอบครัวยังสามารถขายเพิ่มรายได้ให้กับตนเองด้วย บางครอบครัวเลี้ยงไก่  และไก่ไข่  และปลาดุกสำหรับเป้นแหล่งอาหารโปรตีนให้กับครอบครัว ครัวเรือนปฏิบัติการมีการทำปุ๋ยหมักชีวภาพไว้ใช้กับพืชผักที่ตนเองปลูก  และเรียนรู้วิธีการจัดการกับขยะในครัวเรือนของตนเอง โดยการคัดแยกขยะทั้งขยะแห้งและขยะเปียกไม่มี

     

    20 20

    4. อบรมปฐมนิเทศโครงการใหม่

    วันที่ 19 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00-17 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เรียนรู้การบริหารจัดการโครงการ  การลงรายงานผ่านระบบอินเตอร์เนต การทำรายงานการเงิน การทำบัญชี การเก็บหลักฐานเอกสารการเงิน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถปฏิบัติงานได้ตามที่เรียนรู้ เช่นการลงรายงานผ่านระบบอินเตอร์เน็ต  เข้าใจการบริหารจัดการโครงการ ใช้เวลา 1 วัน (09.00-15.00 น.) 

     

    3 2

    5. สร้างความเข้าใจวัตถุประสง กิจกรรม และเป้าหมายโครงการ แก่สมาชิก

    วันที่ 16 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สมาชิกโครงการมาพร้อมกัน คุณถาวร  คงศรี วิทยากรชี้แจงวัตถุประสงค์  การดำเนินการ เป้าหมาย การแบ่งงาน การแบ่งหน้าที่ การแบ่งกลุ่มครัวเรือน และการร่วมกำหนดกติกาของครัวเรือนปฏิบัติการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการกำหนดให้ครัวเรือนปฏิบัติการจะต้อง คัดแยกขยะในครัวเรือน ต้องทำและใช้ปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์ ปุ่๋ยคอก  ต้องปลูกพืชผักปลอดสารพิษของครัวเรือน  ต้องมีการเสี้ยงสัตว์เพื่อเป็นแหล่งโปรตีน แร่ธาตุของครัวเรือน

     

    80 80

    6. ตรวจเยี่ยมติดตามผลการดำเนินงานครัวเรือนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2

    วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชุมชนกำหนดกติกาให้ครัวเรือนปฏิบัติการ เป็นต้นแบบในการจัดการขยะ ปลูกพืชผักปลอดสารพิษ ทำและใช้ปู่ยอินทรีย์ และเลี้ยงสัตว์เป็นแหล่งอาหารของครัวเรือนและชุมชน ด้วยการขายให้สมาชิกในชุมชนโดยตรง และผ่านร้านค้าในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีครัวเรือนปฏิบัติการที่ทำตามกติกาเพิ่มขึ้น ชุมชนมีแหล่งซื้อหา อาหารปลอดสารเคมีบริโภคตลอด

     

    20 20

    7. ประกวดเมนูเพื่อสุขภาพครั้งที่ 1

    วันที่ 5 มีนาคม 2557 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 4 คณะทำงานจัดเตรียมสถานที่
    วันที่ 5 สมาชิก 20 กลุ่ม จัดทำเมนูอาหาร 6 เมนูพร้อมชุดความรู้ดังนี้
    1. เมนูสำหรับหญิงมีครรภ์ 2. เมนูสำหรับเด็กอ่อน 3. เมนู้สำหรับเด็กเล็ก 4. เมนูสำหรับวัยทำงาน 5. เมนูสำหรับผู้ป่วยเรื้อรัง 6. เมนูสำหรับผู้สูงอายุ และได้นิมนต์พระสงฆ์มาฉันเพล อหารเพื่อสุขภาพจากปิ่นโตของครอบครัวสมาชิกโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มที่1อาหารสำหรับหญิงมีครรภ์

    น้ำพริกผักต้มเน้นผักที่ช่วยบำรุงน้ำนมเช่นหัวปลี  และปลาตัวเล็กตัวน้อยทอดเพื่อช่วยเพี่มแคลเซียมให้แก่หญิงมีครรภ์ 2 อาหารสำหรับเด็กอ่อน แกงจืดหมูสับสาหร่าย เต้าหู้อ่อน อาหารเด็กอ่อนควรเป็นอาหารรสไม่จัด เคี้ยวง่าย มีสารอาหารครบถ้วน 3 อาหารสำหรับเด็กเล็ก ต้มจืดกระดูกหมู หัวไชเท้า อาหารเด็กเล็กควรเป็นอาหารรสไม่จัดเช่นกันแต่เด้กเล็กสามารถใช้ฟันในการเคี้ยวอาหารได้ดีกว่าเด้กอ่อน 4 อาหารสำหรับวัยทำงาน แกงส้มหมูย่างผักรวม วัยทำงานเป็นวัยที่ต้องการอาหารที่ให้พลังงานอย่างเต็มที่  เพื่อให้มีแรงในการทำงาน 5 อาหารสำหรับผู้ป่วยเรื้อรัง ยำผักกูด ผู้ป่วยเรื้อรังควรให้ความใส่ใจกับอาหารให้มากกว่ากลุ่มอื่นๆ ควรงกอาหารประเภท หวาน มัน เค็ม หลีกเลี่ยงประเภทเนื้อสัตว์  แป้ง  เน้นบริโภคผัก นอกจากมีเมนูอาหารทั้ง 6 เมนูแล้วยังมีชุดความรู้ประกอบเมนูอาหารเหล่านั้นมานำเสนอต่อชุมชนอีกด้วย

     

    150 130

    8. ติดตามการดำเนินโครงการโดยพี่เลี้ยงประจำจังหวัด

    วันที่ 1 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าร่วมพูดคุยกับพี่เลี้ยงประจำจังหวัดโดยมีนายเสณี จ่าวิสูตร นางสาวจุรีย์ หนูผุดและนายสมนึก นุ่นด้วง ทำความเข้าใจการรายงานผลการดำเนินงานกิจกรรมโครงการในระบบเว็ปไซต์และตรวจสอบเอกสารการเงิน เพื่อจัดทำรายงานปิดงวดที่ 1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าใจระบบการจัดทำรายงานในระบบเว็ปไซต์และสามารถจัดทำรายงานได้อย่างสมบูรณ์
    2. ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าใจระบบการจัดทำเอกสารหลักฐานการเงินได้สมบูรณ์

     

    2 1

    9. ถอนเงินค่าเปิดบัญชี

    วันที่ 1 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการและผู้มีอำนาจถอนเงินจำนวน 2 ใน 3 เดินทางถอนเงินจากธนาคารเพื่อคืนผู้เปิดบัญชี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการและเจ้าหน้าที่การเงินเดินทางถอนเงินหักบัญชีค่าเปิดบัญชีโครงการจำนวน 500 บาท เพื่อคืนเงินสำรองจ่ายของชุมชน

     

    2 2

    10. จัดทำป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่โดยมีสัญลักษณ์ สสส.

    วันที่ 1 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการจัดทำป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่ที่มีสัญลักษณ์ สสส. จำนวน 1 ป้าย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการจัดทำป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่ที่มีสัญลักษณ์ สสส. จำนวน 1 ป้าย เพื่อรณรงค์การลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ในสถานที่สาธารณะ แล้วนำไปติดไว้ในสถานที่ที่จัดกิจกรรมของโครงการ

     

    1 1

    11. ตรวจเยี่ยมผลการปฏิบัติการของครัวเรือนครั้งที่ 3

    วันที่ 3 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงาน 20 คน ตรวจเยี่ยมครัวเรือนปฏิบัติการทั้ง 80 ครัวเรือน เพื่อติดตาม แนะนำ ส่งเสริมให้ครัวเรือนยึดมั่นในการจัดการอาหารปลอดสารพิษ  จัดการขยะในครัวเรือน และเลี้ยงสัตว์เป้นแหล่งอาหารโปรตีนในชุมชน  แล้วมาร่วมกันสรุปผล โดยมีนักวิชาการสาธารรสุขในพื้นที่เป้นวิทยากรดำเนินการและร่วมวิเคราะห์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทุกครัวเรือนยังปลูกพืชผักปลอดสารพิษไว้กินเอง หลายครัวเรือนเหลือกินเอาไปขายในร้านค้าหมู่บ้านใกล้เคียง  ทุกครัวเรือนมีการคัดแยกขยะตามที่ตกลงกันไว้  32 ครัวเรือน เลี้ยงสัตว์เป้นแหล่งอาหารโปรตีนในครัวเรือน และเหลือขายให้ชุมชนอีกส่วนหนึ่ง

     

    20 20

    12. ติดตามการดำเนินโครงการโดยพี่เลี้ยงประจำจังหวัด

    วันที่ 20 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการได้นำเอกสารหลักฐานการเงินมาเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง สมบูรณ์ และตรวจสอบความสมบูรณ์ของรายงานผลการดำเนินงานกิจกรรมตามโครงการในระบบเว็ปไซต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถรายงานผลการดำเนินงานโครงการในระบบเว็ปไซต์ได้ แต่ยังมีรายละเอียดในขั้นตอน กระบวนการ การจัดกิจกรรมตามโครงการต้องบอกรายละเอียดให้สมบูรณ์ ตามลำดับ
    2. การจัดทำเอกสารการเงิน ครบถ้วน สมบูรณ์ ตามรายละเอียดค่าใช้จ่ายตามกิจกรรมโครงการ

     

    2 5

    13. ตรวจเยี่ยมติดตามผลของครัวเรือนครั้งที่ 4

    วันที่ 2 กรกฎาคม 2557 เวลา 13.00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงาน 20 คน ตรวจเยี่ยมครัวเรือนปฏิบัติการทั้ง 80 ครัวเรือน เพื่อติดตาม แนะนำ ส่งเสริมให้ครัวเรือนยึดมั่นในการจัดการอาหารปลอดสารพิษ  จัดการขยะในครัวเรือน และเลี้ยงสัตว์เป้นแหล่งอาหารโปรตีนในชุมชน  แล้วมาร่วมกันสรุปผล โดยมีนักวิชาการสาธารรสุขในพื้นที่เป้นวิทยากรดำเนินการและร่วมวิเคราะห์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทุกครัวเรือนยังปลูกพืชผักปลอดสารพิษไว้กินเอง จำนวนครัวเรือนที่มีผักเหลือกินเอาไปขายในร้านค้าหมู่บ้านใกล้เคียงมากขึ้น  ทุกครัวเรือนมีการคัดแยกขยะตามที่ตกลงกันไว้และมีพ่อค้ามารับซื้อสม่ำเสมอ  จำนวนครัวเรือน ที่เลี้ยงสัตว์เป็นแหล่งอาหารโปรตีนในครัวเรือนลดลง 4 ครัว แต่ยังมีไข่  และไก่ ที่เหลือกินได้ขายให้ชุมชนอีกส่วนหนึ่ง

     

    20 20

    14. ประกวดเมนูอาหารเพื่อสุขภาพครั้งที่ 2

    วันที่ 25 กันยายน 2557 เวลา 09:00-17.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานจัดกิจกรรมประกวดเมนูอาหารเพื่อสุขภาพจาก 20 กลุ่มปฏิบัติการ เพื่อร่วมประกวดเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ  6 เมนู  ดังนี้   1. เมนูสำหรับหญิงมีครรภ์
      2. เมนูอาหารสำหรับเด็กอ่อน
      3. เมนูอาหารเด็กเล็ก   4. เมนูอาหารวัยทำงาน   5. เมนูอาหารผู้ป่วยเรื้อรัง   6. เมนูอาหารผู้สูงอายุ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงานประสานงานกับสมาชิกโครงการทัั้ง 80 ครัวเรือนประสานคณะทำงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนหมู่ที่  5  ประสานกับสถานีอนามัยซึ่งดูแล อสม. ประสานงานกับเทศบาลผู้ดูแลกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และประสานงานกับโรงเรียนวัดนาท่อม เพื่อร่วมทำกิจกรรมประกวดเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ  พร้อมความรู้ทางโภชนาการ ซึ่งมีเมนูสุขภาพดังนี้   1. เมนูสำหรับหญิงมีครรภ์ ประกอบด้วยอาหารพื้นบ้านตามภูมิปัญญาดั้งเดิมได้แก่ต้มกะทิปลีกล้วยพังลา +ใบผักหวาน+ยอดตาหมัด+ปลาทูนึ่ง
      2. เมนูอาหารสำหรับเด็กอ่อน ประกอบด้วยกล้วยน้ำว้า+ไข่แดงบด   3. เมนูอาหารเด็กเล็ก ข้าวสวย ไข่เจียวผักสมุนไพร   4. เมนูอาหารวัยทำงาน แกงส้มปลา+ผักรวม (มะละกอห่าม/ บอนส้ม/ยอดส้มป่อย/) ยำผักบุ้ง+ไข่ต้ม ทุกอย่างอ่อนหวาน อ่อนเค็ม   5. เมนูอาหารผู้ป่วยเรื้อรัง ข้าวยำสมุนไพร + น้ำพริก+ผักนึ่ง+ยำไข่ขาว   6. เมนูอาหารผู้สูงอายุ  ปลาทูนึ่งคั่วกลิ้งกับขิงอ่อน 

     

    150 130

    15. จัดทำภาพถ่ายกิจกรรมโครงการแนบรายงานปิดโครงการ

    วันที่ 13 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการรวบรวมภาพถ่ายกิจกรรมโครงการตั้งแต่เริ่มดำเนินงานจนปิดโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการรวบรวมภาพถ่ายการดำเนินงานกิจกรรมตามโครงการเพื่อประกอบรายงานฉบับสมบูรณ์ปิดโครงการ

     

    2 2

    16. ติดตามผลการดำเนินงานปิดโครงการร่วมกับพี่เลี้ยงประจำจังหวัด

    วันที่ 13 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00-16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยงประจำจังหวัดทำความเข้าใจการจัดทำรายงานปิดโครงการและตรวจสอบเอกสารการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการเพิ่มเติมในระบบเว็ปไซต์เพื่อความสมบูรณ์ของรายงานปิดโครงการและได้ตรวจสอบเอกสารการเงินตามยอดค่าใช้จ่ายที่จ่ายจริง

     

    2 6

    17. จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ส่ง สสส.

    วันที่ 13 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานโครงการนำเอกสารการเงินมาเพื่อตรวจสอบความถูกต้องร่วมกับพี่เลี้ยงประจำจังหวัด และตรวจสอบความถูกต้องของรายงานในระบบเว็ปไซต์ในช่องขั้นตอนกระบวนการการจัดกิจกรรมและผลดที่เกิดขึ้นจริง ภาพถ่ายการจัดกิจกรรม และรายละเอียดค่าใช้จ่ายแต่ละกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการได้จัดทำรายงานในระบบเว็ปไซต์เพิ่มเติมเพื่อความสมบูรณ์ของรายงานปิดโครงการและเจ้าหน้าที่การเงินได้ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารการเงินร่วมกับพี่เลี้ยงประจำจังหวัด

     

    2 5

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 สร้างและพัฒนากลไกจัดการอาหารปลอดภัยในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1.สร้างและพัฒนากลไกจัดการอาหารปลอดภัยในชุมชน 1.1 เกิดคณะทำที่ผ่านการพัฒนาด้านการจัดการอาหารปลอดในชุมชน 20 คน 1.2 เกิดกลุ่มปฏิบัติการ 20 กลุ่ม ๆละ 4 ครอบครัว

    ไม่เกิดขึ้นตามตัวชี้วัดนี้ เพราะเกิดความขัดแย้งระหว่างแกนนำคณะทำงานที่แบ่งออกเป็นสองฝ่าย ตามการเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านครั้งที่ผ่านมา

    2 สร้างกฏกติกาของครัวเรือนอาหารปลอดภัยเพื่อใช้และขยายผลในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 2.สร้างกฏกติกาของครัวเรือนอาหารปลอดภัยเพื่อใช้และขยายผลในชุมชน 2.1 กติกาการจัดการอาหารปลอดภัยในครัวเรือน 80 ครัวเรือน ต้องคัดแยกขยะ ต้องทำและใช้ปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์ ต้องมีแปลงพืชผักปลอดสารพิษ ของครอบครัว ต้องมีแหล่งอาหารโปรตีน แร่ธาตุ ของครอบครัว 2.2 กติกาการจัดการอาหารปลอดภัยใน ศพด. 1 แห่ง ปรุงอาหารด้วยพืชผักจากชุมชน ปรุงอาหาร ลดหวาน/มัน/เค็ม เป็นเขตปลอดอาหารขยะ 2.3 กลุ่มปฏิบัติการอาหารปลอดภัย 20 ชุด ต้องค้นหาเมนูอาหารปลอดภัย 6 เมนู เพื่อส่งเข้าร่วมประกวดและจัดทำชุดความรู้สำหรับเผยแพร่

    คงเหลือเพี่ยงครัวเรือนที่คัดแยกขยะ ทำปุ๋ยชีวภาพ ปลูกพืชผักกินเอง จำนวน 62 ครัวเรือน

    3 สร้างเสริมปฏิบัติการการผลิตและคิดค้นเมนูสุขภาพ และขายยผลสู่ชุมชน
    ตัวชี้วัด : 3.สร้างเสริมปฏิบัติการการผลิตและคิดค้นเมนูสุขภาพ และขายยผลสู่ชุมชน 3.1 กลุ่มปฏิบัติการ 20 กลุ่มต่ต้องคิดค้นเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ 6 เมนูพร้อมชุดความรู้มานำเสนอต่อชุมชน 2 ครั้ง

    ไม่เกิดตามตัวชี้วัดนี้

    4 ขยายผลสสู่ชุมชน
    ตัวชี้วัด : 4.ขยายผลสู่ชุมชน 4.1 ผู้ปกครองเด็กสามารถควบคุมและดูแลเด็กให้มีพฤติกรรมการกินอาหารขยะน้อยลง ผ่านทาง กรรมการพัฒนาเด็กและผู้ดูแลเด็ก 4.2 หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ. ได้รับรู้เมนูอาหารเพื่อสุขภาพเฉพาะกลุ่ม และติดตามต่อเนื่องโดย รพ.สต. ผ่าน อสม.

    ไม่เกิดตามตัวชี้วัดนี้

    5 เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ
    ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งที่เข้าร่วมกิจกรรม

    เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 5 ครั้ง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างและพัฒนากลไกจัดการอาหารปลอดภัยในชุมชน (2) สร้างกฏกติกาของครัวเรือนอาหารปลอดภัยเพื่อใช้และขยายผลในชุมชน (3) สร้างเสริมปฏิบัติการการผลิตและคิดค้นเมนูสุขภาพ และขายยผลสู่ชุมชน (4) ขยายผลสสู่ชุมชน (5) เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ จากอาหารปลอดภัยสู่เมนูเพื่อสุขภาพ หมู่ที่ 5 ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

    รหัสโครงการ 56-02536 รหัสสัญญา 56 -00-102 ระยะเวลาโครงการ 1 กันยายน 2556 - 30 กันยายน 2557

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    สมาชิกโครงการใส่ใจการล้างผักที่ถูกวิธี ในส่วนที่ซื้อจากตลาด

    ผ่านเกณฑ์การประเมินหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพระดับจังหวัด

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    มีการบริโภคพืชผักเพิ่มขึ้น มีเมนูอาหารจากพืชผักที่ชวนกิน

    ผ่านเกณฑ์การประเมินหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพระดับจังหวัด

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    สมาชิกร่วมกิจกรรมกับชุมชนมากขึ้น อย่างมีความสุข

    ผ่านเกณฑ์การประเมินหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพระดับจังหวัด

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    ใช้สมุนไพรง่ายๆจากพืชผักพื้นบ้านในชุมชน อาศัยภูมิปัญญาจากชุมชน

    สวนสมุนไพรที่บ้านเกษตรสมบูรณ์ แหล่งเรียนรู้พืชผักพื้นบ้าน/การทำปุ๋ยหมักแห้ง น้ำหมัก /และแนวปฏิบัติการเกษตรอินทรีย์

    พัฒนาเป้นแหล่งเรียนรู้ระดับตำบล เชื่อมร้อยกับศูนย์เรียนรู้พืชผักปลอดสารพิษตำบลนา่ท่อม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    ครัวเรือนมีการจัดการขยะอย่างเป็นระบบ

    ทุกครัวเรือนมีถุงแยกขยะ

    พัฒนาสู่ชุมชนต้นแบบ สนองนโยบายท้องถิ่น ด้านการจัดการขยะโดยวิถีชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    มีการจัดการขยะในทุกครัวเรือน

    ทุกครัวเรือนมีการแยกขยะ

    พัฒนาสู่ชุมชนต้นแบบ สนองนโยบายท้องถิ่น ด้านการจัดการขยะโดยวิถีชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    มีสถานที่ออกกำลังกาย เล่นกีฬาของชุมชน มีเด็กเยาวชนและผู้ใหญ่ออกกำลังกายเล่นกีฬาทุก

    มีศูนย์กีฬาชุมชน ที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณตามแผนพัฒนาของท้องถิ่น และมีการเล่นกีฬาอย่างต่อเนื่อง

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    มีการนำพืชผักปลอดสารพิษจากครัวเรือนที่เหลือกิน ไป จำหน่ายในร้าค้าหมู่บ้านใกล้เคียง

    ชุมชนมีพืชผักที่จำเป้นกินอย่างพอเพียง

    ร่วมกับหมู่บ้านใกล้เคียง ที่ทำผักปลอดสารพิษเช่นเดียวกัน จัดทำเครื่องหมายควบคุมกระบวนการผลิต ออกสู่ตลาดนัด ตลาดภายนอก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    เชื่อมกับเครือข่ายผักปลอดสารพิษในหมู่บ้านใกล้เคียง

    หมู่ที่ 8 บ้านหูยาน

    ร่วมเปิดตลาดนัดสีเขียวคนนาท่อมทุกวันเสาร์สุดท้ายของเดือน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    เป็นพื้นที่ดูงานจากหมู่บ้านอื่น ในตำบล ต่างตำบล

    แหล่งเรียนรู้บ้านเกษตรสมบูรณ์

    พัฒนาเป้นแหล่งเรียนรู้ระดับตำบล เชื่อมร้อยกับศูนย์เรียนรู้พืชผักปลอดสารพิษตำบลนา่ท่อม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    เป้นชุชนพึงตนเองในระดับตำบล เป็นชุมชนที่มีหนี้น้อยที่สุดในตำบล

    จากข้อมูล จปฐ

    เป้นชุมชนต้นแบบการพึ่งตนเอง พึ่งกันเอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    พื้นฐานชุมชมีการพึ่งพา แบ่งปัน  เมื่อส่งเสริมการปลูกพืชผัก ส่งเสริมเมนูอาหาร จึงมีการแบ่งปันกันมากขึ้นโดยเฉพาะพืชผักในครัวเรือน

    การสังเกต/ รับฟังจากคนในชุมน

    ไม่มี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    จากอาหารปลอดภัยสู่เมนูเพื่อสุขภาพ หมู่ที่ 5 ตำบลนาท่อม อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 56-02536

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางปารีณา แขกกาฬ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด