directions_run

โครงการพัฒนาศักยภาพ ติดตาม ประเมินผลและสังเคราะห์ความรู้โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการพัฒนาศักยภาพ ติดตาม ประเมินผลและสังเคราะห์ความรู้โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ ”

พื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดตรัง สงขลา พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สตูล ระนอง ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา และภูเก็ต

หัวหน้าโครงการ
สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพ ติดตาม ประเมินผลและสังเคราะห์ความรู้โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้

ที่อยู่ พื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดตรัง สงขลา พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สตูล ระนอง ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา และภูเก็ต จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 57-00154 เลขที่ข้อตกลง 57-00-0307

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มกราคม 2557 ถึง 25 มกราคม 2559


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพ ติดตาม ประเมินผลและสังเคราะห์ความรู้โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน พื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดตรัง สงขลา พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สตูล ระนอง ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา และภูเก็ต

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพ ติดตาม ประเมินผลและสังเคราะห์ความรู้โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพ ติดตาม ประเมินผลและสังเคราะห์ความรู้โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ " ดำเนินการในพื้นที่ พื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดตรัง สงขลา พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สตูล ระนอง ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา และภูเก็ต รหัสโครงการ 57-00154 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มกราคม 2557 - 25 มกราคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 2000 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. พัฒนาศักยภาพ ทักษะด้านการเขียนโครงการ ให้ผู้สนใจเสนอโครงการ เพื่อให้ได้ข้อเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ ที่มีความสมบูรณ์ตามกรอบทิศทางการสนับสนุนทุน และยกระดับคุณภาพโครงการให้ผู้รับทุนสามารถดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อพัฒนาระบบ/กลไก/แนวทางการติดตามสนับสนุนและประเมินผลระดับภาค และปรับปรุงระบบเว็บไซด์สร้างสุขคนใต้ที่รายงานผลการดำเนินงานของผู้รับทุนและผู้ติดตาม ให้เกิดการเผยแพร่และเชื่อมโยง/แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้เกี่ยวข้อง
  3. เสริมสร้างสมรรถนะขีดความสามารถของผู้รับทุนและพี่เลี้ยง/ผู้ติดตามด้านต่างๆที่เกี่ยวข้อง ผ่านกระบวนการ ปฐมนิเทศ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ เสวนาแลกเปลี่ยน และ ศึกษาดูงานในพื้นที่
  4. รวบรวมสังเคราะห์ความรู้ที่เกิดจากโครงการ ก่อให้เกิดคุณค่าแก่ชุมชนในด้านต่างๆ เช่น เกิดความรู้เชิงปฏิบัติการและนวัตกรรมชุมชน เป็นต้น ที่สามารถขยายผลและสร้างประโยชน์ต่อสังคมและนำไปเชื่อมโยง สื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ เช่น เว็บไซด์ สื่อสิ่งพิมพ์ เป็นต้น
  5. เพื่อบูรณาการประสานภาคี เชื่อมโยง กระบวนการปฏิบัติการในชุมชนไปสู่การยกระดับเป็นกระบวนการนโยบาย และเกิดการเผยแพร่และเชื่อมโยง/แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชาสัมพันธ์เปิดรับข้อเสนอโครงการ

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2556

    กิจกรรมที่ทำ

    1 การค้นหา ชุมชนกลุ่มเป้าหมายที่ด้อยโอกาส กลุ่มที่ขาดศักยภาพ กลุ่มที่เข้าไม่ถึงการสนับสนุนของแหล่งทุน ซึ่งอาจจะเกิดจากความห่างไกล เป็นพื้นที่ที่เข้าไม่ถึง หรือเกิดจากการขาดตัวเชื่อมประสาน กลุ่มเหล่านี้จำเป็นจะต้องมียุทธศาสตร์เชิงรุก ลงไปกระตุ้นให้พื้นที่ตื่นตัวและทั้งดึงทั้งพัฒนาศักยภาพให้สามารถสร้างปฏิบัติสร้างสุขภาพในพื้นที่ของตนเอง ยุทธศาสตร์เชิงรุกทางภาคใต้ คือ การใช้กลไกพี่เลี้ยงระดับจังหวัด ค้นหาและดึงชุมชนเหล่านั้นเข้าสู่กระบวนการพัฒนาโครงการ ขณะเดียวกัน ในบางสถานการณ์สุขภาพซึ่งเป็นประเด็นที่สำคัญของพื้นที่ที่ไม่มีผู้สนใจทำ กลไกพี่เลี้ยงระดับจังหวัดจะต้องพยายามเสาะหากลุ่มที่สนใจเข้าร่วมทำโครงการในประเด็นนั้น 2การประชาสัมพันธ์โดยช่องทาง หนังสือพิมพิ์ท้องถิ่น Website เครือข่ายวิทยุชุมชน จดหมายไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัดเช่น พัฒนาชุมชน พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ท้องถิ่นจังหวัด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ จำนวน

     

    1,000 0

    2. ประชุมผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.กระบี่

    วันที่ 18 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่  จ.กระบี่ เรียนรู้ •หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข •บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง
    •การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน •การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ •ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด •ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส. จากทีมพี่เลี้ยง จ.กระบี่ และผ่านการใช้สื่อวิดิทัศน์ ประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง และไม้เรียง รวมทั้งคู่มือการพัฒนาโครงการ 2.ผู้สนใจเสนอโครงการ วางแผนพัฒนาโครงการในขั้นตอนถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนที่สนใจได้มีโอกาสเรียนรู้ เนื้อหาในการประชุมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้ชุมชนเป็นสุข
    • หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข • บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง
    • การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน • การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ • ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด • ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส. ชุมชนที่สมัครเข้ามามีความเข้าใจเรื่องการขับเคลื่อนชุมชนสุขภาวะด้วยกระบวนการทางสังคม การใช้ข้อมูลชุมชนในการทำแผนชุมชน รวมถึงลักษณะโครงการที่พึงประสงค์
    ชุมชนที่สมัครเข้ามามีแผนกลับไปทำข้อมูลและทบทวนแผนชุมชน

     

    50 40

    3. ประชุมผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.พัทลุง

    วันที่ 18 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่  จ.พัทลุง เรียนรู้ •หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข •บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง
    •การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน •การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ •ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด •ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส. จากทีมพี่เลี้ยง จ.พัทลุง และผ่านการใช้สื่อวิดิทัศน์ ประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง และไม้เรียง รวมทั้งคู่มือการพัฒนาโครงการ 2.ผู้สนใจเสนอโครงการ วางแผนพัฒนาโครงการในขั้นตอนถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนที่สนใจได้มีโอกาสเรียนรู้ เนื้อหาในการประชุมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้ชุมชนเป็นสุข
    •หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข •บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง
    •การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน •การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ •ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด •ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส. ชุมชนที่สมัครเข้ามามีความเข้าใจเรื่องการขับเคลื่อนชุมชนสุขภาวะด้วยกระบวนการทางสังคม การใช้ข้อมูลชุมชนในการทำแผนชุมชน รวมถึงลักษณะโครงการที่พึงประสงค์
    ชุมชนที่สมัครเข้ามามีแผนกลับไปทำข้อมูลและทบทวนแผนชุมชน

     

    80 90

    4. ปฐมนิเทศโครงการ ชช.น่าอยู่ 56 จ.สงขลา สตูล นราธิวาส พัทลุง

    วันที่ 19 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการ ชช.น่าอยู่ 56 จ.สงขลา สตูล นราธิวาส พัทลุง  โครงการ เรียนรู้การบริหารจัดการโครงการ ระบบการเงิน ระบบรายงานผลการดำเนินงาน
    ทบทวน/วิเคราะห์โครงการ ตัวชี้วัดโครงการ และวางแผนการทำงานร่วมกับผู้ติดตาม
    กระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการ การรายงานผลติดตาม ตาม www.happynetwork.org รวมถึงการประเมินผลโครงการด้วยตนเองของผู้รับทุนโครงการ กระบวนการติดตาม สนับสนุนโครงการ โดย สจรส.มอ.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดขอบโครงการ ชช.น่าอยู่ 56 จ.สงขลา สตูล นราธิวาส พัทลุง  โครงการ
    เรียนรู้การบริหารจัดการโครงการ ระบบการเงิน ระบบรายงานผลการดำเนินงาน
    ทบทวน/วิเคราะห์โครงการ ตัวชี้วัดโครงการ และวางแผนการทำงานร่วมกับผู้ติดตาม
    กระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการ การรายงานผลติดตาม ตาม www.happynetwork.org รวมถึงการประเมินผลโครงการด้วยตนเองของผู้รับทุนโครงการ กระบวนการติดตาม สนับสนุนโครงการ โดย สจรส.มอ.

     

    60 40

    5. ประชุมผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.นครศรีธรรมราช

    วันที่ 21 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่  จ.นครศรีธรรมราช เรียนรู้

    •หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข

    •บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง

    •การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน

    •การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ

    •ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด

    •ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส. จากทีมพี่เลี้ยง จ.นครศรีธรรมราช และผ่านการใช้สื่อวิดิทัศน์ ประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง และไม้เรียง รวมทั้งคู่มือการพัฒนาโครงการ 2.ผู้สนใจเสนอโครงการ วางแผนพัฒนาโครงการในขั้นตอนถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนที่สนใจได้มีโอกาสเรียนรู้ เนื้อหาในการประชุมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้ชุมชนเป็นสุข
    • หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข

    • บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง

    • การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน

    • การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ

    • ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด

    • ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส.

    ชุมชนที่สมัครเข้ามามีความเข้าใจเรื่องการขับเคลื่อนชุมชนสุขภาวะด้วยกระบวนการทางสังคม การใช้ข้อมูลชุมชนในการทำแผนชุมชน รวมถึงลักษณะโครงการที่พึงประสงค์
    ชุมชนที่สมัครเข้ามามีแผนกลับไปทำข้อมูลและทบทวนแผนชุมชน

     

    150 0

    6. ปฐมนิเทศโครงการ ชช.น่าอยู่ 56 จ.นครศรีธรรมราช

    วันที่ 21 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการ ชช.น่าอยู่ 56 จ.นครศรีธรรมราช โครงการ เรียนรู้การบริหารจัดการโครงการ ระบบการเงิน ระบบรายงานผลการดำเนินงาน
    ทบทวน/วิเคราะห์โครงการ ตัวชี้วัดโครงการ และวางแผนการทำงานร่วมกับผู้ติดตาม
    กระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการ การรายงานผลติดตาม ตาม www.happynetwork.org รวมถึงการประเมินผลโครงการด้วยตนเองของผู้รับทุนโครงการ กระบวนการติดตาม สนับสนุนโครงการ โดย สจรส.มอ.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดขอบโครงการ ชช.น่าอยู่ 56 จ.นครศรีธรรมราช โครงการ
    เรียนรู้การบริหารจัดการโครงการ ระบบการเงิน ระบบรายงานผลการดำเนินงาน
    ทบทวน/วิเคราะห์โครงการ ตัวชี้วัดโครงการ และวางแผนการทำงานร่วมกับผู้ติดตาม
    กระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการ การรายงานผลติดตาม ตาม www.happynetwork.org รวมถึงการประเมินผลโครงการด้วยตนเองของผู้รับทุนโครงการ กระบวนการติดตาม สนับสนุนโครงการ โดย สจรส.มอ.

     

    60 0

    7. ประชุมผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.ปัตตานี

    วันที่ 23 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่  จ.ปัตตานี เรียนรู้ •หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข •บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง
    •การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน •การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ •ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด •ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส. จากทีมพี่เลี้ยง จ.ปัตตานี และผ่านการใช้สื่อวิดิทัศน์ ประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง และไม้เรียง รวมทั้งคู่มือการพัฒนาโครงการ 2.ผู้สนใจเสนอโครงการ วางแผนพัฒนาโครงการในขั้นตอนถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนที่สนใจได้มีโอกาสเรียนรู้ เนื้อหาในการประชุมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้ชุมชนเป็นสุข
    • หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข • บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง
    • การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน • การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ • ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด • ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส. ชุมชนที่สมัครเข้ามามีความเข้าใจเรื่องการขับเคลื่อนชุมชนสุขภาวะด้วยกระบวนการทางสังคม การใช้ข้อมูลชุมชนในการทำแผนชุมชน รวมถึงลักษณะโครงการที่พึงประสงค์
    ชุมชนที่สมัครเข้ามามีแผนกลับไปทำข้อมูลและทบทวนแผนชุมชน

     

    50 40

    8. ประชุมผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.สตูล

    วันที่ 23 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่  จ.สตูล เรียนรู้ •หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข •บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง
    •การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน •การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ •ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด •ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส. จากทีมพี่เลี้ยง จ.สตูล และผ่านการใช้สื่อวิดิทัศน์ ประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง และไม้เรียง รวมทั้งคู่มือการพัฒนาโครงการ 2.ผู้สนใจเสนอโครงการ วางแผนพัฒนาโครงการในขั้นตอนถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนที่สนใจได้มีโอกาสเรียนรู้ เนื้อหาในการประชุมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้ชุมชนเป็นสุข
    • หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข • บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง
    • การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน • การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ • ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด • ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส. ชุมชนที่สมัครเข้ามามีความเข้าใจเรื่องการขับเคลื่อนชุมชนสุขภาวะด้วยกระบวนการทางสังคม การใช้ข้อมูลชุมชนในการทำแผนชุมชน รวมถึงลักษณะโครงการที่พึงประสงค์
    ชุมชนที่สมัครเข้ามามีแผนกลับไปทำข้อมูลและทบทวนแผนชุมชน

     

    80 60

    9. ประชุมผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.ยะลา

    วันที่ 24 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่  จ.กระบี่ เรียนรู้ •หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข •บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง
    •การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน •การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ •ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด •ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส. จากทีมพี่เลี้ยง จ.กระบี่ และผ่านการใช้สื่อวิดิทัศน์ ประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง และไม้เรียง รวมทั้งคู่มือการพัฒนาโครงการ 2.ผู้สนใจเสนอโครงการ วางแผนพัฒนาโครงการในขั้นตอนถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนที่สนใจได้มีโอกาสเรียนรู้ เนื้อหาในการประชุมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้ชุมชนเป็นสุข
    • หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข • บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง
    • การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน • การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ • ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด • ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส. ชุมชนที่สมัครเข้ามามีความเข้าใจเรื่องการขับเคลื่อนชุมชนสุขภาวะด้วยกระบวนการทางสังคม การใช้ข้อมูลชุมชนในการทำแผนชุมชน รวมถึงลักษณะโครงการที่พึงประสงค์
    ชุมชนที่สมัครเข้ามามีแผนกลับไปทำข้อมูลและทบทวนแผนชุมชน

     

    40 0

    10. ปฐมนิเทศโครงการ ชช.น่าอยู่ 56 จ.ชุมพร สุราษฎร์ธานี

    วันที่ 26 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการ ชช.น่าอยู่ 56 จ.ชุมพร สุราษฎร์ธานี 19 โครงการ

    เรียนรู้การบริหารจัดการโครงการ ระบบการเงิน ระบบรายงานผลการดำเนินงาน
    ทบทวน/วิเคราะห์โครงการ ตัวชี้วัดโครงการ และวางแผนการทำงานร่วมกับผู้ติดตาม
    กระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการ การรายงานผลติดตาม ตาม www.happynetwork.org รวมถึงการประเมินผลโครงการด้วยตนเองของผู้รับทุนโครงการ กระบวนการติดตาม สนับสนุนโครงการ โดย สจรส.มอ.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดขอบโครงการ ชช.น่าอยู่ 56 จ.ชุมพร สุราษฎร์ธานี 19 โครงการ
    เรียนรู้การบริหารจัดการโครงการ ระบบการเงิน ระบบรายงานผลการดำเนินงาน
    ทบทวน/วิเคราะห์โครงการ ตัวชี้วัดโครงการ และวางแผนการทำงานร่วมกับผู้ติดตาม
    กระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการ การรายงานผลติดตาม ตาม www.happynetwork.org รวมถึงการประเมินผลโครงการด้วยตนเองของผู้รับทุนโครงการ กระบวนการติดตาม สนับสนุนโครงการ โดย สจรส.มอ.

     

    40 50

    11. ประชุมผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.ระนอง

    วันที่ 27 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่  จ.ระนอง เรียนรู้ •หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข •บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง
    •การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน •การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ •ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด •ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส. จากทีมพี่เลี้ยง จ.ระนอง และผ่านการใช้สื่อวิดิทัศน์ ประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง และไม้เรียง รวมทั้งคู่มือการพัฒนาโครงการ 2.ผู้สนใจเสนอโครงการ วางแผนพัฒนาโครงการในขั้นตอนถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนที่สนใจได้มีโอกาสเรียนรู้ เนื้อหาในการประชุมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้ชุมชนเป็นสุข
    • หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข • บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง
    • การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน • การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ • ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด • ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส. ชุมชนที่สมัครเข้ามามีความเข้าใจเรื่องการขับเคลื่อนชุมชนสุขภาวะด้วยกระบวนการทางสังคม การใช้ข้อมูลชุมชนในการทำแผนชุมชน รวมถึงลักษณะโครงการที่พึงประสงค์
    ชุมชนที่สมัครเข้ามามีแผนกลับไปทำข้อมูลและทบทวนแผนชุมชน

     

    30 0

    12. ประชุมผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.ชุมพร และสุราษฎร์ธานี

    วันที่ 28 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชี้แจง วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แนวทาง การสนับสนุนงบประมาณ ภายใต้โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่
    การทำความเข้าใจกระบวนการจัดการข้อมูลชุมชน การทำแผนชุมชน โดย ผญ.โชคชัย ลิ้มประดิษฐ์ การนำเสนอกรณีตัวอย่างโครงการเด่น จากพื้นที่ บ้านหัวลำภู อ.หัวไทร  จ.นครศรีธรรมราช
    ชี้แจงกระบวนการและพัฒนาโครงการ การแบ่งกลุ่มวางแผนเบื้องต้นกระบวนการพัฒนาโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่  จ.ชุมพร และสุราษฎร์ธานี ได้เรียนรู้ ทำความเข้าใจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แนวทาง การสนับสนุนงบประมาณ ภายใต้โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ ปี 2557
    การทำความเข้าใจกระบวนการจัดการข้อมูลชุมชน การทำแผนชุมชน
    ศึกษากระบวนการ ่านกรณีตัวอย่างโครงการเด่น จากพื้นที่ บ้านหัวลำภู อ.หัวไทร  จ.นครศรีธรรมราช
    ศึกษากระบวนการและพัฒนาโครงการ การแบ่งกลุ่มวางแผนเบื้องต้นกระบวนการพัฒนาโครงการ 

     

    150 160

    13. ประชุมผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.พังงา

    วันที่ 28 ธันวาคม 2556 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่  จ.พังงา เรียนรู้ •หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข •บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง
    •การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน •การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ •ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด •ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส. จากทีมพี่เลี้ยง จ.พังงา และผ่านการใช้สื่อวิดิทัศน์ ประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง และไม้เรียง รวมทั้งคู่มือการพัฒนาโครงการ 2.ผู้สนใจเสนอโครงการ วางแผนพัฒนาโครงการในขั้นตอนถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนที่สนใจได้มีโอกาสเรียนรู้ เนื้อหาในการประชุมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้ชุมชนเป็นสุข
    • หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข • บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง
    • การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน • การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ • ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด • ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส. ชุมชนที่สมัครเข้ามามีความเข้าใจเรื่องการขับเคลื่อนชุมชนสุขภาวะด้วยกระบวนการทางสังคม การใช้ข้อมูลชุมชนในการทำแผนชุมชน รวมถึงลักษณะโครงการที่พึงประสงค์
    ชุมชนที่สมัครเข้ามามีแผนกลับไปทำข้อมูลและทบทวนแผนชุมชน

     

    40 0

    14. ประชุมผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.ภูเก็ต

    วันที่ 16 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ผู้สนใจเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่  จ.ภูเก็ต •หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข •บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง
    •การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน •การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ •ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด •ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส. จากทีมพี่เลี้ยง จ.ภูเก็ต การใช้สื่อวิดิทัศน์ ประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง และไม้เรียง รวมทั้งคู่มือการพัฒนาโครงการ 2.ผู้สนใจเสนอโครงการ วางแผนพัฒนาโครงการในขั้นตอนถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนที่สนใจได้มีโอกาสเรียนรู้ เนื้อหาในการประชุมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้ชุมชนเป็นสุข
    • หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข • บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง
    • การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน • การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ • ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด • ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส. ชุมชนที่สมัครเข้ามามีความเข้าใจเรื่องการขับเคลื่อนชุมชนสุขภาวะด้วยกระบวนการทางสังคม การใช้ข้อมูลชุมชนในการทำแผนชุมชน รวมถึงลักษณะโครงการที่พึงประสงค์
    ชุมชนที่สมัครเข้ามามีแผนกลับไปทำข้อมูลและทบทวนแผนชุมชน

     

    50 0

    15. พัฒนาโครงการครั้งที่ื 1 ผู้เสนอโครงการ จ.นครศรีธรรมราช

    วันที่ 17 มกราคม 2557 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้เสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.นครศรีธรรมราช เข้าประชุมพัฒนาโครงการ ณ ม.วลัยลักษณ์ อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์ ชี้แจง เป้าหมาย วัตถุประสงค์และความคาดหวัง แนวทางการสนับสนุน และกระบวนการพิจารณา ขั้นตอน วิธีการ เงื่อนไข กระบวนการการพัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ ปี 2557 และโครงการต่อเนื่อง แบ่งกลุ่มทบทวนกระบวนการพัฒนาโครงการ สำหรับชุมชน/ผู้สนใจที่มีความพร้อมนำความรู้กลับไปทำข้อมูลและทบทวนแผนชุมชน โดยกระบวนการสุนทรียสนทนาในพื้นที่ เพื่อปรับปรุงร่างข้อเสนอโครงการให้มีความครอบคลุมเนื้อหาครบถ้วนและสมบูรณ์ และร่วมปรึกษาหารือระหว่างผู้สนใจเสนอโครงการ/ชุมชนและพี่เลี้ยงระดับจังหวัด และคณะทำงานวิชาการ และได้เขียนข้อเสนอโครงการเชิงหลักการ(Concept Paper) 2-3 หน้า ส่งให้ สจรส. และทีมพี่เลี้ยงพัฒนาจะคัดเลือกข้อเสนอโครงการ เพื่อเข้าร่วมประชุมการพัฒนาข้อเสนอโครงการ ทั้งนี้ สจรส.ปรับแบฟอร์มข้อเสนอโครงการให้เหมาะสมตามสสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.นครศรีธรรมราช ทำความเข้าใจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์และความคาดหวัง แนวทางการสนับสนุน และกระบวนการพิจารณา ขั้นตอน วิธีการ เงื่อนไข กระบวนการการพัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ ปี 2557 และโครงการต่อเนื่อง นำความรู้กลับไปทำข้อมูลและทบทวนแผนชุมชน โดยกระบวนการสุนทรียสนทนาในพื้นที่ เพื่อปรับปรุงร่างข้อเสนอโครงการให้มีความครอบคลุมเนื้อหาครบถ้วนและสมบูรณ์ และร่วมปรึกษาหารือระหว่างผู้สนใจเสนอโครงการ/ชุมชนและพี่เลี้ยงระดับจังหวัด และคณะทำงานวิชาการ 

     

    150 200

    16. ประชุมทีมพี่เลี้ยงพัฒนาและติดตามโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.นครศรีธรรมราช

    วันที่ 17 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    20 0

    17. พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ครั้งที่ 1 ผู้เสนอโครงการ จ.สงขลา พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

    วันที่ 19 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์ ชี้แจง เป้าหมาย วัตถุประสงค์และความคาดหวัง แนวทางการสนับสนุน  และกระบวนการพิจารณา ขั้นตอน วิธีการ เงื่อนไข กระบวนการการพัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ ปี 2557 และโครงการต่อเนื่อง แบ่งกลุ่มทบทวนกระบวนการพัฒนาโครงการ
    สำหรับชุมชน/ผู้สนใจที่มีความพร้อมนำความรู้กลับไปทำข้อมูลและทบทวนแผนชุมชน โดยกระบวนการสุนทรียสนทนาในพื้นที่  เพื่อปรับปรุงร่างข้อเสนอโครงการให้มีความครอบคลุมเนื้อหาครบถ้วนและสมบูรณ์  และร่วมปรึกษาหารือระหว่างผู้สนใจเสนอโครงการ/ชุมชนและพี่เลี้ยงระดับจังหวัด และคณะทำงานวิชาการ  และได้เขียนข้อเสนอโครงการเชิงหลักการ(Concept Paper) 2-3 หน้า ส่งให้ สจรส. และทีมพี่เลี้ยงพัฒนาจะคัดเลือกข้อเสนอโครงการ เพื่อเข้าร่วมประชุมการพัฒนาข้อเสนอโครงการ ทั้งนี้ สจรส.ปรับแบฟอร์มข้อเสนอโครงการให้เหมาะสมตามสสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่  จ.สงขลา พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ทำความเข้าใจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์และความคาดหวัง แนวทางการสนับสนุน  และกระบวนการพิจารณา ขั้นตอน วิธีการ เงื่อนไข กระบวนการการพัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ ปี 2557 และโครงการต่อเนื่อง นำความรู้กลับไปทำข้อมูลและทบทวนแผนชุมชน โดยกระบวนการสุนทรียสนทนาในพื้นที่  เพื่อปรับปรุงร่างข้อเสนอโครงการให้มีความครอบคลุมเนื้อหาครบถ้วนและสมบูรณ์  และร่วมปรึกษาหารือระหว่างผู้สนใจเสนอโครงการ/ชุมชนและพี่เลี้ยงระดับจังหวัด และคณะทำงานวิชาการ

     

    200 0

    18. ประชุมทีมพี่เลี้ยงพัฒนาและติดตามโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

    วันที่ 19 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    30 0

    19. ประชุมทีมพี่เลี้ยงพัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.ชุมพร

    วันที่ 21 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    20 0

    20. ประชุมทีมพี่เลี้ยงพัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.ชุมพร

    วันที่ 21 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    20 0

    21. พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ครั้งที่ื 1 จ.ชุมพร สุราษฎร์ธานี ระนอง

    วันที่ 22 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1จัดการทบทวนกระบวนการสำรวจข้อมูลชุมชนและท้องถิ่น ที่สามารถสร้างการเรียนรู้ให้แก่ทีมทำงานของผู้ที่เสนอโครงการ โดย •การทำ Health System Mapping เพื่อประเมินสถานการณ์ คน เครือข่าย หน่วยงาน •การใช้เครื่องมือในการทำงานชุมชน กระบวนการทำประชาคม การทำสุนทรียสนทนา •การวิเคราะห์ข้อมูลสุขภาพ ปัจจัยกำหนดสุขภาพและการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา 2การจัดทำและทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ •การวางจุดหมาย เป้าหมาย ตัวชี้วัด •การพัฒนายุทธศาสตร์(วิธีการสำคัญ)
    •การปรับยุทธศาสตร์ เป็นแผนเป็นโครงการ 3 การพัฒนาโครงการผ่านเว็บไซต์ คนใต้สร้างสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สำหรับชุมชน/ผู้สนใจที่มีความพร้อมนำความรู้กลับไปทำข้อมูลและทบทวนแผนชุมชน โดยกระบวนการสุนทรียสนทนาในพื้นที่  เพื่อปรับปรุงร่างข้อเสนอโครงการให้มีความครอบคลุมเนื้อหาครบถ้วนและสมบูรณ์  และร่วมปรึกษาหารือระหว่างผู้สนใจเสนอโครงการ/ชุมชนและพี่เลี้ยงระดับจังหวัด และคณะทำงานวิชาการ  และได้เขียนข้อเสนอโครงการเชิงหลักการ(Concept Paper) 2-3 หน้า ส่งให้ สจรส. และทีมพี่เลี้ยงพัฒนาจะคัดเลือกข้อเสนอโครงการ เพื่อเข้าร่วมประชุมการพัฒนาข้อเสนอโครงการ ทั้งนี้ สจรส.ปรับแบฟอร์มข้อเสนอโครงการให้เหมาะสมตามสสส.

     

    200 0

    22. ประชุมทีมพี่เลี้ยงพัฒนาและติดตามโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.กระบี่ พังงา ตรัง สตูล

    วันที่ 28 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      พัฒนาศักยภาพเชิงปฎิบัติการพี่เลี้ยงพัฒนาโครงการและผู้ติดตาม
    สร้างความเข้าใจต่อระบบกระบวนการพัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่
    1.1) อบรมให้ความรู้และนำตัวอย่างข้อเสนอโครงการมาปฏิบัติทดลอง ในหัวข้อหลักๆ  เช่น  กระบวนการจัดการข้อมูลชุมชน การจัดทำแผนชุมชน และการเขียนโครงการ  และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนา/เขียนโครการ  และเทคนิคการติดตามสนับสนุนและประเมินผล รวมทั้งใช้คู่มือการพัฒนาข้อเสนอโครงการและคู่มือการติดตามสนับสนุนเป็นเครื่องมือการพัฒนา
    1.2) การใช้งานสื่อสารสนเทศ การติดตามผ่านเว็บไซต์ เช่น การพัฒนาโครงการผ่านระบบเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงพัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.กระบี่ พังงา ตรัง สตูล (นฤมล นภาภรณ์) อบรมให้ความรู้และนำตัวอย่างข้อเสนอโครงการมาปฏิบัติทดลอง ในหัวข้อหลักๆ  เช่น  กระบวนการจัดการข้อมูลชุมชน การจัดทำแผนชุมชน และการเขียนโครงการ  และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนา/เขียนโครการ  และเทคนิคการติดตามสนับสนุนและประเมินผล รวมทั้งใช้คู่มือการพัฒนาข้อเสนอโครงการและคู่มือการติดตามสนับสนุนเป็นเครื่องมือการพัฒนา  และทดลองการใช้งานสื่อสารสนเทศ การติดตามผ่านเว็บไซต์ เช่น การพัฒนาโครงการผ่านระบบเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข

     

    25 20

    23. พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ครั้งที่ื 1 ผู้เสนอโครงการ จ.กระบี่ พังงา ตรัง สตูล

    วันที่ 28 มกราคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    200 0

    24. ประชุมทีมพี่เลี้ยงพัฒนาและติดตามโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.สตูล

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 - 17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. แนะนำทีมงาน สจรส. และทำความรู้จักพี่เลี้ยงใหม่ จ.สตูล
    2. อธิบาย ลักษณะโครงการชุมชนท้องถิ่น หลักการ กระบวนการทำงานติดตามโครงการ บทบาทของพี่เลี้ยง คุณสมบัติพี่เลี้ยง การทำงานติดตาม โดย อ.พงค์เทพ และ คุณวินิจ ชุมนูรักษ์
    3. พี่เลี้ยงเก่าเล่าการทำงานติดตามที่ผ่านมา
    4. แลกเปลี่ยนซักถามปัญหา และการพัฒนาข้อเสนอโครงการใน จ.สตูล พร้อมทั้งแบ่งบทบาทการทำงานภายในจังหวัด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้พี่เลี้ยงจำนวน 8 คน ที่มีศักยภาพและคุณสมบัติที่เหมาะสมในการทำหน้าที่ติดตามประเมินโครงการ

     

    20 20

    25. พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ครั้งที่ื 1 ผู้เสนอโครงการ จ.สตูล กลุ่ม 2

    วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. แนะนำโครงการชุมชนท้องถิ่น หลักการ กระบวนการทำโครงการ การเขียนโครงการ โดย อ.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
    2. ผู้เสนอโครงการในพื้นที่ นำเสนอโครงการ หลักการ วิธีการดำเนินโครงการ และสิ่งที่คาดหวัง ให้กับทีม สจรส.และพี่เลี้ยง
    3. พี่เลี้ยงเพิ่มเติมข้อมูลสร้างความเข้าใจ และให้ข้อเสนอแนะต่อผู้เสนอโครงการ
    4. ดำเนินการเขียนและปรับแก้ข้อเสนอโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เสนอโครงการจำนวน 12 โครงการในกลุ่มที่ 2 ของ จ.สตูล

     

    150 50

    26. พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ครั้งที่ื 2 กับพี่เลี้ยง จ.สตูล

    วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมหารือการพัฒนาข้อเสนอโครงการ โดยให้พี่เลี้ยงเป็นผู้นำกระบวนการจัดทำเวทีชุมชน ประเด็นหารือ เน้นเรื่องการสร้างกระบวนการให้เกิดขึ้นในชุมชนที่เป็นการแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างมีส่วนร่วมและเป็นระบบในการจัดการปัญหาที่ต้นเหตุ มีการแลกเปลี่ยนพี่เลี้ยงใหม่ กับพี่เลี้ยงที่มีประสบการณ์ในการทำกระบวนการชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงได้นำเสนอโครงการและประเด็นปัญหาในพื้นที่ ที่สามารถพัฒนาเป็นข้อเสนอโครงการได้ จำนวน 15 โครงการ

     

    5 5

    27. พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ครั้งที่ื 2 กับพี่เลี้ยง จ.ตรัง

    วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมหารือกับพี่เลี้ยง เรื่องการพัฒนาโครงการปี 57 ชี้แจงหลักการ กระบวนการ ในการทำโครงการชุมชนท้องถิ่น และจำนวนโครงการที่ทาง สจรส.คาดหวังว่าจังหวัดตรังจะมีโครงการประมาณ 10 โครงการ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยง จ.ตรัง รับเป็นพี่เลี้ยง และให้ความร่วมมือในการพัฒนาข้อเสนอโครงการให้ได้ตามเป้าที่ทาง สจรส.ต้องการ คือ ประมาณ 10 โครงการ พร้อมนัดวันกับทีมแกนนำในชุมชนที่จะลงไปจัดกระบวนการเวทีชุมชนในพื้นที่

     

    2 2

    28. พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ครั้งที่ื 2 กับพี่เลี้ยง จ.กระบี่

    วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเสนอกระบวนการพัฒนาโครงการ และความก้าวหน้าของข้อเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.กระบี้ โดย พี่เลี้ยงพัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.กระบี้ คุณจารุวรณ วงษ์เวช คุณทวัีชัย อ่อนนวน ณ โรงพยาบาลคลองท่อม อ.คลองท่อม จ.กระบี่ โดยมี อ.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ และคุณเสณี จ่าวิสูตรพี่เลี้ยง จ.พัทลุงให้ข้อเสนอแนะเพื่อนำไปปรับแก้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงพัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.กระบี้ คุณจารุวรณ วงษ์เวช คุณทวัีชัย อ่อนนวน รับทราบแนวทางการปรับแก้ โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.กระบี่ และนำไปจัดกระบวนการพูดคุยกับพื้นที่

     

    5 6

    29. พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ครั้งที่ื 2 กับพี่เลี้ยง จ.ชุมพร สุราษฎร์ธานี

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 - 14.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีม สจรส. คุณวินิจ ชุมนูรักษ์ ทบทวนหลักการดำเนินโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ และพี่เลี้ยง จ.ชุมพร กับ จ.สุราษฎร์ธานี กล่าวแนะนำเพิ่มเติม และอธิบายสร้างความเข้าใจต่อทีมชุมชนที่สนใจร่วมทำโครงการชุมชนท้องถิ่น ได้เข้าใจขั้นตอนการเขียนโครงการ และการทำโครงการ โดยมีพี่เลี้ยงคอยให้คำแนะนำตลอดช่วงทำโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีผู้สนใจร่วมทำโครงการ และพัฒนาข้อเสนอโครงการโดยเขียนบนเวบไซต์คนใต้สร้างสุข ประมาณ 10 โครงการ

     

    20 20

    30. พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ครั้งที่ื 2 กับพี่เลี้ยง จ.ระนอง

    วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีม สจรส.มอ.ประชุมร่วมกับพี่เลี้ยง จ.ระนอง โดยคุณวินิจ ชุมนูรักษ์ ได้ทบทวนหลักการทำโครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่น และการพัฒนาข้อเสนอโครงการ โดยเขียนโครงการผ่านทางเวบไซต์ ซึ่งทีม สจรส.ได้สอนพี่เลี้ยง จ.ระนองให้กรอกข้อมูลทางเวบไซต์ เพื่อให้พี่เลี้ยงสามารถสอนผู้รับผิดชอบโครงการในพื้นที่ได้ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยง จ.ระนอง เข้าใจหลักการทำโครงการชุมชนท้องถิ่น และมีความเข้าใจต่อการพัฒนาโครงการลงบนเวบไซต์ และมีพื้นที่ที่ให้ความสนใจประมาณ 5 พื้นที่ ซึ่งทางพี่เลี้ยงจะลงไปช่วยพื้นที่ให้เขียนโครงการได้

     

    2 2

    31. พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ครั้งที่ื 2 กับพี่เลี้ยง จ.พังงา

    วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 - 12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีม สจรส.มอ.โดยคุณวินิจ ชุมนูรักษ์ ทบทวนหลักการทำโครงการชุมชนท้องถิ่นให้พี่เลี้ยง จ.พังงา และผู้สนใจร่วมทำโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีผู้สนใจร่วมทำโครงการประมาณ 5 โครงการ

     

    5 5

    32. พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ครั้งที่ื 2 กับพี่เลี้ยง จ.นครศรีธรรมราช

    วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีม สจรส.มอ.ได้ทบทวนที่มาของโครงการ หลักการทำโครงการ ให้กับทีมพี่เลี้ยง จ.นครศรีธรรมราช และผู้สนใจเข้าร่วมทำโครงการ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ทีมพี่เลี้ยง จ.นครศรีธรรมราช มีพี่เลี้ยงใหม่เพิ่มมาหลายคน ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรื่องการทำงานติดตามโครงการ และกระบวนการทำโครงการชุมชนท้องถิ่น ทำให้พี่เลี้ยงใหม่ ผู้เสนอโครงการได้เข้าใจกระบวนการทำโครงการ และมีความสนใจเข้าร่วมทำโครงการกับ สสส.ประมาณ 15 พื้นที่

     

    20 20

    33. พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ครั้งที่ื 2 กับพี่เลี้ยง จ.ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

    วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่  จ.ปัตตานี ยะลา นราธิวาส โดยคุณวินิจ ชุมนูรักษ์ ทีม สจรส.มอ.กล่าววัตถุประสงค์ และทบทวนหลักการดำเนินโครงการ และพี่เลี้ยงได้เล่าพื้นที่ที่สนใจร่วมทำโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีพื้นที่ให้ความสนใจประมาณ 20 โครงการ ส่วนใหญ่จะอยู่ในจังหวัดปัตตานี โดยพี่ยา ซึ่งเป็นพี่เลี้ยง จ.ปัตตานี มีพื้นที่ให้ความสนใจ และจะดำเนินการลงไปช่วยชาวบ้านเขียนโครงการในพื้นที่ต่อไป ซึ่งพี่ยา จะหาพี่เลี้ยงเข้ามาช่วยพัฒนาโครงการอีก 1 คนในปัตตานีเพื่อช่วยลดภาร

     

    5 0

    34. พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ครั้งที่ื 2 กับพี่เลี้ยง จ.สตูล สงขลา

    วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.สตูล จ.สงขลา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ประชาสัมพันธ์การเปิดรับข้อเสนอโครงการให้กับพื้นที่ที่สนใจใน จ.สงขลา และ จ.สตูล
    • ได้รู้จักเครือข่ายเพิ่มจากพี่เลี้ยงที่ชวนเข้ามา ทำให้ได้รู้จักโครงการชุมชนท้อง และมีผู้ให้ความสนใจต่อกระบวนการทำโครงการที่หลากหลายมากขึ้น

     

    6 6

    35. พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ครั้งที่ื 2 กับพี่เลี้ยง จ.สตูล นราธิวาส

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทบทวนการพัฒนาข้อเสนอโครงการให้กับพี่เลี้ยง และร่วมแลกเปลี่ยนกรอบแนวคิดของการขึ้นโครงการ โดยเน้นกระบวนการของชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงได้นำเสนอพื้นที่ที่ให้ความสนใจ แต่ไม่ชัดในกรอบแนวคิดการทำโครงการ โดยเฉพ่ะกระบวนการ ซึ่งคุณวินิจ ชุมนูรักษ์ ได้อธิบาย และพี่เลี้ยงก็ช่วยกันเสริม จนเกิดความเข้าใจ และมีความมั่นใจมากขึ้นในการลงไปช่วยชาวบ้านทำกระบวนการพัฒนาโครงการ ซึ่งมีพื้นที่ให้ความสนใจประมาณ 10 พื้นที่

     

    4 4

    36. พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ครั้งที่ื 2 กับพี่เลี้ยง จ.พัทลุง

    วันที่ 4 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อ.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ กล่าวทบทวนหลักการ กระบวนการ ดำเนินโครงการชุมชนท้องถิ่น และให้ความรู้ประเด็นการขึ้นโครงการ เพื่อสร้างความเข้าใจให้พี่เลี้ยง ในการช่วยชาวบ้านดำเนินกระบวนการเขียนโครงการในพื้นที่ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นพี่เลี้ยงใหม่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. พี่เลี้ยงใหม่เข้าใจกระบวนการพัฒนาโครงการ และมีพื้นที่ที่สนใจเข้าร่วมกับโครงการในชุดชุมชนท้องถิ่น หลายพื้นที่ กระจายทั่ว จ.พัทลุง 

     

    10 10

    37. ผู้เสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.สตูล พัฒนาโครงการ

    วันที่ 7 มีนาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมร่างจัดการข้อมูล การจัดทำแผนชุมชน รวมถึงจัดทำร่างข้อเสนอโครงการที่ชัดเจนครบถ้วนและสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีโครงการพัฒนาในเวบไซต์ จำนวน 15 โครงการ

     

    40 40

    38. สจรส . นักวิชาการ พี่เลี้ยง ทบทวนร่างข้อเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ จ.ชุมพร สุราษฎร์ ระนอง

    วันที่ 3 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พื้นที่นำเสนอโครงการ เป็นโครงการที่กรอกข้อมูลลงในเวบไซต์แล้ว และนำเสนอให้ ทีม สจรส. เพื่อปรับข้อเสนอโครงการให้มีความสมบูรณ์ก่อนเข้าเวทีพิจารณาโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • พื้นที่ที่เสนอโครงการมีความชัดเจน ในการปรับเพิ่มข้อมูลจุดที่อ่อน และเข้าใจกระบวนการทำโครงการได้มากขึ้น

     

    20 20

    39. สจรส . นักวิชาการ พี่เลี้ยง ทบทวนร่างข้อเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ จ.สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

    วันที่ 5 เมษายน 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พื้นที่นำเสนอเนื้อหา หลักการ วัตถุประสงค์ และแผนกิจกรรม ให้กับทีม สจรส. เพื่อให้ข้อเสนอแนะในการปรับโครงการให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทางพื้นที่ ที่นำเสนอโครงการ ได้ร่วมกันปรับเนื้อหาในโครงการ โดยเน้นปรับวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด แผนกิจกรรมและกลุ่มเป้าหมาย ให้มีความสอดคล้องกัน

     

    10 10

    40. สจรส . นักวิชาการ พี่เลี้ยง ทบทวนร่างข้อเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ จ.พัทลุง

    วันที่ 8 เมษายน 2557 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจสอบความถูกต้อง ความสมบูรณ์ของเนื้อหาโครงการก่อนส่งให้กรรมการู้ทรงคุณวุฒิ พิจารณาโครงการ โดยทีม สจรส.มอ มีอาจารย์พงค์เทพ สุธีรวุฒิ ให้คำแนะนำการปรับข้อเสนอโครงการ และพี่เลี้ยงในพื้นที่ ดำเนินกระบวนการเวทีโดยพี่เสณี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เสนอโครงการ ได้รับคำแนะนำจากทีม สจรส.และพี่เลี้ยง ในการปรับแก้ข้อเสนอโครงการ และได้ปรับแก้ในช่วงจัดเวที รวมทั้งทีมผู้เสนอโครงการได้กำลังใจในการทำโครงการต่อไป จากพี่เลี้ยงและทีม สจรส.

     

    10 10

    41. สจรส . นักวิชาการ พี่เลี้ยง ทบทวนร่างข้อเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ จ.สตูล

    วันที่ 9 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. พื้นที่นำเสนอโครงการ บอกกล่าวที่มาของการทำโครงการ วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย และแผนกิจกรรม
    2. อ.พงค์เทพ แสุธีรวุฒิ และพี่เลี้ยง จ.สตูล ให้คำแนะนำการปรับแก้โครงการให้มีความชัดเจนมากขึ้น c]tตรวจสอบความถูกต้อง ความสมบูรณ์ของเนื้อหาโครงการก่อนส่งให้กรรมการู้ทรงคุณวุฒิ พิจารณาโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงและพื้นที่ที่ขอโครงการ มีความเข้าใจตรงกันด้านเป้าหมายการทำโครงการ และได้ทำการปรับแก้ในช่วงที่ประชุม

     

    7 7

    42. สจรส . นักวิชาการ พี่เลี้ยง ทบทวนร่างข้อเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ จ.ตรัง

    วันที่ 10 เมษายน 2557 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจสอบความถูกต้อง ความสมบูรณ์ของเนื้อหาโครงการก่อนส่งให้กรรมการู้ทรงคุณวุฒิ พิจารณาโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โครงการยังไม่มีความสมบูรณ์ในด้านเนื้อหา พี่เลี้ยงและพื้นที่ต้องรีบพัฒนาข้อเสนอโครงการให้ชัดเจน 

     

    1 1

    43. สจรส . นักวิชาการ พี่เลี้ยง ทบทวนร่างข้อเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ จ.กระบี่

    วันที่ 10 เมษายน 2557 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจสอบความถูกต้อง ความสมบูรณ์ของเนื้อหาโครงการก่อนส่งให้กรรมการู้ทรงคุณวุฒิ พิจารณาโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โครงการที่มานำเสนอในวันนี้ยังไม่มีควาชัดเจน ทั้งพี่เลี้ยงและพื้นที่ต้องกลับไปทบทวนแผนชุมชนใหม่ และปัญหาที่แท้จริง รวมทั้งสิ่งที่อยากทำ เพื่อเขียนโครงการให้มีความชัดเจนและมีเนื้อหาครอบคลุม

     

    2 2

    44. สจรส . นักวิชาการ พี่เลี้ยง ทบทวนร่างข้อเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ จ.นครศรีธรรมราช

    วันที่ 10 เมษายน 2557 เวลา 17:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พื้นที่นำเสนอโครงการร่วมกับพี่เลี้ยงที่รับผิดชอบ ให้กับทีม สจรส.ฟัง เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ความสมบูรณ์ของเนื้อหาโครงการก่อนส่งให้กรรมการู้ทรงคุณวุฒิ พิจารณาโครงการ โดยมี อ.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ เป็นผู้ให้คำแนะนำในการปรับแก้โครงการให้มีความชัดเจนมากขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    20 20

    45. พิจารณาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้ 2557

    วันที่ 19 เมษายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 19 เมษายน 2557 พูดคุยทำความเข้าใจ แนวทาง กระบวนการพืิจารณาโครงการระหว่างพี่เลี้ยง และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์และความคาดหวัง แนวทางการสนับสนุน  และกระบวนการพิจารณา ขั้นตอน วิธีการ เงื่อนไข โดย      คุณเพ็ญพรรณ จิตตะเสนีย์  ผู้อำนวยการ สำนัก 6  สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) บอกเล่ากระบวนการการพัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ ปี 2557 และโครงการต่อเนื่อง โดย  ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์ และแลกเปลี่ยนความเข้าใจแนวทางการสนับสนุนและหลักการ/กระบวนการพิจารณาโครงการ

    วันที่ 20 เมษายน 2557 แบ่งกลุ่มพิจารณาโครงการ และปรับแก้ตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ

    กลุ่มที่ 1 นพ.ลือชา  วนรัตน์

    กลุ่มที่ 2 นายโชคชัย  ลิ้มประดิษฐ์

    กลุ่มที่ 3 นายวีรพงษ์  เกรียงสินยศ

    กลุ่มที่ 4 นางพรทิพย์  สุประดิษฐ์

    กลุ่มที่ 5 นางพนิดา  ฐปนางกูร

    กลุ่มที่ 6 นพ.ชาตรี  เจริญศิริ

    กลุ่มที่ 7 นายสุรินทร์  กิจนิตย์ชีว์

    กลุ่มที่ 8 ดร.รุ่งเรือง  สุขาภิรมย์

    กลุ่มที่ 9 นายสุจิตต์  ไตรพิทักษ์

    กลุ่มที่ 10 นายสง่า  ดามาพงษ์

    กลุ่มที่ 11 ดร.จิรณี  ตันติรัตนวงศ์

    กลุ่มที่ 12 นายประยูร  อองกุลนะ

    กลุ่มที่ 13นพ.กิจจา เรืองไทย

    กลุ่มที่ 14 นางธิดา  ศรีไพพรรณ์

    วันที่ 21 เมษายน 2557 บอกเล่า อธิบายการทำสัญญาปฏิบัติงาน และเงื่อนไขการสนับสนุนการปฏิบัติงาน โดย คุณปรีดารัตน์ ศรัทธานนท์กุล  จาก สำนัก สร้างสรรค์โอกาสและนวัตกรรม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผ่านการพิจารณาจำนวนทั้งสิ้น 120 โครงการ เป็นโครงการใหม่  85 โครงการ เป็นโครงการต่อเนื่อง 35 โครงการ หากแบ่งตามจังหวัด สตูล 29 โครงการ นคร 33 โครงการ พังงา 4 โครงการ กระบี่ 1 โครงการ สุราษฏร์ 2 โครงการ  นรา 6 โครงการ ยะลา 4 โครงการ สงขลา 5 โครงการ พัทลุง 24 โครงการ ชุมพร 12 โครงการ

     

    300 400

    46. พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ 2557/2 จ. สุราษฎร์ธานี

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ม.สงขลานครินทร์ ชี้แจง เป้าหมาย วัตถุประสงค์และความคาดหวัง แนวทางการสนับสนุน  และกระบวนการพิจารณา ขั้นตอน วิธีการ เงื่อนไข กระบวนการการพัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ ปี 2557 และโครงการต่อเนื่อง แบ่งกลุ่มทบทวนกระบวนการพัฒนาโครงการ
    สำหรับชุมชน/ผู้สนใจที่มีความพร้อมนำความรู้กลับไปทำข้อมูลและทบทวนแผนชุมชน โดยกระบวนการสุนทรียสนทนาในพื้นที่  เพื่อปรับปรุงร่างข้อเสนอโครงการให้มีความครอบคลุมเนื้อหาครบถ้วนและสมบูรณ์  และร่วมปรึกษาหารือระหว่างผู้สนใจเสนอโครงการ/ชุมชนและพี่เลี้ยงระดับจังหวัด และคณะทำงานวิชาการ  และได้เขียนข้อเสนอโครงการเชิงหลักการ(Concept Paper) 2-3 หน้า ส่งให้ สจรส. และทีมพี่เลี้ยงพัฒนาจะคัดเลือกข้อเสนอโครงการ เพื่อเข้าร่วมประชุมการพัฒนาข้อเสนอโครงการ ทั้งนี้ สจรส.ปรับแบฟอร์มข้อเสนอโครงการให้เหมาะสมตามสสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่  จ.สุราษฎร์ธานี ทำความเข้าใจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์และความคาดหวัง แนวทางการสนับสนุน  และกระบวนการพิจารณา ขั้นตอน วิธีการ เงื่อนไข กระบวนการการพัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ในพื้นที่ภาคใต้ ปี 2557 และโครงการต่อเนื่อง นำความรู้กลับไปทำข้อมูลและทบทวนแผนชุมชน โดยกระบวนการสุนทรียสนทนาในพื้นที่  เพื่อปรับปรุงร่างข้อเสนอโครงการให้มีความครอบคลุมเนื้อหาครบถ้วนและสมบูรณ์  และร่วมปรึกษาหารือระหว่างผู้สนใจเสนอโครงการ/ชุมชนและพี่เลี้ยงระดับจังหวัด และคณะทำงานวิชาการ

     

    50 0

    47. ประชุมทีมพี่เลี้ยงพัฒนาและติดตามโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.ระนอง

    วันที่ 18 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำความเข้าใจทีมพี่เลี้ยงพัฒนาและติดตาม และผู้เสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.ระนอง

    • หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข

    • บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง

    • การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน

    • การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ

    • ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด

    • ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส.

    ชุมชนที่มีความพร้อมกลับไปทำข้อมูลและทบทวนแผนชุมชน บันทึกโครงการ และพัฒนาโครงการผ่านเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงพัฒนาและติดตาม และผู้เสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.ระนอง หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง
    การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส.

     

    20 35

    48. ประชุมพัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงพัฒนาและ ติดตามโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.ชุมพร

    วันที่ 18 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบผู้รับผิดชอบโครงการ ร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.ชุมพร สุราษฎร์ธานี  ต่อเนื่อง 54-56 รายงานผลการดำเนินงาน พร้อมแสดงหลักฐานการใช้จ่ายเงินในพื้นที่แก่เจ้าหน้าที่ สจรส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการ ร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.ชุมพร สุราษฎร์ธานี เรียนรู้การบริหารจัดการโครงการ ระบบการเงิน ระบบรายงานผลการดำเนินงาน ตลอดจนทบทวน/วิเคราะห์โครงการ ตัวชี้วัดโครงการ และวางแผนการทำงานร่วมกับผู้ติดตาม และกระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการ การรายงานผลติดตาม ตาม www.happynetwork.org รวมถึงการประเมินผลโครงการด้วยตนเองของผู้รับทุนโครงการ 

     

    20 0

    49. ติดตามโครงการ ชช.น่าอยู่ 56 จ.ชุมพร

    วันที่ 18 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 - 17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้รับผิดชอบโครงการ จะนำเอกสารการเงิน รายงานบันทึกกิจกรรมในเวบไซต์ ที่พี่เลี้ยงได้ตรวจสอบแล้ว ส่งให้ สจรส.ช่วยตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง ก่อนส่งรายงานให้ สสส. โดยทาง สจรส.จะตรวจสอบ 4 เรื่อง
    1. การลงข้อมูลในเวบไซต์ให้ตรวกับเอกสารสัญญาโครงการ และมีเนื้อหาครบถ้วน
    2. เนื้อหาการรายงานกิจกรรม ตอบกับวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดแต่ละกิจกรรม
    3. การลงค่าใช้จ่ายในเวบไซต์ให้ตรงกับหลักฐานการเงิน
    4. หลักฐานการเงินถูกต้องตามรูปแบบราชการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • โครงการที่ยังลงข้อมูลในเวบไซต์ไม่เสร็จ หรือข้อมูลไม่ครบถ้วน ให้ผู้รับผิดชอบและพี่เลี้ยงดำเนินการปรับแก้ตามคำแนะนำ
    • เอกสารการเงินที่ขาด และไม่เรียบร้อย ส่วนใหญ่จะไม่มีใบลงทะเบียน การเบิกจ่ายไม่สมเหตุสมผล และไม่ตรงกับการรายงานทางเวบไซต์ จะรีบชี้แจง และดำเนินการให้รีบแก้ไข โดยเน้นย้ำกับพี่เลี้ยงให้ช่วยติดตามแนะนำด้วย
    • กรณีโครงการที่มีปัญหาอุปสรรค หรือที่บ่งชี้ความเสี่ยงที่จะล่าช้า ได้ร่วมกันหารือ ตกลงร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาว่าจะปิดโครงการ หรือให้เวลาจัดทำเอกสารต่อ แล้วรีบส่งรายงานไปยัง สสส.

     

    30 30

    50. ประชุมทีมพี่เลี้ยงพัฒนาและติดตามโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ จ.นครศรีธรรมราช

    วันที่ 19 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงติดตามประเมินผลโครงการ ติดตามการดำเนินโครงการ การบริหารจัดการโครงการ การรายงานผลการดำเนินงานผ่านเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยง/ผู้ติดตามเข้าร่วมการพัฒนาศักยภาพ  ในด้านการบริหารโครงการ การติดตามสนับสนุน และสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติงานได้ ผู้รับทุนได้รับการพัฒนาศักยภาพด้าน การบริหารจัดการ การเขียนรายงานผลการดำเนินงานโครงการ การติดตามสนับสนุน และนำความรู้ไปปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

     

    40 0

    51. พัฒนาโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ 57 รอบสอง จ.พังงา

    วันที่ 21 พฤษภาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชุมชนที่สนใจเสนอโครงการ มาประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกัน โดย สสส.สนับสนุนเฉพาะค่าลงทะเบียน ค่าที่พัก และ ค่าอาหารชุมชนละ 2 คน ส่วนค่าเดินทางให้ชุมชนรับผิดชอบร่วมกัน

    เนื้อหาในการประชุมเชิงปฏิบัติการเรียนรู้ชุมชนเป็นสุข

    • หลักคิดในการสร้างชุมชนเป็นสุข
    • บทเรียนและประสบการณ์จากบ้านหนองกลางดง ไม้เรียง
    • การจัดการข้อมูลชุมชน การรวบรวม การวิเคราะห์ การนำเสนอ และการนำข้อมูลไปใช้ รวมถึง การทำแผนชีวิตชุมชน
    • การจัดทำและการทบทวนแผนชุมชน แผนสุขภาวะ และแผนปฏิบัติการ
    • ลักษณะโครงการที่พึงประสงค์ และตัวอย่างโครงการจากพื้นที่ปฏิบัติการจริงในแต่ละกลุ่มจังหวัด
    • ทิศทางและกระบวนการสนับสนุนของ สสส. การจัดทำแผนการพัฒนาโครงการ ร่วมกัน ระหว่างพี่เลี้ยงพัฒนา ติดตาม ผู้เสนอโครงการ จ.พังงา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. พี่เลี้ยงพัฒนา ติดตาม ผู้เสนอโครงการ จ.พังงามีความเข้าใจเรื่องการขับเคลื่อนชุมชนสุขภาวะด้วยกระบวนการทางสังคม การใช้ข้อมูลชุมชนในการทำแผนชุมชน รวมถึงลักษณะโครงการที่พึงประสงค์
    2. พี่เลี้ยงพัฒนา ติดตาม ผู้เสนอโครงการ จ.พังงามีแผนกลับไปทำข้อมูลและทบทวนแผนชุมชน

     

    40 26

    52. พัฒนาข้อเสนอโครงการชุมชนท้องถิ่นปี 2557/2

    วันที่ 1 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. พัฒนาข้อเสนอโครงการ

      1.1 ผู้เสนอโครงการใน จ.สงขลาและ จ.ยะลา นำเสนอปัญหาในชุมชน สิ่งที่ต้องการทำโครงการและกิจกรรมขั้นตอนการทำโครงการ ซึ่งยังคงเน้นการทำกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหา แต่ยังไม่เห็นกิจกรรมที่เป็นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชน

      1.2 อ.พงค์เทพ ได้อธิบายและสร้างความเข้าใจต่อเป้าหมายของการทำโครงการร่วมสร้างชุมชนฯ คือ การทำให้ชุมชนน่าอยู่ มี 2 องค์ประกอบ คือ ชุมชนต้องเข้มแข็งและสามารถจัดการตนเองได้ ตัวชี้วัดชุมชนเข้มแข็ง มี 3 อย่าง คือ 1) ใช้ข้อมูลความรู้ในการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนชุมชน 2) จัดทำแผนชุมชนและแผนปฏิบัติการ และ 3) ชุมชนปฏิบัติการตามแผนอย่างมีส่วนร่วม มีการบริหารโครงการร่วมกัน เกิดการเรียนรู้ร่วมจากการทำโครงการ  ทั้ง 3 อย่างนี้เป็นรายละเอียดการเขียนโครงการที่ทาง สสส.จะให้การสนับสนุนโครงการละ 2 แสนบาท และได้เน้นย้ำเป้าหมายสำคัญของการทำโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ คือ การทำให้ชุมชนมีกระบวนการที่สามารถนำไปสู่การแก้ไขปัญหาร่วมกันได้ โดยใช้ทุนที่มีอยู่ในชุมชนเข้ามาจัดการ คือ ทุนคน สภาพแวดล้อมและกลไกในพื้นที่

    2. ประชุมทีมพี่เลี้ยงหารือการบริหารจัดการโครงการและการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง

      2.1 คุณวินิจ ชุมนูรักษ์ ได้นำเสนอโครงการปี 57 จำนวน 230 โครงการ ได้รับทุนจาก สสส.แล้ว 120 โครงการ ยังเหลือโครงการที่ต้องพัฒนาให้ได้ตามเป้าอีก 110 โครงการ เน้นพัฒนาโครงการในจังหวัด ระนอง ตรัง กระบี่ ภูเก็ต ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ปัญหาที่พบของพี่เลี้ยง คือ พี่เลี้ยงบางคนไม่ลงติดตามและมีแนวทางหาพี่เลี้ยงเพิ่มในจังหวัดปัตตานี

      2.2 พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงจำนวน 4 ด้าน คือ การทำเวบไซต์ การทำรายงาน การตรวจสอบและดูแลการเงิน และการถอดบทเรียนการสังเคราะห์งาน มีการจัดกลุ่มพี่เลี้ยงให้ตามพี่เลี้ยงด้วยกัน โดยแบ่งตามโซนในจังหวัดใกล้เคียง เพื่อตรวจสอบข้อมูลการเงินและรายงานก่อนส่ง สจรส. ซึ่งในวันที่ 13 มิ.ย.57 จะทำการฝึกอบรมการเขียนรายงานให้กับพี่เลี้ยง โดยให้พี่เลี้ยงช่วยกันฝึกอบรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงและผู้เสนอโครงการมีความเข้าใจต่อเป้าหมายการเขียนโครงการ โดยเน้นข้อมูลการวิเคราะห์ปัญหาชุมชน ทุนในชุมชน เพื่อนำมาขับเคลื่อนสู่กระบวนการร่วมมือกันของคนในชุมชน ในช่วงบ่ายผู้เสนอโครงการได้ดำเนินการปรับแก้โครงการตามการอธิบาย โดยมีพี่เลี้ยงช่วยให้คำแนะนำ

     

    40 20

    53. ประชุมปรับคู่มือติดตามประเมินโครงการ

    วันที่ 2 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมการปรับเนื้อหาเวบไซต์พัฒนาและติดตามโครงการ ทีม สจรส.มอ. ระบุปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้เวบไซต์ และฐานข้อมูลที่ต้องการเพิ่ม เพื่อให้การใช้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

              ทีม สจรส.มอ.ระบุปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้เวบไซต์ มีดังนี้ 1.ข้อมูลหายในช่วงที่กำลังพิมพ์  2. เวลาสั่งปริ้นเนื้อหาโครงการเพื่อทำรายงาน ตัวอักษรจะมีขนาดไม่เท่ากัน และใช้เนื้อที่กระดาษเยอะมาก 3. การแก้ไขข้อมูลในบางครั้งหายไปไม่สามารถกู้คืนได้ 4. เวลาลงรูปภาพ เมื่อจะโหลดมาใช้ช้ามาก เนื่องจากไฟล์รูปภาพมีความจุเยอะ

     

    6 4

    54. พัฒนาข้อเสนอโครงการพื้นที่จังหวัดกระบี่และตรัง

    วันที่ 4 มิถุนายน 2557 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สร้างความเข้าใจต่อการทำโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ให้กับผู้เสนอโครงการ
          1.1 อ.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ ผู้อำนวยการ สจรส.มอ.อธิบายที่มาของการให้ทุนทำโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ สนับสนุนโดย สสส. เน้นการสร้างสังคมให้มีสุขภาวะที่เป็นสุข การให้ทุนของ สสส.จะให้ผ่านองค์กรต่าง ๆ ดำเนินการทำโครงการสร้างสุขภาวะที่เป็นสุข ทำให้โอกาสในการเข้าถึงชุมชนน้อย ทาง สสส.จึงเปิดสำนักสร้างสรรค์โอกาสและนวัตกรรม เพื่อเปิดโอกาสให้ชุมชน กลุ่มเครือข่าย ที่อยากทำเรื่องสุขภาวะสามารถขอทุนทำโครงการได้ แต่ปัญหาที่พบ คือ โครงการไม่ผ่านเป็นจำนวนมาก เพราะเน้นการทำกิจกรรม ขาดการสร้างกระบวนการของคนในชุมชนหรือกลุ่มองค์กร ทางสำนักฯ จึงทำชุดโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ ขึ้น มีเป้าหมายที่สำคัญ คือ สร้างทีมทำงานให้เกิดขึ้นและลงไปช่วยชุมชนพัฒนาโครงการ ให้คนในชุมชนเกิดกระบวนการเรียนรู้จากการทำโครงการ     1.2 ชมวิดีทัศน์ชุมชนบ้านไม้เรียง ที่คนในชุมชนเกิดการเรียนรู้จากการทำโครงการ โดยใช้ข้อมูลเป็นฐานการในเรียนรู้ร่วมกัน
          1.3 สรุปการเรียนรู้ที่ได้จากการดูวิดีทัศน์ ซึ่งคือ กระบวนการแก้ไขปัญหาที่สำคัญของชุมชนร่วมกัน คือ การเรียนรู้จากปัญหา ต้องรู้สถานการณ์ปัญหา สาเหตของปัญหา และจะแก้ไขปัญหาอย่างไร ซึ่งในชุมชนบ้านไม้เรียงวิธีการแก้ไขปัญหา จะมีการรวมคน ปฏิบัติการร่วมกัน และเรียนรู้ร่วมกัน ด้านการทำข้อมูล ทำแผนชุมชน และทำกิจกรรม ทุกขั้นตอนต้องทำร่วมกัน ซึ่งสอดคล้องกับเกณฑ์การให้ทุนของ สสส. คือ การรวมคนเพื่อสร้างกลไกของชุมชน
    2. วิธีการเขียนโครงการ มีกรอบแนวคิดที่สำคัญ คือ     2.1 ข้อมูลสถานการณ์ชุมชน ทุนที่มีในชุมชน เช่น คน กลไก ทรัพยากร ภูมิปัญญา วัฒนาธรรม และสภาพปัญหาที่มีในชุมชน เช่น ปัญหาทรัพยากร ยาเสพติด เป็นต้น     2.2. เลือกเรื่องที่จะทำ 1-2 ประเด็น อาจจะเป็นประเด็นปัญหาหรือพัฒนาทุนของชุมชน     2.3 นำข้อมูลสถานการณ์ชุมชนมาปฎิบัติการทำแผนร่วมกัน และดำเนินการตามแผนร่วมกัน เน้นสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
    3. เงื่อนไขในการเข้าร่วมโครงการ     3.1 เป็นพื้นที่ทำงานระดับหมู่บ้าน หรือชุมชนในเขตเทศบาล     3.2 เพื่อสร้างชุมชนเข้มแข็ง โดยเอาปัญหาเป็นตัวเดินเรื่อง     3.3 คนในหมู่บ้านหรือชุมชนรับรู้โดยมีเวลาประชุมสมำเสมอ     3.4 คณะทำงานต้องมีผู้ใหญ่บ้านหรือประธานชุมชน กรรมการหมู่บ้าน และแกนนำชุมชนเป็นอย่างน้อย     3.5 ต้องมีข้อมูลสถานการณ์ชุมชน     3.6 มีแผนปฏิบัติการดำเนินการร่วมกัน

    4. ลักษณะโครงการที่ สสส.ไม่สนับสนุน   4.1 มีการดื่มเหล้าอยู่ในช่วงทำกิจกรรม   4.2 มีประวัติไม่ดีในการรับทุนทำโครงการที่ผ่านมา   4.3 เป็นโครงการที่มีผลประโยชน์ด้านการเมือง   4.4 หาทุนจัดซื้อรางวัล หรือเพื่อธุรกิจตนเอง   4.5 การจัดซื้ออุปกรณ์ขององค์กร 5.เวบไซต์ในการติดตามโครงการ ในช่วงทำโครงการ ผู้เสนอโครงการหรือทีม ส่งบันทึกกิจกรรม รายงานการเงิน ผ่านเวบไซต์คนใต้สร้างสุข ซึ่งเป็นระบบการติดตามของโครงการ

    5. คำถามข้องใจ เป็นคำถามข้อสงสัยจากผู้เสนอโครงการ เช่น กังวลเพราะใช้คอมไม่เป็น กลัวทำโครงการยาก หากทำไปแล้วปีหน้าจะขอต่อโครงการได้อีกไม่

    ช่วงบ่าย เวทีพัฒนาโครงการ ผู้เสนอโครงการใน จ.กระบี่ และตรัง นำเสนอสิ่งที่อยากทำ และสภาพปัญหาในชุมชน มีพี่เลี้ยงคอยให้ข้อมูลเพิ่มเติม และได้รับคำแนะนำจาก อ.พงค์เทพ ด้านการเขียนโครงการให้มัความชัดเจนและอยู่ในหลักการของ สสส. คือ เป็นโครงการที่มีแผนงานสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เกิดขึ้น โดยตัวนำไปสู่กระบวนการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้เสนอโครงการ และผู้สนใจทั่วไป ที่เข้าร่วมฟังการอธิบายหลักการทำโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ ในช่วงแรกมีความสงสัยต่อโครงการ และรู้สึกกังวลว่าทำยาก โดยเฉพาะการใช้เวบไซต์ แต่เมื่อได้พูดคุยซักถาม การทำโครงการ ทำให้รู้สึกมั่นใจและสบายใจ พร้อมกับมีความมุ่งมั่นที่จะทำโครงการเพื่อสร้างการเรียนรู้ร่วมกัน
    2. ผู้เสนอโครงการในช่วงบ่ายและพี่เลี้ยง เข้าใจหลักการเขียนโครงการ คือ การนำข้อมูลในชุมชน ด้าน ทุน สถานการณ์ มาจัดทำแผนปฏิบัติการ และดำเนินการร่วมกัน โดย อ.พงค์เทพ เน้นย้ำแผนที่สร้างให้ชุมชนเกิดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นตัวเดินเรื่อง และให้คำแนะนำแต่ละโครงการต่อข้อมูลที่ต้องไปศึกษาเพิ่ม โดยเฉพาะเรื่องที่จะทำให้มีความชัดเจน ทำให้ผู้เสนอโครงการเข้าใจและพร้อมที่จะนำไปดำเนินการเขียนโครงการภายใน 1 เดือน

     

    30 46

    55. พัฒนาข้อเสนอโครงการจังหวัดตรัง

    วันที่ 5 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชมวิดีทัศน์ ชุมชนบ้านไม้เรียง และ การทำแผนบ้านหนองกลางดง และสรุปประเด็นสำคัญจากวิดีทัศน์
          - ได้สถานการณ์ปัญหา รู้ปัญหาของชุมชนมากขึ้น     - เกิดการรวมตัวแก้ไขปัญหา มีการรวมตัวของสภาผู้นำ     - ทำข้อมูลให้รู้ว่ามีปัญหาอะไร มีทุนอะไรอยู่ในชุมชน     - วิเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน ชุมชนมีปัญหาอะไร มาจากสาเหตอะไร และจะแก้ไขอย่างไร     - ทำแผนชุมชนขึ้นมา โดยระบุชัดเจนว่า ใคร ทำอะไร อย่างไร     - แบ่งกลุ่มกันทำตามแผน ตามกลุ่มอาชีพ     - เรียนรู้และสรุปบทเรียนร่วมกัน มีการทบทวนปรับปรุงแผนอยู่ตลอดเวลา
    2. สสส.สนับสนุนทุนทำโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ จำนวน 230 โครงการ มีโครงการได้รับทุนไปแล้วจำนวน 120 โครงการ เกณฑ์ในการสนับสนุนโครงการ ต้องประกอบด้วย ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาและทุนในชุมชน มีแผนชุมชนและปฏิบัติการร่วมกัน จุดเน้นในการสนับสนุนโครงการของ สสส. คือ ต้องสร้างกระบวนการชุมชน และสามารถไปช่วยแก้ไขปัญหาของกลุ่มอื่นได้ องค์ประกอบในการทำโครงการ มี 4 อย่าง คือ มีการรวมกลุ่มของคนในชุมชน เห็นกระบวนการจัดการข้อมูล มีแผนชุมชน และปฏิบัติการทำกิจกรรมร่วมกัน มีการเรียนรู้และบริหารจัดการร่วมกัน
    3. เงื่อนไขที่ สสส.ให้การสนับสนุนโครงการ มีรายละเอียด ดังนี้     3.1 พื้นที่ทำงานจำกัดระดับหมู่บ้าน หรือชุมชนในเขตเทศบาล     3.2 สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง โดยอาศัยปัญหาเป็นตัวเดินเรื่อง     3.3 ให้คนในชุมชนรับรู้การดำเนินงาน     3.4 คณะทำงานต้องมีผู้ใหญ่บ้าน ประธานชุมชน คณะกรรมการชุมชน ตัวแทนชุมชน     3.5 มีข้อมูลสถานการณ์ชุมชน มีแผนชุมชน เป็นโครงการที่ผ่านการคุยในเวทีชุมชน
    4. โครงการที่ สสส.ไม่สนับสนุน เป็นโครงการทีมีลักษณะ ดังนี้     4.1 โครงการที่สนับสนุนเครื่องหมายแอลกอฮอล์     4.2 บุคคลหรือชุมชนที่มีประวัติด่างพร้อยด้านการเงิน     4.3 โครงการที่มีจุดมุ่งหมายเกี่ยวพันกับผลประโยน์ทางการเมือง     4.4 โครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อหาทุนหรือให้รางวัล     4.5 โครงการที่มีลักษณะเป็นงานประจำ
          4.6 โครงการงานพัฒนา เช่น จุดลอกคูคลอง เป็นต้น     4.7 โครงการที่เป็นลักษณะช่วยเหลือทางสังคมสงเคราะห์     4.8 โครงการจัดหาครุภัณฑ์
    5. ในระหว่างทำโครงการ ต้องรายงานกิจกรรมผ่านเวบไซต์ จะฝึกสอนให้ใช้โดยพี่เลี้ยงและเจ้าหน้าที่ สจรส.มอ. เพื่อรายงานผลการทำกิจกรรมและรายงานการเงิน
    6. คุณชัยพร จันทร์หอม กล่าวเสริมการทำโครงการ เน้น การสร้างกระบวนการทำให้เกิดการเรียนรู้ของคนที่ทำโครงการ
    7. แลกเปลี่ยน การทำโครงการที่สร้างการเรียนรู้ร่วมกัน และซักถามประเด็นที่สงสัย เพื่อสร้างความเข้าใจต่อการทำโครงการ
      ช่วงบ่ายพัฒนาโครงการ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ การจัดการฐานทรัพยากร เศรษฐกิจพอเพียง และเด็กเยาวชนฟื้นฟูวัฒนธรรม ชี้แจงกระบวนการทำโครงการโดย อ.เสรี เริ่มจากการศึกษาข้อมูล การทำแผนชุมชนให้ครอบคลุม การป้องกัน ทำลาย การฟื้นฟู  ทำกิจกรรม ทุกขั้นตอนเป็นการทำอย่างมีส่วนร่วม และร่วมกับภาคีหลัก โจทย์ที่สำคัญออกแบบให้มีการกระบวนการทำงานร่วมกัน ขั้นตอนสุดท้ายเป็นการติดตามและประเมินเป็นระะยะ ก่อนจบโครงการสรุปบทเรียนร่วมกันว่าโครงการที่ทำเกิด ผลเป๋นความรู้ ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้น หลังจากนั้นได้นำเสนอโครงการในแต่ละประเด็น มีข้อแนะนำปรับโคพิ่มเติม ด้านการศึกษาข้อมูลเรื่องที่จะทำให้มีความชัดเจน และขั้นตอนแผนกิจกรรมต้อง สร้างการเรียนรู้ร่วมกัน      


    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้เสนอโครงการจาก 12 พื้นที่ เข้าใจเป้าหมายการสนับสนุนทุนทำโครงการ จากการชมวิดีทัศน์ และเข้าใจกรอบแนวคิด ข้อมูลที่สำคัญในการเขียนข้อเสนอโครงการ
    2. จากการพูดคุยแลกเปลี่ยน ทำให้เห็นภาพการทำโครงการที่สร้างการเรียนรู้ได้มากขึ้น โดยเริ่มจากการสำรวจข้อมูลสภาพปัญหา เพื่อนำข้อมูลที่ได้สู่การขับเคลื่อนจัดการปัญหาของชุมชนร่วมกัน
    3. ได้คำแนะนำในการปรับโครงการให้สอดคล้องกับเป้าหมายของ สสส. และเข้าใจการทำโครงการเพื่อสร้างกระบวนการให้เกิดขึ้นในพื้นที่ ไม้ใช่การขอทุนเพื่อนำไปสร้างอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ 

     

    30 34

    56. โครงการบ้านปากคลองวัดแดง ร่วมใจลดอุบัติเหตุ

    วันที่ 11 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ชุมชนบ้านปากคลองวัดแดง หมู่ที่ 6 ตำบลเขาพระบาท อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้จัดกิจกรรม “โครงการบ้านปากคลองวัดแดง ร่วมใจลดอุบัติเหตุ” การจัดกิจกรรมในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการลดอุบัติเหตุในชุมชนและรณรงค์การสวมหมวกกันน็อคหรือหมวกนิรภัยในพื้นที่โดยมีภาคีเครือข่ายการมีส่วนร่วมของกิจกรรม ได้แก่ สถานีภูธรตำรวจการะเกด อบต.เขาพระบาท โรงเรียนวัดแดง ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำชุมชน ซึ่งก่อนหน้ากิจกรรมในวันนี้ชุมชนได้ ให้ความรู้กลุ่มประชาชนเกี่ยวกับกฎหมายจราจร สำรวจจุดเสี่ยงและแก้ไขจุดเสี่ยง ให้ความรู้แก่นักเรียน ผู้ปกครองเกี่ยวกับการป้องกันและลดอุบัติเหตุในชุมชน     จากสถิติการสำรวจของโครงการในการสุ่มตรวจการสวมหมวกนิรภัยมีปริมาณน้อย และเกิดอุบัติเหตุในจุดเสี่ยงบ่อยครั้ง จากการณรงค์และร่วมแถลงนโยบายลดอุบัติในครั้งนี้ตั้งเป้าหมายไว้ว่า ทุกคนในชุมชนสวมหมวกนิรภัย 100 เปอร์เซ็นต์ และลดอุบัติเหตุในอนาคต
          ซึ่งกิจกรรมในงานเริ่มตั้งแต่

          เวลา 08.30 น. นัดรวมขบวนรณรงค์ลงทะเบียนที่โรงพยาบาทส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาพระบาท ประชาชนร่วมมือ ร่วมใจนำรถของตนเองและนำหมวกกันนิรภัย รวมทั้งป้ายรณรงค์เตรียมความพร้อมในการเดินขบวน
          เวลา 09.00 น. พิธีเปิดขบวนรณรงค์กล่าวความเป็นมาของกิจกรรม โดยทราบวัตถุประสงค์ร่วมกันที่ชัดเจน คือ สวมหมวกนิรภัยทุกคนในชุมชน 100 เปอร์เซ็นต์ สะท้อนปัญหาการสูญเสียจากอุบัติเหตุ นำไปสู่การป้องกันเพื่อลดอุบัติเหตุ
          เวลา 09.30 น. ปล่อยขบวนรถรณรงค์ ประกอบด้วย รถประชาชน รถ อสม. โดยการมีส่วนร่วมของรถหมู่ 1 ถึง หมู่ 9 จำนวนรวมกันกว่า 300 คัน รวมทั้งในขบวนมีรถสถานีตำรวจภูธรการะเกดและกลองยาว รถยนต์ติดป้ายรณรงค์ขับขี่ปลอดภัยใส่หมวกกันน็อค รถ EMS และรถมูลนิธิสยามฯ โดยขบวนเริ่มจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาพระบาท ขับไปยังหัวเขาจุก แล้วเวียนไปกลุ่มปากช่อง และเวียนกลับรถไปยังโรงเรียนวัดแดง ประชาชนตามบ้านเรือนและร้านค้าชุมชนได้เห็นกิจกรรมการรณรงค์

          เวลา 10.30 ถึง 11.30 น. ถึงที่จุดหมายรณรงค์ได้ผ่านร้านค้าชุมชน บ้านเรือนในชุมชน มาถึงจุดหมายโรงเรียนวัดแดง ซึ่งในงานได้จัดแสดงผลผลิตโครงการชุมชนและโรงเรียน เช่น น้ำหมักชีวภาพ นำยาเอนกประสงค์ พืชผักท้องถิ่น พืชสมุนไพร ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ประกวดวาดภาพเยาวชน ประกวดคำขวัญเยาวชน เป็นต้น และกล่าวแถลงนโยบายร่วมรณรงค์ลดอุบัติเหตุจาก สถานีตำรวจภูธรการะเกด สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเชียรใหญ่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กล่าวพิธีเปิดกิจกรรม “โรงเรียนและชุมชนลดอุบัติเหตุ” โดยนายอำเภอเชียรใหญ่ และกล่าวรายงานโดยผู้อำนวยการโรงเรียนวัดแดง จากนั้น ร่วมกันกล่าวพันธะสัญญาลดอุบัติเหตุ โดย นายก อบต.เขาพระบาท
        โดยมีพันธะสัญญาร่วมกันว่า
        ข้อ 1. พวกเราทุกคน จะสวมหมวกกันน็อคทุกครั้ง ที่ขับขี่รถมอเตอร์ไซด์
        ข้อ 2. พวกเราทุกคน จะปฏิบัติตามกฎระเบียบ วินัยจราจร อย่างเคร่งครัด
        ข้อ 3 พวกเราทุกคน จะตักเตือนบุตรหลาน ไม่ขับรถซิ่ง ไม่ขับย้อนศร
        ข้อ 4. พวกเราทุกคน จะร่วมกันสร้างชุมชนเขาพระบาท ให้น่าอยู่ ให้น่าอาศัย

          เวลา 11.30 ถึง 12.00 น. นักเรียนขับร้องบทกลอนท้องถิ่น และประชาชนและนักเรียนนำการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ โดยการเต้นแอโรบิคตามเสียงเพลง และพักรับประทานอาหาร รวมทั้งประชาชนเยี่ยมชมบูทการแสดงผลผลิตชุมชนอย่างสนใจ สนุกสนาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สามารถสร้างการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ได้แก่ ประชาชนตำบลเขาพระบาท หมู่ที่ 1 ถึง หมู่ที่ 9 นักเรียนคุณครูโรงเรียนวัดแดง สถานีภูธรตำรวจการะเกด ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำชุมชน จะเห็นได้ว่ากลุ่มเครือข่ายมีหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุโดยตรง คือมีหน่วยงานทำหน้าที่ตั้งแต่ ป้องกัน ส่งเสริม สนับสนุน ก่อนการเกิดอุบัติเหตุ เมื่อเกิดอุบัติเหตุมีหน่วยขนส่งผู้ป่วย หน่วยรักษาพยาบาล ซึ่งเครือข่ายจะครอบคลุม ซึ่งในอนาคตถ้ามีการบริหารจัดการ มีกระบวนการนำไปสู่การแลกเปลี่ยนระหว่างเครือข่ายบ่อยครั้ง มีกิจกรรมที่เชื่อมโยงประสานกันอย่างรูปธรรมในพื้นที่และสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ จะนำไปสู่ความยั่งยืนของกิจกรรม และบรรลุความสำเร็จของเป้าหมาย
    • การสร้างภาคีเครือข่ายนำไปสู่การปฏิบัติร่วมกัน เคารพข้อตกลงในพันธะสัญญาเป็นที่รับรู้ของคนในชุมชนที่จะนำไปสู่การปฏิบัติ คือ ข้อ 1. พวกเราทุกคน จะสวมหมวกกันน็อคทุกครั้ง ที่ขับขี่รถมอเตอร์ไซด์ ข้อ 2. พวกเราทุกคน จะปฏิบัติตามกฎระเบียบ วินัยจราจร อย่างเคร่งครัด ข้อ 3 พวกเราทุกคน จะตักเตือนบุตรหลาน ไม่ขับรถซิ่ง ไม่ขับย้อนศร ข้อ 4. พวกเราทุกคน จะร่วมกันสร้างชุมชนเขาพระบาท ให้น่าอยู่ ให้น่าอาศัย
    • นักเรียน เป็นกลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่ได้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ เช่น การออกกำลังกาย การประกวดภาพวาด การประกวดคำขวัญเกี่ยวกับอุบัติเหตุ กฏจราจร เป็นต้น ทำให้เยาวชนเกิดการคิดวิเคราะห์ด้วยตนเองในการป้องกันอุบัติเหตุ การเคารพกฏจราจรในอนาคตได้

     

    7,000 500

    57. ประชุมพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงติดตาม เรื่องการเขียนรายงาน

    วันที่ 13 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 - 17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เช้า ประชุมพี่เลี้ยงชุดกลาง

        อ.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ ชี้แจงวัตถุประสงคฺการจัดประชุมทีมพี่เลี้ยง และการแบ่งกลุ่มพี่เลี้ยงออกเป็น 2 ชุด คือ พี่เลี้ยงชุดกลางแต่ละจังหวัด และพี่เลี้ยงติดตามโครงการในพื้นที่ เนื่องจากที่ผ่านมาโครงการในภาคใต้มีปัญหา เรื่อง รายงานโครงการไม่สมบูรณ์ทั้งรายงานกิจกรรมและรายงานการเงิน และโครงการถูกยุติและระงับโครงการเป็นจำนวนมาก ทั้งหมดมีสาเหตุจาก พื้นที่บริหารจัดการไม่เป็น และพี่เลี้ยงขาดการติดตามในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ทาง สจรส.จึงจัดตั้งพี่เลี้ยงชุดกลางขึ้นมา เพื่อทำหน้าที่ช่วยตรวจความเรียบร้อยของรายงาน

        พี่เลี้ยงชุดกลาง บอกเล่าปัญหาในการติดตามโครงการ ทั้งปัญหาการติดตามผ่านเวบไซต์และการลงติดตามของพี่เลี้ยงในพื้นที่ ในส่วนของเวบไซต์ได้เพิ่มการแจ้งเตือนโครงการล่าช้า เพื่อให้พี่เลี้ยงและทีม สจรส.เห็นชัดเจน และสามารถติดตามโครงการในพื้นที่ได้เร็วขึ้น ปัญหาของพี่เลี้ยงส่วนใหญ่ยังเป็นเรื่องของเวลาในการติดตาม

        บทบาทของพี่เลี้ยงชุดกลาง ที่จัดตั้งขึ้นมา เพื่อทำหน้าที่แทน สจรส. โดยจะติดตามผ่านเวบไซต์ การตรวจสอบความเรียบร้อยของรายงานประจำงวดและรายงานการเงินทั้ง ง.1 และ ง.2 ก่อนจะส่งมาให้ สจรส. ซึ่งจะช่วยลดภาระงานของ สจรส.ได้ ก่อนจะส่งรายงานต่าง ๆ ไปยัง สสส. หลังจากนั้นคุณภานุมาศ อธิบายการติดตามโครงการผ่านเวบไซต์ การเพิ่มเติมข้อมูล ปัญหาที่พบในการลงข้อมูล และวิธีแก้ไข ปัญหาสำคัญที่พบ คือ ข้อมูลหาย การป้องกันให้พิมพ์ใน Microsoft word ไว้ก่อน หรือก่อน save ให้ copy ลงในMicrosoft word ไว้ก่อนทุกครั้ง

    บ่าย ประชุมพี่เลี้ยงติดตามโครงการภาคใต้

    1. แนะนำทีมงานโครงการชุมชนท้องถิ่น แบ่งออกเป็น 3 ชุด คือ พี่เลี้ยงที่ลงไปหนุนเสริมการติดตามโครงการในพื้นที่ พี่เลี้ยงชุดกลาง และทีม สจรส.

    2. กำหนดค่าตอบแทนของพี่เลี้ยง โครงการละ 14,000 บาท แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 10,000 บาท ให้พี่เลี้ยงติดตามโครงการ และอีก 4,000 บาท เป็นค่าดูแลความเรียบร้อยรายงานของพี่เลี้ยงชุดกลาง

    3. กติกาการทำงานของพี่เลี้ยงติดตามโครงการ 3.1 พี่เลี้ยงลงติดตามโครงการในพื้นที่ 3 ครั้งต่อโครงการ  คือ ช่วงปฐมนิเทศโครงการ ช่วงทบทวนโครงการ และช่วงปิดโครงการ 3.2 ทีมพี่เลี้ยงชุดกลาง นอกจากลงพื้นที่ 3 ครั้ง แล้วยังต้องตรวจสอบความเรียบร้อยของโครงการก่อนส่งมาที่ สจรส. และเข้าร่วมประชุมเพื่อพัฒนาศักยภาพอย่างน้อยปีละ 4 ครั้ง 3.3. สสส.มีความคาดหวังต่อโครงการ สามารถนำข้อมูลไปสู่แผนและปฏิบัติการได้  ชุมชนสามารถแก้ไขปัญหาสุขภาวะในพื้นที่ได้ และสามารถเขียนแผนได้

    4. ปัญหาที่พบในการทำงานของพี่เลี้ยง ในช่วงพัฒนาโครงการ ตัวชี้วัดที่เขียนไม่มีความชัดเจน จึงได้ทำการอธิบายโดย อ.พงค์เทพ ด้านการเขียนตัวชี้วัดให้มีความชัดเจน

    5. ชี้แจงการลงข้อมูลในเวบไซต์และวางแผนกำหนดกิจกรรมร่วมกับ สจรส. โดยคุณวินิจ ชุมนูรักษ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. พี่เลี้ยงชุดกลาง เข้าใจบทบาทในการทำงาน และได้วางแผนร่วมกับทีมพี่เลี้ยงในแต่ละจังหวัด กำหนดการลงติดตามในพื้นที่ การนัดตรวจสอบความเรียบร้อยของแต่ละงวด พร้อมกับทีม สจรส.

     

    67 46

    58. ปฐมนิเทศผู้รับทุนรอบที่ 1 จ.พังงา ชุมพร นครศรีฯ สุราษฎร์ กระบี่ พังงา และสงขลา

    วันที่ 14 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    09.00-10.00 น. ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ  พูดคุยชี้แจ้ง สสส.กับแนวคิดการพัฒนาและขับเคลื่อนกระบวนการสร้างชุมชนและท้องถิ่น ให้น่าอยู่ แนะนำทีมพี่เลี้ยงและทีม สจรส. ทบทวนการทำโครงการและแผนกิจกรรมให้ชัดเจน ทบทวนภาพรวมขั้นตอนกระบวนการพัฒนา และ กระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้ กำหนดข้อตกลง กติกา ในการทำงานร่วมกันระหว่าง สจรส. พี่เลี้ยง ผู้รับผิดชอบโครงการ

    10.00 - 11.00 น. - การบริหารจัดการโครงการ (project and program management) - การบริหารการจัดการงบประมาณ (Budget management)
    - รายงานความก้าวหน้า (ส.1-ส.4) รายงานการเงิน(ง.1-ง.2) - แบ่งกลุ่ม ทบทวนแนวปฏิบัติ การบริหารจัดการโครงการ - การเก็บหลักฐาน การเงิน ใบเสร็จ

    11.00-12.00 น. การสนับสนุน ติดตามประเมินผล ผ่าน website www.happynetwork.org

    12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

    13.00-15.30 น. ผู้รับผิดชอบโครงการฝึกปฏิบัติการ ในหัวข้อ - การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บ - ทบทวนและออกแบบเชิงระบบของโครงการ (Health system establishment)
    - การวางแผนการดำเนินงาน และการป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ - การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรม
    - การรายงานงวด

    15.30 -16.00 น. แผนการติดตามประเมินผลและการจัดทำรายงานการติดตามประเมินผล การจัดทำรายงานของผู้รับผิดชอบโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. สร้างความเข้าใจการทำงานระบบติดตามโครงการของ พี่เลี้ยงจังหวัด สจรส. สสส. ให้กับผู้รับผิดชอบโครงการ จ.พังงา ชุมพร นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ กระบี่ พังงา และสงขลา
    2. ผู้รับผิดชอบโครงการ เข้าใจแนวคิดการพัฒนาและขับเคลื่อนกระบวนการสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่
    3. ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถเข้าใจ การบริหารจัดการโครงการ (project and program management) การบริหารการจัดการงบประมาณ (Budget management)  รายงานความก้าวหน้า (ส.1-ส.4) รายงานการเงิน(ง.1-ง.2) การเก็บหลักฐาน การเงิน ใบเสร็จ นำไปปฏิบัติในการดำเนินโครงการได้
    4. ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถปฏิบัติป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บ www.happynetwork.org ในเรื่อง การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการ แผนภาพโครงการ และปฏิทินโครงการ เพื่อใช้ในการดำเนินโครงการและติดตามการทำงานได้

     

    137 137

    59. ปฐมนิเทศผู้รับทุนรอบที่ 1 จ.พัทลุง สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส

    วันที่ 15 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายละเอียดขั้นตอน ดำเนินกิจกรรมลักษณะเดียวกับวันปฐมนิเทศวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2557 โดยมีรายละเอียดดังนี้

    09.00-10.00 น. ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ  พูดคุยชี้แจ้ง สสส.กับแนวคิดการพัฒนาและขับเคลื่อนกระบวนการสร้างชุมชนและท้องถิ่น ให้น่าอยู่ แนะนำทีมพี่เลี้ยงและทีม สจรส. ทบทวนการทำโครงการและแผนกิจกรรมให้ชัดเจน ทบทวนภาพรวมขั้นตอนกระบวนการพัฒนา และ กระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้ กำหนดข้อตกลง กติกา ในการทำงานร่วมกันระหว่าง สจรส. พี่เลี้ยง ผู้รับผิดชอบโครงการ

    10.00 - 11.00 น. - การบริหารจัดการโครงการ (project and program management) - การบริหารการจัดการงบประมาณ (Budget management)
    - รายงานความก้าวหน้า (ส.1-ส.4) รายงานการเงิน(ง.1-ง.2) - แบ่งกลุ่ม ทบทวนแนวปฏิบัติ การบริหารจัดการโครงการ - การเก็บหลักฐาน การเงิน ใบเสร็จ

    11.00-12.00 น. การสนับสนุน ติดตามประเมินผล ผ่าน website www.happynetwork.org

    12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน

    13.00-15.30 น. ผู้รับผิดชอบโครงการฝึกปฏิบัติการ ในหัวข้อ - การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บ - ทบทวนและออกแบบเชิงระบบของโครงการ (Health system establishment)
    - การวางแผนการดำเนินงาน และการป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ - การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรม
    - การรายงานงวด

    15.30 -16.00 น. แผนการติดตามประเมินผลและการจัดทำรายงานการติดตามประเมินผล การจัดทำรายงานของผู้รับผิดชอบโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. สร้างความเข้าใจการทำงานระบบติดตามโครงการของ พี่เลี้ยงจังหวัด สจรส. สสส. ให้กับผู้รับผิดชอบโครงการ จ.พัทลุง สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส
    2. ผู้รับผิดชอบโครงการ เข้าใจแนวคิดการพัฒนาและขับเคลื่อนกระบวนการสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่
    3. ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถเข้าใจ การบริหารจัดการโครงการ (project and program management) การบริหารการจัดการงบประมาณ (Budget management)  รายงานความก้าวหน้า (ส.1-ส.4) รายงานการเงิน(ง.1-ง.2) การเก็บหลักฐาน การเงิน ใบเสร็จ นำไปปฏิบัติในการดำเนินโครงการได้
    4. ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถปฏิบัติป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บ www.happynetwork.org ในเรื่อง การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการ แผนภาพโครงการ และปฏิทินโครงการ เพื่อใช้ในการดำเนินโครงการและติดตามการทำงานได้

     

    152 152

    60. ประชุมทีมพัฒนาเวบไซต์

    วันที่ 20 มิถุนายน 2557 เวลา 10.00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เช้า : ประชุมวางแผนการขึ้นโครงการภาคใต้รอบที่ 2 ในปี 2557 บ่าย : ประชุมปรับปรุงเวบไซต์ให้ใช้งานได้เร็วขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. งานการเงิน

        1.1 การใช้ excel คำนวณค่าใช้จ่าย แยกรายละเอียดกิจกรรม งบตามแผนและงบใช้จริง และเคลียร์เอกสารการเงินตามหมวดค่าใช้จ่าย ดำเนินการให้เสร็จภายในเดือนมิถุนายน 2557

    1. การบริหารจัดการโครงการ

        2.1 โครงการสัญญาปี 2554 ดำเนินการปิดเรียบร้อยหมดแล้ว
        2.2 โครงการสัญญาปี 2555 มีโครงการที่ยังไม่ได้ปิด 11 โครงการ (สตูล 3 โครงการ ตรัง 2 โครงการ ตรังปี 54 จำนวน 2 โครงการ ระนอง 1 โครงการ และนครศรีฯ 1 โครงการ) ซึ่งทั้ง 11 โครงการ ทาง สจรส.ได้ส่งเอกสารปิดโครงการไปยัง สสส.แล้ว แต่ยังไม่ได้รับการตอบรับจาก สสส. และโครงการยังมีสถานะดำเนินโครงการ

        2.3 โครงการสัญญาปี 56 (ปี 55 ต่อเนื่อง) ต้องดำเนินการปิดให้เสร็จในปี 2557 เหลืออีก 3 โครงการที่ยังปิดไม่ได้

        2.4 โครงการสัญญาปี 56 (ปี 54 ต่อเนื่อง) มี 12 โครงการ

        2.5 โครงการสัญญาปี 56 ต้องดำเนินการปิดงวด 1 ให้เสร็จ จำนวน 59 โครงการ เหลืออีก 5 โครงการที่ยังไม่ได้ส่ง สสส. และอีก 4 โครงการเอกสารยังไม่เรียบร้อย

        2.6 โครงการสัญญาปี 57 ยังไม่ได้รับเงินงวดที่ 1 จำนวน 119 โครงการ

    1. การพัฒนาเวบไซต์ มีการปรับปรุงหน้าเวบให้ใช้งานได้สะดวก โดยปรับปรุงเรื่อง

        3.1 หน้าการติดตามโครงการ

          - เพิ่มสถานะโครงการ เอาข้อตกลงเลขที่ออกและเพิ่มหลังสถานะโครงการ จากกำลังดำเนินโครงการ เปลี่ยนเป็น สถานะการทำรายงานงวด 1 งวด 2 และเอกสารที่ยังไม่เรียบร้อย       - เชื่อมโยงการติดตามระหว่างเวบไซต์คนใต้สร้างสุขกับเวบไซต์ สสส.สำนัก 6

        3.2 นำคู่มือการใช้เวบไซต์และคู่มือติดตามฉบับใหม่ ลงในเวบไซต์ด้วย
        3.3 ประชุมทีมวิชาการพัฒนาการปรับปรุงเวบไซต์และคู่มือ ในวันศุกร์ที่ 27 มิ.ย.57

    1. รายงานพี่เลี้ยง ทำ 3 ครั้ง เหมือนเดิม

    2. การจ่ายเงินค่าตอบแทนพี่เลี้ยง จ่าย 3 งวด เหมือนเดิม

    3. พัฒนาโครงการปี 57 รอบ 2 ยังเหลือโครงการ 110 โครงการ ตอนนีได้ 28 โครงการ ต้องลงพัฒนาเพิ่มอีก 4 จังหวัด คือ วันที่ 2 -3 ก.ค. พัฒนาโครงการ จ.ระนอง วันที่ 4 ก.ค. พัฒนาโครงการ จ.พังงา และกระบี่ วันที่ 5 ก.ค. พัฒนาโครงการ จ.ตรัง

     

    7 7

    61. ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจ โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ (จังหวัดปัตตานี)

    วันที่ 26 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจง เพื่อทำความเข้าใจการเสนอพัฒนาโครงการ โดยมี ผศ.ดร.พงศ์เทพ สุธีรวุฒิ  ผู้อำนวยการสถาบันการจัดการระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คุณนงนิตย์ จงจิระศิริ คุณปิยะจิตต์ ณ นคร สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี เป็นผู้ประสานงานประจำพื้นที่ปัตตานี ร่วมประชุมชี้แจงและทำความเข้าใจโครงการ โดยมีกระบวนการดังนี้ ชุมชนสมัครเข้ามาประชุมเชิงปฏิบัติการ โดย พี่เลี้ยงพัฒนาโครงการเป็นผู้กลั่นกรองในเบื้องต้น โดยนำหลักคิดการสร้างชุมชนเป็นสุข การสร้างชุมชนเข้มแข็ง ได้แก่ 1. ชุมชนสามารถเข้าใจข้อมูล มีข้อมูลของชุมชน 2. ชุมชนสามารถวิเคราะห์ข้อมูลตนเอง นำไปสู่การทำแผนชุมชน หรือแผนปฏิบัติในชุมชน 3. ชุมชนมีทักษะบริหารโครงการ มีกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการบริหารในชุมชน และความเข้าใจระบบการติดตามเว็บไซด์ฅนใต้สร้างสุข การกรอกข้อมูลออนไลน์ ทั้งนี้ยังมีคุณเกษมณี ผู้รับผิดชอบโครงการตลาดเทศวิวัฒน์ฯ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับทุนสนับสนุนติดต่อกันถึง 2 ปี ซ้อน ได้มาร่วมเป็นวิทยากร และเเลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการดำเนินโครงการที่ได้รับทุนสนับสนุนจาก สสส. เพื่อเป็นเเนวทางให้พื้นที่ชุมชนน้องใหม่ได้หันมาสนใจในพัฒนาชุมชนของตนเองให้นาอยู่ยิ่งขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนรายใหม่ 20 หมู่บ้าน มีความสนใจในการพัฒนาโครงการเพื่อนำมาสร้างกระบวนการชุมชนเข้มแข็งท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ โดยชุมชนมีความเข้าใจการเขียนเสนอโครงการ ซึ่งชุมชนจะนำกลับไปร่วมคิดว่าจะสามารถพัฒนาโครงการที่สำคัญที่จะแก้ปัญหาเด่นในชุมชนอย่างไร และจะนำมาเสนอพัฒนาโครงการท้องถิ่นน่าอยู่ในอนาคต และพัฒนาศักยภาพทักษะผู้รับผิดชอบโครงการและชุมชนของตนเองต่อไป

     

    50 40

    62. ประชุมพัฒนาระบบเว๊บไซด์และคู่มือ เพื่อพัฒนาระบบเว๊บไซด์ คู่มือพัฒนาข้อเสนอโครงการ และพัฒนาคู่มือการติดตาม ครั้งที่ 2

    วันที่ 27 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. แจ้งโครงการล่าช้า มีปัญหามาจากระบบการจัดการของ สจรส.และ สสส.

    2. การติดตามใช้ระบบเวบไซต์เป็นหลัก ล่าสุด พี่หมีได้ปรับหน้าจอ เรื่อง การพัฒนาโครงการ ได้เพิ่มช่อง และปรับสถานะ

    3. พูดคุยแลกเปลี่ยนระบบการพัฒนาการติดตาม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การประชุมได้พูดคุยแลกเปลี่ยน สะท้อนปัญหา ร่วมกันเสนอแนะแนวทาง การแก้ไขปัญหา ในประเด็นต่างๆ ได้แก่ 1. ประเด็นความล่าช้าของงาน 2. ประเด็นการยุติโครงการ 3. ประเด็นแบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ (ส.3) 4. ประเด็นการเขียนรายงานติดตามของพี่เลี้ยง 5. ประเด็นรายงานการเงิน 6. ประเด็นการเกิดความรู้หรือนวัตกรรมชุมชน ซึ่งประเด็นทั้งหมดจะนำไปปรับใช้กับพัฒนาระบบเว็บไซด์ ระบบการติตตามทำงานต่อไป โดยมีรายละเอียดดังนี้

    1. ประเด็นความล่าช้าของงาน จากการประชุมได้สะท้อนปัญหาจากความล่าช้าของข้อมูลความสมบูรณ์รายงาน คุณภาพรายงาน และรายงานการเงิน แนวทางการแก้ไขได้เสนอแนะให้แจ้งเอกสาร (รูปแบบไฟล์) ส่งไปยังพี่เลี้ยงจังหวัดประสานงานเรื่องข้อมูลล่าช้าให้รวดเร็ว เนื่องจากการทำงานมีการส่งข้อมูล 4 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 ข้อมูลจากพื้นที่โครงการ ส่งมายัง ช่วงที่ 2 คือ พี่เลี้ยงจังหวัด ส่งมายัง ช่วงที่ 3 คือ สจรส. ม.อ. และส่งไปยังช่วงที่ 4 คือ สสส. ซึ่งต้องใช้เวลาในการส่งข้อมูลปรับแก้ไขของแต่ละช่วง ทำให้เกิดความล่าช้าตามลำดับ การแก้ไขโดยการนำระบบเว็บไซด์นำมาจัดการ ซึ่งจากที่ประชุมได้เสนอแนะให้เห็นภาพรวมของข้อมูลที่ล่าช้า ระบบการเตือนจะเตือนจากปฏิทินที่ไม่บันทึกกิจกรรม ซึ่งจะมองเห็นเฉพาะผู้รับผิดชอบโครงการและพี่เลี้ยง โดยการจะมองเห็นนั้นต้องเพิ่มตนเองเข้าไปติดตามในโครงการนั้นๆ  การแก้ไขปัญหาปัจจุบันใช้ระบบการจัดการภายในจังหวัด คือ ให้พี่เลี้ยงดูแลกันเองภายในจังหวัด โดยก่อนส่งข้อมูลต้องผ่านการตรวจจากแกนนำพี่เลี้ยงจังหวัดให้รายงานสมบูรณ์ก่อน ข้อมูลมีคุณภาพ และรายงานการเงินถูกต้องก่อน จึงส่งมายัง สจรส.ม.อ ตรวจอีกครั้ง ซึ่งจะทำให้รายงานมีการตรวจอย่างเข้มข้นจากแกนนำพี่เลี้ยงจังหวัดและสจรส.ม.อ. และส่งไปยัง สสส.

    2. ประเด็นการยุติโครงการ พี่เลี้ยงจังหวัดจะทำการเขียนระบุเหตุผลในเว็บไซด์ว่ายุติโครงการด้วยเหตุผลอะไร มีแนวทางการแก้ไขอย่างไรในกรณีไม่ยุติโครงการ

    3. ประเด็นแบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์ (ส.3) ในบทคัดย่อปัจจุบันมาจากกิจกรรมจริงใน ส.2 ทำให้มีการรายงานละเอียดทุกกิจกรรม รวมทั้งรายงานกิจกรรมย่อยด้วย แนวทางปรับใหม่ คือ บทคัดย่อจะสรุปมาจากแบบประเมินของพี่เลี้ยง ซึ่งผ่านการสังเคราะห์ วิเคราะห์ข้อมูลที่เป็นประโยชน์นำไปใช้ได้ต่อไป

    4. ประเด็นการเขียนรายงานติดตามของพี่เลี้ยง พี่เลี้ยงจะเขียนรายงานสรุป 3 ครั้ง โดยสรุปจากกิจกรรมหลัก ได้แก่ ช่วงที่ 1 ช่วงเปิดเวทีชี้แจ้งโครงการในพื้นที่ ช่วงที่ 2 ช่วงปิดงวดที่แรก และช่วงที่ 3 ช่วงปิดโครงการ และการเขียนต้องสรุปกิจกรรมหลัก เช่น กิจกรรมหลักคือการประชุมคณะทำงาน กิจกรรมย่อยคือประชุมจำนวน 10 ครั้ง ในการรายงานการติดตามควรเขียนกิจกรรมหลักโดยภาพรวมที่ผ่านมาของกิจกรรมย่อย โดยมีกระบวนการผลอย่างไร การสังเกตการณ์ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การสรุป ถอดบทเรียน กิจกรรมหลักนั้นๆ ของแต่ละการรายงานผล

    5. ประเด็นรายงานการเงิน มักพบประเด็นที่กรอกผิดบ่อยครั้ง เช่น การกรอกเงินคงเหลือยกมา การไม่ปรับสมุดบัญชีทำให้เกิดดอกเบี้ยที่ไม่ทราบที่จะกรอกในระบบ เป็นต้น ซึ่งประเด็นต่างๆ พี่เลี้ยงจะนำไปถ่ายทอดแก้ไขกับโครงการต่อไป

    6. ประเด็นการเกิดความรู้หรือนวัตกรรมชุมชน การทำงานจะมีทีมสื่อสังเคราะห์ โดยดูจากเว็บไซด์ในแบบประเมินโครงการ ว่ามีกิจกรรมใดเด่น เป็นที่สนใจ มีนวัตกรรมใหม่หรือไม่ มีความเป็นรูปธรรมนำไปปรับใช้ได้ เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ชัดเจน ซึ่งทีมสื่อจะประสานงานกับชุมชนเพื่อทำการถอดบทเรียน สังเคราะห์โครงการ จัดทำสื่อเผยแพร่ เพื่อเป็นประโยชน์กับชุมชนภายนอกต่อไป

     

    25 25

    63. พัฒนาโครงการร่วมกับ ศอ.บต.

    วันที่ 2 กรกฎาคม 2557 เวลา 12.00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผศ.ดร.พงศ์เทพ สุธีรวุฒิ พูดคุยแลกเปลี่ยนประวัติความเป็นมาของโครงการท้องถิ่นน่าอยู่ภาคใต้ การใช้เว็บไซด์ติดตามในพื้นที่ และพูดคุยแลกเปลี่ยนการพัฒนาโครงการในพื้นที่
    การสนับสนุนของ สสส. จะสนับสนุนกระบวนการ เช่น โครงการการก่อสร้างในพื้นที่ แต่ สสส.จะไม่สนับสนุน งบการก่อสร้าง แต่ สสส.จะสนับสนุนกระบวนการเน้น 3 เรื่อง ได้แก่ 1. ชุมชนสามารถเข้าใจมีข้อมูลของชุมชน 2. ฝึกชุมชนนำข้อมูลมาวางแผน 3. ชุมชนสามารถบริหารจัดการการทำงานด้วยตนเองได้
    เช่น กรณีเรื่อง “การขุดคลอง” ต้องสร้างกระบวนการมากกว่าการขุดคลอง เช่น คนในชุมชนมาทำข้อมูลคุณค่าของคลอง คลองมีคุณค่าอะไรบ้าง มีประโยชน์อะไร จะอนุรักษ์คลองอย่างไร มีการจัดกลุ่มอาสาสมัครอย่างไร จะมีกิจกรรมอะไรให้คลองฟื้นกลับคืนมา เป็นต้น กรณีเรื่อง “การสร้างศูนย์เรียนรู้ในโรงเรียน” น้ำตกแห่งหนึ่งมีความสวยงาม แต่มีปัญหา คือ เยาวชนมีการลักเล็กขโมยน้อยในพื้นที่ของนักท่องเที่ยว การแก้ปัญหาคือ การนำเยาวชนเข้าร่วมกระบวนการ โดยการพูดคุยว่าจะแก้ปัญหาอย่างไร ทางออกการแก้ปัญหาคือ นำเยาวชนเป็นเวรยามดูแลนักท่องเที่ยวแทน และเก็บค่าใช้จ่ายในการดูแลรถจากนักท่องเที่ยว จากนั้นพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเป็นศูนย์เรียนรู้ พัฒนาเป็นสวนสมุนไพรอาหารเป็นยา  สร้างศูนย์เรียนรู้มีเนื้อหา สื่อประกอบ มีเยาวชนคนในพื้นที่ช่วยกันจัดการ
    จากการพูดคุยแลกเปลี่ยน ผู้เข้าร่วมได้แลกเปลี่ยนโครงการจะพัฒนาในพื้นที่ในอนาคต เช่น โครงการกลุ่มแม่บ้านอาหารฮาลาล โครงการกลุ่มผู้พิการเล่นกีฬา เป็นต้น และจะนำแนวคิดโครงการพูดคุยกับชุมชน และนำชุมชนมาพัฒนาโครงการในพื้นที่ต่อไป โดยตั้งเป้าหมายไว้ 30 - 40 พื้นที่ชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ศอ.บต. ยินดีเข้าร่วมและเข้าใจหลักการเสนอโครงการร่วมกันกับ สสส. 2.ศอ.บต. ยินดีรับโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ เสนอพัฒนาร่วมกับชุมชนใน 3 จังหวัด (ยะลา ปัตตานี นราธิวาส) ตั้งเป้าหมายโครงการจำนวน 30 - 40 โครงการ

     

    25 25

    64. พัฒนาโครงการ รอบ 2 จ.ชุมพร จ.พังงา และ จ.ระนอง

    วันที่ 13 กรกฎาคม 2557 เวลา 13:00 - 17.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. พี่เลี้ยง จ.ชุมพร นำเสนอโครงการในพื้นที่ เป็นโครงการต่อเนื่องและโครงการใหม่ โดยมีอาจารย์พงค์เทพ และทีม สจรส.มอ. ช่วยให้คำแนะนำต่อการเขียนโครงการ ใช้วิธีการเขียนขึ้นกระดาษชาติ กรณีโครงการต่อเนื่องจะทบทวนกิจกรรมและผลที่เกิดขึ้น เพื่อนำไปสู่สิ่งที่อยากทำในปีที่ 2 ส่วนโครงการใหม่ จะนำเสนอสิ่งที่อยากทำเน้นวิธีดำเนินการแผนปฏิบัติให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด ซึ่ง จ.ชุมพรมีโครงการที่นำเสนอทั้งโครงการต่อเนื่องและโครงการใหม่จำนวน 6 โครงการ

    2. พี่เลี้ยง จ.พังงา นำเสนอ 3 โครงการ เป็นโครงการใหม่ประเด็นสิ่งแวดล้อม

    3. วิธีการให้คำแนะนำต่อการปรับโครงการ ในช่วงแรกจะดูข้อมูลโครงการจากเวบไซต์ พร้อมกับการนำเสนอของพี่เลี้ยง โดยมีทีม สจรส.มอ.คอยให้คำแนะนำต่อการปรับกระบวนการทำโครงการให้มีความสมบูรณ์และสอดคล้องกับเป้าหมายของ สสส. โดยมีคำแนะนำให้กับพี่เลี้ยงต่อการปรับโครงการ คือ การเขียนวัตถุประสงค์ การเขียนตัวชี้วัด และการทำกิจกรรม ที่ครอบคลุมเรื่องการศึกษาข้อมูล การนำข้อมูลไปวิเคราะห์ การนำข้อมูลการวิเคราะห์ไปแก้ไขปัญหา และเกิดกลไกการจัดการของคนในชุมชน

    4. ช่วงค่ำพี่เลี้ยง จ.ระนอง ได้เข้ามานำเสนอโครงการ แต่ยังไม่กรอกข้อมูลโครงการในเวบไซต์ และเป็นพี่เลี้ยงใหม่ ทางอาจารย์พงค์เทพ ได้อธิบายกระบวนการเขียนโครงการชุมชนท้องถิ่น เป็นการเขียนโครงการให้เชื่อมโยงกันด้าน คน สิ่งแวดล้อม และกลไก วัตถุประสงค์ที่สำคัญของโครงการชุมนท้องถิ่น คือ การทำกระบวนการสร้างชุมชนให้เกิดความเข้มแข็ง ต้องมี 3 องค์ประกอบ คือ ชุมชนสามารถจัดการข้อมูล มีการทำแผนปฏิบัติการ และดำเนินโครงการ บริหารจัดการโครงการได้ โดยทุกขั้นตอนเป็นการทำร่วมกัน ซึ่งสุดท้ายจะนำไปสู่สังคมสุขภาวะ และได้อธิบายกรอบการเขียนโครงการแต่ละประเด็นตามกรอบ 6 ช่อง ประกอบด้วย การทำข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การคืนข้อมูลให้ชุมชน การทำแผนปฏิบัติการ การทำกิจกรรม และการติดตามประเมินผล ซึ่งแต่ละช่องจะมีรายละเอียดที่ระบุกิจกรรมที่จะทำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. โครงการที่นำเสนอ มี 3 ประเด็น คือ เรื่องเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ การเขียนโครงการให้ยึดกรอบ 6 ช่อง ทำให้พี่เลี้ยงเข้าใจขั้นตอนการเขียนโครงการ

    2. พี่เลี้ยง จ.ชุมพร และ จ.ระนอง ได้ซักถามอาจารย์ต่อการเขียนโครงการในประเด็นสิ่งแวดล้อม และเป็นพื้นที่ที่อยู่ในเขตโรงงานอุตสาหกรรม และเป็นพื้นที่ต่อต้านการสร้างโรงไฟฟ้าชีวมวล เนื่องจากโครงการที่ทำเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับผลกระทบของโรงงานที่ปล่อยมลพิษทางอากาศ ทางอาจารย์ได้แนะนำให้ทำโครงการในช่วงแรกที่เน้นการศึกษาข้อมูลผลกระทบที่เกิดขึ้น โดยให้เยาวชนในพื้นที่เป็นคนเก็บข้อมูล และจัดเวทีคืนข้อมูลสูุ่ชุมชนเพื่อหาแนวทางจัดการร่วมกัน โดยนำผู้ที่เกี่ยวข้องมาหารือกัน ส่วนในโครงการอื่น ประเด็นเศรษฐกิจพอเพียง และสุขภาพ เน้นเรื่องการทำข้อมูล โดยใช้เด็กในพื้นที่เป็นคนศึกษา และหาวิธีการที่น่าสนใจ เช่น รำมโนราห์ อนาชีด บอกเล่าเรื่องราวในช่วงคืนข้อมูล

    3. พี่เลี้ยง จ.ระนอง เข้าใจเป้าหมายการทำโครงการชุมชนท้องถิ่น ได้นัดหารือกับทีม สจรส.มอ.เพื่อลงไปช่วยพัฒนาโครงการในพื้นที่ร่วมกันต่อไป โดยประสานกับพี่เลี้ยงอีกครั้ง

     

    5 11

    65. พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงการเขียนรายงาน และการทำการเงิน

    วันที่ 14 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 - 16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ช่วงเช้า : ทบทวนการใช้เวบไซต์คนใต้สร้างสุข โดยคุณภานุมาศ นนทพันธ์ และคุณนงลักษณ์ รักเล่ง เริ่มจากการเข้าสู่หน้าเวบไซต์ การกรอกข้อมูลโครงการในช่องพัฒนาโครงการ การติดตามโครงการการทำรายงานและการเงินของโครงการและพี่เลี้ยง รวมทั้งอธิบายภาพรวมของการติดตามโครงการผ่านเวบไซต์ ในช่วงที่นำเสนอมีการแลกเปลี่ยนและปรับปรุงเนื้อหาในเวบไซต์โดยคุณปรีดารัตน์ ศรัทธานนท์กุล ผู้ประสานงานโครงการชุมชนท้องถิ่นของภาคใต้ จาก สสส.และพี่เลี้ยงติดตามประเมินโครงการของภาคใต้ ดังนี้ เรื่องการกรอกข้อมูลรายละเอียดโครงการ ข้อสงสัยการใช้เวบไซต์ การล็อครายงานการเงินโดย สจรส.เมื่อโครงการเสร็จสมบูรณ์แล้ว การตัดกิจกรรมหลักและกิจกรรมย่อยเพื่อป้องกันความสับสนในการคีย์ข้อมูล และทางพี่เลี้ยง จ.นครศรีฯ ได้นำเสนอวิธีการที่ใช้ในการติดตามผ่านเวบไซต์ ที่พี่เลี้ยงคนอื่นสามารถนำไปใช้ได้

    2. ช่วงบ่าย : เป็นการซักถามแลกเปลี่ยนข้อสงสัยและปัญหาที่พบในการติดตามโครงการผ่านเวบไซต์ โดยคุณปรีดารัตน์ ศรัทธานนท์กุล หรือพี่ตูนได้อธิบายระบบติดตามภาพรวมของ สสส.สำนัก 6 ให้กับพี่เลี้ยง และจะทำการเชื่อมโยงระบบติดตามโครงการออนไลน์ของ สสส.สำนัก 6 กับเวบไซต์คนใต้สร้างสุข ทางพี่ตูนได้สรุปจุดอ่อนของทีมติดตามภาคใต้ มีดังนี้

    • ทำงานแยกเป็นจังหวัด ทำให้การพัฒนาพี่เลี้ยงทำได้ยาก และพี่เลี้ยงมีภาระงานเยอะ สิ่งที่อยากได้ คือ อยากได้โหนดจังหวัด

    • พี่เลี้ยงชอบพูดจาเหน็บแนม

    แต่จุดเด่นสิ่งที่ภาคใต้มีไม่เหมือนภาคอื่น คือ ภาคใต้มีจุดเด่นที่มีความคิดเป็นของตนเอง และคนภาคใต้เป็นคนใจอ่อน

    1. พี่ตูนได้อธิบายการเขียนรายงานให้สอดคล้องกับ สสส. การทำรายงานการเงิน ให้กับพี่เลี้ยงเพื่อสร้างความเข้าใจตรงกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. พี่เลี้ยงและทาง สสส.สำนัก 6 ได้เข้าใจการติดตามโครงการผ่านเวบไซต์ร่วมกัน มีการกำหนดข้อตกลงในการติดตามโครงการ การส่งรายงานงวดและรายงานปิดโครงการ รวมทั้งการปรับปรุงหน้าเวบไซต์และเนื้อหาเวบไซต์ ระหว่างทีม สสส. สจรส. คนพัฒนาโปรแกมเวบไซต์ และพี่เลี้ยงในภาคใต้ร่วมกัน ให้ข้อตดลงและความเข้าใจตรงกัน

     

    52 61

    66. พัฒนาโครงการรอบที่ 2 จ.สตูล

    วันที่ 14 กรกฎาคม 2557 เวลา 17:00 - 19.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    พี่เลี้ยง จ.สตูล จำนวน 4 คน คือ พี่นะ ลม พี่ไก่ และพี่ธิดา นำเสนอโครงการในพื้นที่ให้ อ.พงค์เทพ และพี่เลี้ยงได้ร่วมกันเสนอแนะ การให้คำแนะนำของอาจารย์ใช้วิธีการเขียนกรอบ 6 ช่อง ตามประเด็นที่นำเสนอ ซึ่งในวันนี้มีโครงการที่นำเสนอ 2 ประเด็น คือ เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม พร้อมกับการซักถามสร้างความเข้าใจในเรื่องที่ทำโครงการด้วยกัน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการพูดคุยและการเขียนกรอบอธิบายในกระดาษชาร์ต ทำให้พี่เลี้ยงเห็นภาพรวมของการทำโครงการและการเขียนโครงการให้เห็นกระบวนการสร้างชุมชนเข้มแข็ง

     

    10 9

    67. พัฒนาโครงการรอบ 2 จ.พัทลุง และ จ.ตรัง

    วันที่ 15 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 - 12.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. พี่เสณีย์ พี่เลี้ยง จ.พัทลุง อธิบายเนื้อหา ประเด็นที่สำคัญในการเขียนข้อเสนอโครงการ ตามแบบฟอร์มที่อยู่ในเวบไซต์ เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันให้กับพี่เลี้ยงคนใหม่ของ จ.ตรัง มีการถามตอบเรื่องที่ไม่เข้าใจ โดยพี่เสณีย์อธิบายและเขียนแผนภาพประกอบ เน้นสร้างความเข้าใจการทำแผนชุมชนในโครงการ โดยเอาวัตถุประสงค์เป็นตัวตั้ง กำหนดกิจกรรม และสิ่งที่ต้องการทำให้บรรลุเป้าหมายของวัตถุประสงค์

    2. อธิบายการเขียนโครงการตามประเด็น

    2.1 กรณีโครงการประเด็นเรื่องสิ่งแวดล้อม ข้อมูลที่จะได้ คือ การเฝ้าระวัง การฟื้นฟูและการพัฒนา

    2.2 หากเป็นประเด็นเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง จะต้องมีข้อมูลที่สำคัญของรายจ่าย หนี้สิน เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์นำไปสู่การทำแผนชุมชนในการทำโครงการร่วมกัน เป็นแผนปัจเจกที่นำไปสู่การลดรายจ่าย เกิดแผนระดับชุมชนที่มีการรวมกลุ่มกันทำ

    2.3 ประเด็นขยะ เน้นข้อมูลที่นำไปสู่การลดการสร้างขยะ เน้นการจัดการขยะในชุมชน

    2.4 ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร สิ่งแรกที่ต้องมี คือ ข้อมูล ประเด็นในการผลิตอาหาร เช่น ทำเรื่องป่าสาคู ข้อมูลที่ต้องมี คือ ข้อมูลปัญหาชุมชน และสาคูจะนำไปสู่การแก้ไขปัญหาของชุมชนอย่างไร หรือการรื้อฟท้นภูมิปัญญาของชุมชนในการผลิตอาหารจากป่าสาคู กิจกรรมที่ต้องทำ คือ ทำแผนที่ป่าสาคูให้เยาวชนเด็กในชุมชนเป็นคนทำ

    2.5 ประเด็นสุขภาพ

    1. นำเสนอโครงการในพื้นที่ โดยให้พี่เสณีย์ให้คแนะนำในการเขียนโครงการให้ชัดเจนและมีเนื้อหาที่ครอบคลุม โดยพี่เลี้ยงตรังซึ่งเป็นพี่เลี้ยงใหม่ จะซักถามในเรื่องที่ไม่เข้าใจ และมีการอธิบายพร้อมเขียนภาพประกอบ

    2. หารือหารพัฒนาโครงการในพื้นที่ แลกเปลี่ยนซักถามและให้คำแนะนำต่อกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      พี่เลี้ยง จ.ตรัง ซึ่งเป็นพี่เลี้ยงใหม่ มีความเข้าใจต่อการพัฒนาโครงการให้ได้ประเด็นครอบคลุมมากขึ้น โดยใช้แผนภาพที่พี่เสณีย์อธิบาย และได้หารือร่วมกันในการนำโครงการทั้งหมดที่มีข้อมูลครบแล้วมาดูและพิจารณาโครงการเพื่อปรับร่วมกันอีกครั้ง โดยจะเชิญทาง สจรส.ลงไปร่วมเวที

     

    12 0

    68. พัฒนาโครงการรอบที่ 2 จ.สงขลา

    วันที่ 16 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 - 14.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. พี่เลี้ยงนำเสนอโครงการในพื้นที่ให้อาจารย์พงค์เทพ และผู้เข้าร่วม ถึงที่มาที่ไปของการทำโครงการ วิธีการ และตัวชี้วัดที่ตอบวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยเปิดโครงการในเวบไซต์คนใต้สร้างสุขให้ทุกคนได้ดูร่วมกัน มีการซักถามตลอดการนำเสนอ และมีการให้คำแนะนำจากอาจารย์และผู้เข้าร่วมประชุม ในวันนี้มีการนำเสนอจำนวน 5 โครงการ

    2. วิธีการอธิบายให้คำแนะนำต่อการปรับโครงการ เริ่มจากการเปิดเวบไซต์เพื่อดูข้อมูลโครงการโดยพี่เลี้ยงนำเสนอไปพร้อมกัน เมื่อเสร็จอาจารย์จะซักถามและอธิบายโดยทบทวนการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาในชุมชน วิธีการเขียนวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด และแผนกิจกรรมให้มีความสอดคล้อง และสอดคล้องกับเป้าหมายของโครงการชุมชนท้องถิ่น คือ เกิดกระบวนการสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง ตามกรอบ 6 ช่อง คือ 1) การจัดการข้อมูล 2) การปฏิบัติการจัดทำแผน 3) การแก้ไขปัญหา 4) การฟื้นฟู 5) การป้องกัน และ 6) กลไก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. สิ่งที่โครงการต้องปรับข้อมูลเพิ่มเติม คือ เนื้อหาด้านที่มาของสภาพปัญหา ลำดับความสำคัญของสถานการณ์ปัญหา

    2. พี่เลี้ยงเข้าใจกระบวนการทำโครงการ ที่เน้นกระบวนการและข้อมูล รวมทั้งได้ทบทวนระดับความรุนแรงของปัญหา การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา สิ่งที่ชุมชนต้องการทำ และเกิดผลต่อเนื่องในระยะยาวของการทำโครงการ

     

    8 9

    69. พัฒนาโครงการ รอบที่ 2 จ.ปัตตานี จ.ยะลา และ จ.นราธิวาส

    วันที่ 17 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 - 14.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ในช่วงแรก อ.พงค์เทพ อธิบายกรอบการเขียนโครงการชุมชนท้องถิ่นให้ทีมพี่เลี้ยงใต้ล่างได้เข้าใจกระบวนการตามกรอบ 6 ขั้นตอน คือ

    1. การรวบรวมข้อมูล เป็นการพัฒนาศักยภาพของทีมในการจัดการข้อมูล หรือการรวบรวมข้อมูล การออกแบบเครื่องมือและวิธีการเก็บข้อมูล และการลงมือเก็บข้อมูล

    2. การวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย การจัดทำกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการตั้งคำถามว่า ใครวิเคราะห์ วิเคราะห์อย่างไร (อาจจะใช้วิธีการให้วิทยากรช่วยวิเคราะห์ผ่านการจัดเวที) วิเคราะห์เนื้อหาสถานการณ์แนวโน้ม ปัจจัยอะไรที่ทำให้เกิดปัญหา และแนวทางการจัดการอย่างไร

    3. การคืนข้อมูล เป็นกระบวนการพูดคุยเพื่อนำไปสู่การจัดการปัญหา

    4. การทำแผนปฏิบัติการ ประเด็นขยะ เริ่มด้วยการลด การคัดแยก และการทำลาย ประเด็นทรัพยากร เริ่มจากการป้องกัน ฟื้นฟู และพัฒนา ประเด็นเศรษฐกิจพอเพียง เริ่มการ เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย เน้นการออม ปรับเปลี่ยนการดำรงชีวิต ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และเอื้ออาทร

    5. ติดตามประเมินผล

    6. มีกลไกขึ้นในชุมชน

    ช่วงบ่าย มีทีมโครงการบัณฑิตอาสา มอ. และ อ.สนั่น เพ็งเหมือน ผู้ประสานงานโครงการบัณฑิตอาสาภาคใต้ เข้ามาร่วมเรียนรู้วิธีการเขียนโครงการชุมชนท้องถิ่น ซึ่งโครงการบัณฑิตอาสามีโครงการที่นำเสนอขอทุนจำนวน 4 โครงการ ทุกโครงการได้กรอกข้อมูลลงในเวบไซต์แต่ยังไม่สมบูรณ์ จึงใ้ห้พี่เลี้ยงช่วยให้คำแนะนำ และป้อนข้อมูลลงเวบไซต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมพี่เลี้ยงและทีมโครงการบัณฑิตอาสา มอ. ได้รู้จักกัน และแบ่งกันดูแลโครงการ 

     

    16 19

    70. สังเคราะห์ความรู้โครงการบ้านทุ่งโพ

    วันที่ 18 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชุมชนได้แนะนำโครงการที่ผ่านมา โครงการวิทยาลัยทุ่งโพ เรียนรู้ร่วมกัน ร่วมสร้างสรรค์ชุมชนน่าอยู่  กระบวนการชุมชน เริ่มจาก “ตั้งคำถาม” เพื่อนั่งพูดคุย ช่วยคิด กระตุ้นการมีส่วนร่วม และสร้างความตระหนัก ซึ่งคำถามที่ใช้ คือ 1.อะไรที่ทำให้ท้องถิ่นน่าอยู่ 2.อะไรที่ทำให้ชุมชนท้องถิ่นไม่น่าอยู่ 3.อะไรที่ทำร่วมกันได้บ้าง (คุยกัน 5 รอบ) จากนั้นชุมชน “คืนข้อมูลและวางแผน” โดยการจัดนิทรรศการ กูโบว์ (ต้นไข่เน่า) ทุ่งคำ (เกษตรอินทรีย์) ร่วมปลูกพืชสวนครัวธนาคารอาหาร อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้วัดความดัน  สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ปปส.) จัดนิทรรศการเกี่ยวกับยาเสพติด ทำหลักสูตรมีสื่อเอาทุนมาบูรณาการเพื่อแก้ปัญหายาเสพติดในชุมชน เครือข่ายนักศึกษามหาวิทยาลัยชีวิตสาธิตการทำน้ำยาเอนกประสงค์ “ปฏิบัติตามแผน” เสวนากลุ่มเยาวชน ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มองค์กรชุมชน เรียนรู้หลักสูตรครอบครัวอิสลาม หลักสูตรฟัรดูกิฟายะห์ หลักสูตรสิทธิ (ฮัก) หลักสูตรประวัติศาสตร์ชุมชน หลักสูตรการจัดการขยะ ผลกระบวนการของชุมชนทำให้ชุมชนเกิดความสามัคคี มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม ชุมชนได้รับการสนับสนุนต่อเนื่องในโครงการ “วิทยาลัยทุ่งโพ เรียนรู้ร่วมกัน ร่วมสร้างสรรค์ชุมชนน่าอยู่ ปีที่ 2 (ต่อเนื่อง)” โดยเป้าหมายจะสร้างกลุ่มอาสาสมัครที่มีบทบาทชัดเจนในการแก้ปัญหาของชุมชน โดยมีการบูรณาการแผนร่วมกันทำงาน และมีการทำงานติดตามปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องในชุมชน ซึ่งจะสร้างกลุ่มอาสาสมัครต่างๆ ได้แก่ กลุ่มอาสาสมัครเฝ้าระวังยาเสพติด กลุ่มอาสายุวดาอีย์ (ชักชวนเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมศาสนา) กลุ่มอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยติดเตียง กลุ่มอาสาสมัครมัคคุเทศก์อาสา และกลุ่มอาสาสมัครส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ถอดองค์ความรู้การแก้ปัญหาและกระบวนการในชุมชน - การแก้ปัญหาชุมชนด้วยการนำทุนของชุมชนมาใช้ในการแก้ปัญหา ได้แก่ ทุนทรัพยากร คือ ชุมชนมีทุ่งนากลางหมู่บ้าน เรียกว่า “ทุ่งคำ” ทุนประวัติศาสตร์ คือ มีเรื่องเล่าตำนานต้นแคยักษ์ สุสานต้นไข่เน่า ทุนด้านผู้นำ คือ มีกำนัน นายก อบต. และโต๊ะอิหม่าม และมีทุนการทำงานเข้มแข็ง คือ มี อสม.ที่เข้มแข็ง
    - การทำงาน 3 ประสาน คือ ผู้นำศาสนา (โต๊ะอิหม่าม) นายก อบต. และกำนัน - มีหลักสูตร 1. หลักสูตรครอบครัวอิสลาม ครอบครัวสุขสม ชุมชนเข้มแข็ง เรียนรู้เรื่อง กฎหมายอิสลาม บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว สิทธิและหน้าที่ของสมาชิก บทบาทครอบครัวในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 2. หลักสูตรฟัรดูกิฟายะห์ จิตอาสา สู่การพึ่งอาศัย เรียนรู้การใช้ชีวิตประจำวัน ฝึกการจัดการศพ 3. หลักสูตรสิทธิ (ฮัก) สิทธิบุคคล สิทธิชุมชน สร้างสังคมสมดุล  4. หลักสูตรประวัติศาสตร์ชุมชน เรื่องเล่า วันวาน บ้านแคเหนือ เพื่อก้าวสู่อนาคต 5. หลักสูตรการจัดการขยะ ขยะมีค่า พัฒนาคุณภาพชีวิต
    - ความต่อเนื่องในการทำงาน จากปีแรกได้สร้างหลักสูตร ปีที่ 2 ได้สร้างกลุ่มอาสาสมัคร เพื่อสร้างให้เกิดกลไกด้วยตนเองในอนาคต

     

    13 13

    71. พัฒนาโครงการ รอบ 2 จ.ระนอง

    วันที่ 21 กรกฎาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรมเริ่มต้นด้วยผู้เข้าร่วมแนะนำตัว และ สจรส.มอ.ได้นำเสนอความเป็นมาโครงการท้องถิ่นน่าอยู่ นำเสนอวิดีโอต้นแบบชุมชนน่าอยู่ คือ ชุมชนไม้เรียงที่มีวิถีพึงตนเอง พอมี พอใช้ ลดรายจ่ายในครัวเรือน โครงการท้องถิ่นน่าอยู่ได้ถอดกระบวนการชุมชน คือ ชุมชนมีการจัดการข้อมูลนำมาทำแผนปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาในชุมชน ซึ่งโครงการที่เข้าร่วมเรียนรู้และรับการสนับสนุนทุนจาก สสส. การเสนอโครงการควรประกอบด้วย 1. โครงการมีการจัดการข้อมูล 2. จากข้อมูลเอามาทำแผนกิจกรรม 3. มีการแก้ปัญหาจากกิจกรรม 4. เกิดกลไกในชุมชน เพื่อนำไปสู่ชุมชนเข้มแข็งและชุมชนน่าอยู่
                  การนำเสนอโครงการจังหวัดระนองในครั้งนี้ มีเรื่องที่หลากหลายและเป็นประเด็นปัญหาที่ชุมชนต้องการแก้ไขปัญหาในชุมชน เรื่องที่ชุมชนนำเสนอได้แก่ เกษตรผสมผสานปลูกพืชร่วมยางพารา การเพาะฟาร์มเห็ด การปลูกผักปลอดสารพิษ เศรษฐกิจพอเพียง ยาเสพติดในชุมชน การแก้ปัญหานาร้าง
    ในที่ประชุมได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการข้อมูล โดยดูว่า สถานการณ์ฯเรื่องนั้นๆ เป็นอย่างไร ขนาดปัญหามากหรือรุนแรง สาเหตุเกิดจากอะไร ต้องการแก้ปัญหาอย่างไร รายรับ รายจ่าย หนี้สิน คุณภาพชีวิตเป็นอย่างไร การมองความเชื่อมโยงของปัญหา “การมองคิดเขียนแบบเชื่อมโยง” คือ ทุกปัญหาและแนวทางการจัดการเชื่อมโยงกัน ตัวอย่างเช่น ปัญหานาร้าง ปัญหายาเสพติด สามารถเชื่อมโยงแก้ปัญหาด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเศรษฐกิจพอเพียงจะทำให้ครัวเรือนมีรายได้ รายจ่ายลดลง หนี้สินลดลง นาร้างนำหลักใช้แนวทางเกษตรผสมผสานเกิดการปรับการดำรงชีวิต กระบวนการทั้งหมดหรือกิจกรรมที่ดำเนินการควรนำเยาวชนเข้ามาร่วมเรียนรู้กิจกรรมทุกกิจกรรมซึ่งจะนำไปสู่การแก้ปัญหายาเสพติดกับเยาวชนได้
                  จากนั้นร่วมกันคิดวิเคราะห์แนวทางแก้ปัญหาแต่ละประเด็น ดังนี้
                  1. “ประเด็นเรื่องยาเสพติด” ชุมชนได้นำเสนอโครงการให้เด็กเยาวชนเรียนรู้เรื่องการใช้ชีวิต เด็กเล่นกลองยาว เด็กทำกิจกรรมกับครอบครัว เพื่อสร้างความอบอุ่นในครอบครัว จากนั้น สจรส.และชุมชนร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้หลักการโครงการท้องถิ่นน่าอยู่ (การจัดการข้อมูลชุมชน การวางแผน การปฏิบัติบริหารโครงการ) ซึ่งสรุปกิจกรรมโครงการนำเรื่องกระบวนการโดยเศรษฐกิจพอเพียง และมีปราชญ์ชาวบ้านช่วยสอนเด็ก และเด็กร่วมทำและร่วมวิเคราะห์กิจกรรมทุกกิจกรรม การจัดการข้อมูลชุมชน กิจกรรมพี่สอนน้อง สร้างอาชีพกลองยาวมีรายได้ มีหลักสูตรกลองยาวในโรงเรียน นำหลักภูมิปัญญาสร้างอาชีพ
                  2. “ประเด็นเรื่องเกษตรผสมผสาน” ได้แลกเปลี่ยนหมู่บ้านหนึ่ง มีการจัดการด้วยคุ้ม ซึ่งแต่ละคุ้มจะมีจุดเด่นและถนัด เช่น คุ้มเลี้ยงไก่ คุ้มเลี้ยงปลา คุ้มเลี้ยงกบ คุ้มเลี้ยงวัว คุ้มปลูกผัก เป็นต้น ซึ่งในหมู่บ้านจะมีการแลกเปลี่ยนผลผลิตกัน และนำของไปขายโดยใส่ตะกร้าหน้าจักรยานแล้วปั่นจักรยานขายไปตามหมู่บ้าน ซึ่งชุมชนนี้จะมีความมั่นคงด้านอาหารอยู่ตลอดเวลาและมีรายได้กับครอบครัวตนเอง นอกจากนี้คุ้มยังเปิดศูนย์การเรียนรู้ในแต่ละด้านการผลิตของคุ้มตนเองกับบุคคลภายนอกอีกด้วย ประเด็นเกษตรผสมผสานดังกล่าวได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชนที่ต้องการทำเรื่องปลูกพืชร่วมยางและชุมชนเพาะเห็ดจะนำแนวคิดเรื่องคุ้ม และแนวคิดเรื่องการจัดการข้อมูล การทำแผนชุมชน การปฏิบัติบริหารโครงการ โดยการนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ (เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย เพิ่มการออม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ทรัพยากรคุ้มค่า และเอื้ออาทร)
                  3. “ประเด็นการทำนาร้าง” มี 5 หมู่บ้านที่ต้องการปัญหา ซึ่งการพูดคุยเบื้องต้นจะทำโครงการเดียวกันทั้งหมด แต่เมื่อได้พูดคุยวิเคราะห์ปัญหาจากน้ำท่วมเป็นประจำทุกปี เมื่อปลูกข้าวแล้วมีหนูมากินข้าวทำลายนาข้าว การลงทุนปาล์มในพื้นที่ขาดความมั่นคงด้านอาหาร การแก้ปัญหาควรเป็นเชิงบูรณาการแก้ปัญหาร่วมกันทั้งระบบนาร้าง โดยวิเคราะห์ถึงจุดเด่นของแต่ละชุมชน มีทุน วิเคราะห์ปัญหาเกิดจาก คน สภาพแวดล้อม และกลไก โดยการแก้ปัญหานาร้างทำกระบวนการในชุมชน การเก็บข้อมูลนาร้างควรเก็บอะไรบ้าง การมีวิทยากรมาอบรมเรื่องการเกษตร การวิเคราะห์ข้อมูล การคืนข้อมูล การวางแผน การลงแขกปลูกและเก็บเกี่ยวข้าวร่วมกัน ธนาคารพันธุ์ข้าว
    แลกเปลี่ยนชุมชนตัวอย่างปัญหาจากนากุ้งร้างดินเสียที่จังหวัดนครศรีธรรมราช แก้ปัญหาโดยการทดลองเลี้ยงปลากะพง การเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งคืนความอุดมสมบูรณ์ให้กับดินโดยเป็ดจะขี้ในพื้นที่ ซึ่งจะเป็นปุ๋ยในพื้นที่นั้นๆ แล้วจะย้ายการเลี้ยงเป็ดไปเรื่อยๆ มูลเป็ดจะเป็นปุ๋ยจนครบทุกพื้นที่
    เมื่อร่วมกันวิเคราะห์สรุปประเด็นที่แต่ละชุมชนจะนำไปแก้ปัญหาเชิงบูรณาการโดยดึงจุดเด่นของแต่ละชุมชน ได้แก่ หมู่ 1 ใช้กระบวนการปลูกพืชผักเกษตรปลอดสารพิษและนาข้าวอินทรีย์ หมู่ 2 ใช้กระบวนการธนาคารพันธุ์ข้าว รวบรวมพันธุ์ข้าวพื้นเมือง หมู่ 3 ใช้กระบวนการแก้ปัญหาเรื่องหนูกัดทำลายนาข้าว หมู่ 4 ใช้กระบวนการการจัดการระบบน้ำแก้ปัญหาน้ำท่วมนาข้าว หมู่ 5 ใช้กระบวนการ หมอดิน หมูหลุม ทำปุ๋ยอินทรีย์ โรงสี ซึ่งใช้หลักการเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้

                  จากนั้นช่วงบ่าย 13.00 น. ชุมชนผู้พัฒนาโครงการ พี่เลี้ยง และสจรส. ร่วมกันคิดและบันทึกรายละเอียดโครงการแต่ละข้อ โดย สจรส.ได้อธิบายแนะนำตั้งแต่ข้อ 1 เรื่องการตั้งชื่อ โดยการตั้งชื่อต้องมีชื่อหมู่บ้าน ระบุว่าทำเรื่องอะไร ชื่อชุมชนทำที่ไหน ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ การเปิดบัญชีมีการเซ็นชื่อร่วมกัน 3 คน บทบาทหน้าที่คนในโครงการ ระบุรายชื่อแกนนำในชุมชน ขั้นตอนวิธีการรวบรวมข้อมูล การดูแผนชุมขน การวิเคราะห์ทุนในชุมชน การระบุปัญหาในชุมชน การวิเคราะห์ปัญหาจาก คน สภาพแวดล้อม และกลไก การเขียนวัตถุประสงค์ต้องให้ครอบคลุม วัตถุประสงค์ข้อ 1 มีการจัดการข้อมูลในชุมชน ตัวชี้วัดคือมีการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล การคืนข้อมูล วัตถุประสงค์ข้อ 2 มีการทำแผนปฏิบัติการชุมชน ตัวชี้วัดคือมีแผนปฏิบัติ วัตถุประสงค์ข้อ 3 การแก้ปัญหาของชุมชน เช่น การเพิ่มรายได้ (ตัวชี้วัดมีกลุ่มอาชีพ) การลดรายจ่าย (ตัวชี้วัดมีการใช้ผลิตภัณฑ์ในชุมชน) การเพิ่มการออม (ตัวชี้วัดเป็นสมาชิกกองทุน) การใช้ทุนทรัพยากรอย่างคุ้มค่า (ตัวชี้วัดนาร้างมีการนำมาใช้ประโยชน์) จากวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดจะนำมาออกแบบกิจกรรมของโครงการอีกครั้ง จากนั้นได้แลกเปลี่ยนประเด็นที่ สสส.ไม่สนับสนุนในกิจกรรม เช่น การซื้อของแจก (แต่ซื้อมาสาธิตได้ ทดลองได้และไม่เกิน 20 เปอร์เซ็นต์) การไปศึกษาดูงานที่ไม่สมเหตุผล เช่น การไปศึกษาที่ไกล ใช้งบประมาณเกิน 20 เปอร์เซ็นต์ของโครงการ ซื้อของเพื่อมาลงทุน เป็นต้น ซึ่งการสนับสนุนเฉพาะกระบวนการชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ชุมชนได้เข้าใจและแลกเปลี่ยนแนวคิดการเสนอโครงการประกอบด้วย 1. โครงการมีการจัดการข้อมูล 2. จากข้อมูลเอามาทำแผนกิจกรรม 3. มีการแก้ปัญหาจากกิจกรรม 4. เกิดกลไกในชุมชน เพื่อนำไปสู่ชุมชนเข้มแข็งและชุมชนน่าอยู่
    2. ชุมชนได้เข้าใจแนวคิด “การมองคิดเขียนแบบเชื่อมโยง”
    3. ชุมชนได้เข้าใจแนวทางการเขียนพัฒนาข้อเสนอโครงการ
    4. ได้โครงการ ในประเด็น เรื่องยาเสพติด เรื่องเกษตรผสมผสาน การทำนาร้าง ปลูกพืชผักเกษตรปลอดสารพิษและนาข้าวอินทรีย์ ธนาคารพันธุ์ข้าว การแก้ปัญหาเรื่องหนูกัดทำลายนาข้าว การจัดการระบบน้ำแก้ปัญหาน้ำท่วมนาข้าว เศรษฐกิจพอเพียง (หมอดิน หมูหลุม ทำปุ๋ยอินทรีย์ โรงสี ซึ่งใช้หลักการเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้)

     

    23 23

    72. ประชุมหารือการจัดการระบบติดตามและประเมินผลของ ศอ.บต.

    วันที่ 7 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 - 13.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมหารือการจัดการระบบติดตามและประเมินผลของ ศอ.บต. และการใช้ระบบเว็บไซด์ติดตามสนับสนุนโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทาง ศอ.บต.มีความสนใจต่อเวบไซต์ติดตามประเมินผลโครงการ ได้นัดกับทีม สจรส.เพื่อวางแผนการทำเวบไซต์อีกครั้ง

     

    13 13

    73. ประชุมทำวางแผนการทำงานและทำรายงานการเงิน

    วันที่ 19 สิงหาคม 2557 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายละเอียดการประชุมเป็นการพูดคุยเรื่องงาน การวางแผนงานที่ต้องทำให้สอดคล้องกับการใช้เงินตามสัญญาโครงการ และจัดทำตารางกิจกรรมตามสัญญาเพื่อแสดงให้เห็นว่ากิจกรรมไหนที่ทำไปแล้ว กิจกรรมไหนที่ยังไม่ได้ทำ การวางแผนใช้จ่ายงบประมาณให้เหมาะสม การจัดทำเอกสารการเงินให้เรียบร้อย เพื่อง่ายในการตรวจสอบบัญชี การคีย์ข้อมูลการเงินลงตาราง Excel เพื่อให้ง่ายในการตรวจสอบการเงิน ที่แสดงให้เห็นว่าแต่ะกิจกรรมมีงบประมาณที่ตั้งไว้เท่าไร และจำนวนเงินที่ใช้จ่ายจริง ทำให้ง่ายในการจัดการงบประมาณในโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมงานโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ ได้แบ่งงานออกเป็น 2 ส่วน คือ งานการเงิน และงานติดตามโครงการ และแบ่งบทบาททีมทำงาน เพื่อให้ทำงานได้รวดเร็ว และเสร็จทันภายในเวลา

     

    5 0

    74. ประชุมทีมงานร่วมกิจกรรม สสส.ร้อยพลังสร้างสุข

    วันที่ 26 สิงหาคม 2557 เวลา 13:30 - 17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กล่าวต้นรับทีมผู้นำเสนอห้องย่อยเศรษฐกิจพอเพียง โดยคุณนงลักษณ์ รักเล่ง จาก สจรส.มอ. และนำเสนอรูปแบบการจัดห้องย่อยสำหรับใช้นำเสนอในงานสร้างสุข สสส. แต่ละโครงการได้นำเสนอเรื่องราวที่จะบอกเล่าให้ผู้มาร่วมงานในวันพรุ่งนี้ เพื่อซักซ้อมก่อนถึงวันจริง โดยมีพี่เลี้ยง ทีม สจรส.ช่วยให้คำแนะนำต่อการนำเสนอ เนื้อหาในการนำเสนอแต่ละโครงการต้องสื่อให้เห็น 3 ประเด็น คือ กาจัดการข้อมูล การทำแผนชุมชน และการบริหารจัดการโครงการที่นำไปสู่กลไกของชุมชน เมื่อซักซ้อมเสร็จ ทางทีมผู้นำเสนอโครงการได้จัดเตรียมสิ่งของ อุปกรณ์ที่นำมาแสดงในงานสร้างสุข ซึ่งแต่ละพื้นที่ได้เตรียมมาอย่างเต็มที่ และตั้งใจนำเสนอ เป็นภาพที่ประทับใจมาก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้นำเสนอโครงการจาก 4 ภาค ได้ซักซ้อมข้อมูล และเห็นจุดเด่นที่จะนำมาเล่าเสนอให้ผู้มาร่วมงานฟัง รวมทั้งได้มีการเตรียมการจัดแสดงสิ่งของที่ดี ๆ ในโครงการ จนห้องย่อยเสร็จเรียบร้อยพร้อมนำเสนอและแสดงในวันพรุ่งนี้

     

    25 24

    75. ร่วมงาน ร้อยพลัง สร้างสุข สสส.

    วันที่ 27 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 - 17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 27 ก.ย.2557 เช้า : ร่วมงานร้อยพลัง สร้างสุข สสส. เปิดงานโดย ทพ.กฤษดา เรืองอารีย์รัชต์ ตามด้วยการแสดงสะท้อนการพัฒนาประเทศ โดยกลุ่มมะขามป้อม เรืองผักปลอกสารพิษ เด็กดี สุขภาพดีจากชุมชน เป็นการสะท้อนให้รัฐบาลหันมาใส่ใจสุขภาพของประชาชนมากขึ้น และให้ความสำคัญกับปัญหาสุขภาพมาเป็นอันดับต้น และแสดงการจัดการสุขภาพในชุมชนโดยคนในพื้นที่ และการสะท้อนของสังคมในปัจจุบันว่าใครที่จะเป็นคนแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยเฉลยคำตอบไว้ที่ทุกคนคนไทยต้องรวมพลังกันถึงจะแก้ปัญหาได้ และปฐกถา การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นใหเยั่งยืน จากมูลนิธิชัยอาสาพัฒนา และเสวนาการทำงานชุมชน บ่าย : ห้องย่อยเศรษฐกิจพอเพียง จัดแสดงผลิตภัณฑ์จากชุมชนด้านพืช ผลไม้ และสิ่งของที่ทำขึ้น เพื่อลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ มีชีวิตที่พอเพียง  มีการนำเสนอการทำโครงการให้กับผู้มาร่วมงานในห้องย่อย การนำเสนอเน้นเรื่อง การจัดการข้อมูล การจัดทำแผนชุมชน และการบริหารจัดการชุมชนสู่กลไก การจัดการสุขภาวะร่วมกัน วันที่ 28 ก.ย.2557 เช้า :  สรุปประเด็นห้องย่อยเมื่อวาน โดยการเสวนา และดูวิดีทัศน์การทำโครงการชุมชน ช่วงเวลา 10.00 น. กิจกรรมห้องย่อยเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการเสวนาเรื่องการจัดการข้อมูช การทำโครงการชุมชนท้องถิ่นโดยใช้ข้อมูลและแผนชุมชนนำ โดยผู้ใหญ่ โชคชัย จาก จ.ประจวบคีรัขันค์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • โครงการชุมชนท้องถิ่นในภาคใต้ มีการนำเสนอผลการทำโครงการที่ผ้านม ซึ่งประสบความสำเร็จไปบางส่วน ให้กับทีมโครงการชุมชนท้องถิ่นในภาคอื่น และแลกเปลี่ยนการสร้างสังคมที่เป็นสุขร่วมกัน

     

    100 100

    76. สจรส.มอ.ประชุมทบทวนวางแผนการดำเนินงาน

    วันที่ 10 กันยายน 2557 เวลา 11:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมา
    2. วางแผนการใช้จ่ายทางการเงิน
    3. วางแผนงานกิจกรรมลงปฏิทินกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ประชุมทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมา เดือนธันวาคม 2556 - 30 มิถุนายน 2557
      ทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา งวดที่ 1 ได้ดำเนินการในวัตถุประสงค์ที่ 1. พัฒนาศักยภาพทักษะผู้สนใจเสนอโครงการด้านการเขียนโครงการ  เพื่อให้ได้ข้อเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่  ที่มีความสมบูรณ์ตามกรอบทิศทางการสนับสนุนทุน และยกระดับคุณภาพโครงการให้ผู้รับทุนสามารถดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เป็นที่เรียบร้อย
      สรุปสถานการณ์ ปี 2557 รอบ 1 สามารถพัฒนาโครงการที่สมบูรณ์และชุมชนกำลังดำเนินโครงการจำนวน 119 โครงการ และได้ปฐมนิเทศเป็นทีเรียบร้อย ปี 2557 รอบ 2 ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. 73 โครงการ
      และกำลังอยู่ในขั้นตอนการปรับแก้ข้อเสนอโครงการ รวมโครงการปี 2557 ทั้งหมด 192 โครงการ

    2. วางแผนการใช้จ่ายทางการเงิน
      ทบทวนค่าใช้จ่ายที่ผ่านมา การปิดงวดที่ 1 เป็นที่เรียบร้อย และออกแบบการสร้างตาราง Excel ใหม่ เพื่อให้มองภาพรวมและรายละเอียดการใช้จ่ายการเงินได้มากขึ้น จากนั้นวางแผนค่าใช้จ่ายตามรายกิจกรรม นำไปสู่การกรอกค่าใช้จ่ายในแผนงานต่อไป

    3. วางแผนงานกิจกรรมลงปฏิทินกิจกรรม
      ได้ประชุมวางแผนงาน สรุปได้ดังนี้
      เสาร์ 25 – อาทิตย์ 26 ตุลาคม 2557 ปฐมนิเทศโครงการชุมชนน่าอยู่ รุ่น 2 ทุกจังหวัด, เสาร์ 1 - อาทิตย์ 2 พฤศจิกายน 2557 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปิดงวด 1 ภาคใต้ตอนล่าง 7 จังหวัด รุ่น 1  ได้แก่ จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา พัทลุง สตูล และตรัง, จันทร์ 3 - อังคาร 4พฤศจิกายน  2557 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปิดงวด 1 ภาคใต้บน รุ่น 1 ได้แก่ จังหวัดกระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา สุราษฏร์ธานี, เสาร์ 31 มกราคม - อาทิตย์ 1 กุมภาพันธ์ 2558 แลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการชุมชนน่าอยู่ ปิดงวด 1 รุ่น 2 ทุกจังหวัด, พฤหัสบดี 19 – จันทร์ 23  กุมภาพันธ์ 2558 พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง (ชุมชนน่าอยู่), อาทิตย์ 1 – อาทิตย์ 15 มีนาคม 2558 ถอดบทเรียนชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ทีมสจรส. กับทีมสังเคราะห์ลงพื้นที่ สังเคราะห์คุณค่าโครงการร่วมกับ ผู้รับผิดขอบโครงการและพี่เลี้ยง, เสาร์ 9 – เสาร์16 พฤษภาคม 2558 ประชุมสังเคราะห์ ชุมชนน่าอยู่พี่เลี้ยงทบทวนงานสังเคราะห์ของถนอม แยกตามรายจังหวัด, เสาร์ 27 - อาทิตย์ 28 มิถุนายน 2558 ปิดโครงการชุมชนน่าอยู่ รุ่น 1 ภาคใต้ตอนล่าง ได้แก่ จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา พัทลุง สตูล และตรัง, จันทร์ 29 - อังคาร 30 มิถุนายน 2558 ปิดโครงการชุมชนน่าอยู่ รุ่น 1 ใต้บน ได้แก่ จังหวัดกระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา สุราษฏร์ธานี, เสาร์ 11 – อาทิตย์ 12 กรกฎาคม 2558 งานสร้างสุขชุมชนน่าอยู่ ภาคใต้, เสาร์ 22 – อาทิตย์ 23  สิงหาคม 2558 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ปิดโครงการชุมชนน่าอยู่ รุ่น 2

     

    4 4

    77. ประชุมวางแผนการทำงานเดือนตุลาคม 2557

    วันที่ 2 ตุลาคม 2557 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมทบทวนงานทีผ่าน วางแผนการทำงาน และปรับปรุงพัฒนาระบบติดตามโครงการกับเว็บไซต์ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การประชุมได้พูดคุยประเด็นเรื่อง การทบทวนผลดำเนินงานที่ผ่านมาและการวางแผนการทำงานในเดือนตุลาคม การทำงานร่วมกับศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)  การปรับปรุงเว็บไซต์โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่  การบันทึกบัญชีกับโปรแกรม Excel

    การทบทวนผลดำเนินงานที่ผ่านมาและการวางแผนการทำงานในเดือนตุลาคม ทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา โครงการปี 2557 รุ่น 2 สามารถพัฒนาโครงการ ได้ 73 โครงการ ส่งเอกสารข้อตกลงและหนังสือจัดตั้งคณะบุคคลไปยัง สสส. และวางแผนปฐมนิเทศรุ่น 2 ในวันที่ 25 – 26 ตุลาคม 2557<br />
    

    และวางแผนมอบหมายงานให้แกนนำพี่เลี้ยงจังหวัด ติดตามบันทึกข้อมูลการกำหนดวันเริ่มต้นสัญญาโครงการ วันส่งรายงานงวดที่ 1 วันส่งรายงานงวดที่ 2 และวันส่งรายงานงวดที่ 3 เพื่อช่วยในการติดตามอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

    ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ได้ร่วมกับ สจรส.มอ.ในการใช้ระบบเว็บไซต์ ฅนใต้สร้างสุขในการติดตามและประเมินผลโครงการ โดยการทำงานร่วมกับบัณฑิตอาสาประจำพื้นที่ในการใช้ระบบเว็บไซต์ในการรายงานผลโครงการ<br />
    
    การปรับปรุงเว็บไซต์โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ โดยการเพิ่มตารางให้เห็นถึงหน้าภาพรวมของ การกำหนดวันเริ่มต้นสัญญาโครงการ วันส่งรายงานงวดที่ 1 วันส่งรายงานงวดที่ 2 และวันส่งรายงานงวดที่ 3 เพื่อง่ายต่อการติดตามประเมินผล ไม่ให้เกิดความล่าช้าในการดำเนินโครงการ และพี่เลี้ยง ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถนำไปใช้ในการวางแผนการปฏิบัติ การจัดการกิจกรรมอย่างมีประสิทธิภาพได้<br />
    

    การบันทึกบัญชีกับโปรแกรม Excel สจรส.มอ. วางระบบการคำนวณค่าใช้จ่าย ให้เห็นถึงภาพรวมค่าใช้จ่ายทั้งหมดของแต่ละกิจกรรม โดยออกแบบการคำนวณ 4 Sheet คือ Sheet 1 การคำนวณค่าใช้จ่ายพี่เลี้ยง Sheet 2 การคำนวณค่าใช้จ่ายผู้เข้าร่วมประชุม Sheet 3 การคำนวณค่าวัสดุ อาหาร ที่พัก และอื่นๆ Sheet 4 สรุปภาพรวม

     

    5 5

    78. ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียบรู้ ปิดงวดที่ 1 รายจังหวัดชุมพร

    วันที่ 15 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 - 17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และแนะนำตัว

    2. ดำเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยพี่เลี้ยงตรวจสอบความเรียบร้อบของการทำรายงาน และความเรียบร้อยของเอกสารการเงิน รวมทั้งการกรอกข้อมูลในเวบไซต์

    3. เมื่อพี่เลี้ยงตรวจสอบความเรียบร้อยแล้ว ทาง สจรส.มอ.จะตรวจสอบอีกครั้งก่อนปริ้นรายงานและทำเล่มเพื่อส่ง สสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โครงการทั้งโครงการปี 2556 มีบางโครงการยังปิดโครงการไม่เรียบร้อย เนื่องจากการทำเอกสารไม่ถูกต้องต้องมีการปรับแก้บางส่วน
    และโครงการปี 2557 บางโครงการการรายงานกิจกรรมผ่านเวบไซต์ยังขาดความสมบูรณ์ของข้อมูลในการบันทึก และเอกสารทางการเงินยังไม่เรียบร้อย
    ทั้งนี้มีโครงการที่เรียบร้อยแล้วได้ส่งเอกสารเพื่อดำเนินการต่อไป ในส่วนโครงการที่ไม่เรียบร้อยพี่เลี้ยงจะติดตามสนับสนุนอย่างใกล้ชิด

     

    20 35

    79. ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียบรู้ ปิดงวดที่ 1 รายจังหวัดสตูล

    วันที่ 18 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. พี่เลี้ยงและผู้รับผิดชอบโครงการลงทะเบียน

    2. แบ่งกลุ่มตรวจความเรียบร้อยของโครงการ โดยทีมพี่เลี้ยงช่วยตรวจความเรียบร้อยของเอกสารและการกรอกข้อมูลในเวบไซต์
      ก่อนที่จะให้ สจรส.ตรวจความเรียบร้อยอีกครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีม สจรส.มอ.ได้ทราบถึงการทำงานติดตามโครงการในพื้นที่ ตรวจความเรียบร้อยของเอกสารโครงการ
    และการบันทึกข้อมูลในเว็บไซต์พบว่า มีบางโครงการที่เป็นโครงการต่อเนื่องทำเอกสารมาเรียบร้อย และบันทึกกิจกรรมที่สมบูรณ์
    ในบางโครงการเอกสารการเงินส่วนใหญ่ไม่เรียบร้อย การกรอกลงรายละเอียดไม่ถูกต้อง เอกสารการเงินไม่ตรงกับเวบไซต์
    และรายงานกิจกรรมไม่สมบูรณ์ ควรแก้ไขปัญหาอย่างทันที

     

    74 68

    80. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปิดงวด 1 ภาคใต้ตอนล่าง 7 จังหวัด รุ่น 1

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ผู้รับผิดชอบโครงการและพี่เลี้ยงในแต่ละจังหวัด ตรวจความเรียบร้อยของรายงาน ส.1 รายงาน ง.1 และหลักฐานการเงิน
    2. ทีม สจรส.มอ.ช่วยตรวจความเรียบร้อยของรายงานและเอกสารการเงินอีกครั้ง เมื่อพบข้อผิดพลาด จะให้คำแนะนำต่อผู้รับผิดชอบโครงการให้รีบแก้ไขพร้อมกับแจ้งพี่เลี้ยงให้รับทราบร่วมกัน
    3. โครงการที่เรียบร้อย สามารถส่ง สจรส.ได้เลย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. โครงการส่วนใหญ่จะมีปัญหาเรื่องการลงกิจกรรมย่อยไม่ตรงกิจกรรมหลัก และการคำนวนงบประมาณในกิจกรรมย่อยไม่ถูกต้อง รวมทั้งพี่เลี้ยงไม่ได้ดูในเบื้องต้น ทำให้ต้องอธิบายและผู้รับผิดชอบโครงการจะเข้าใจยาก
    2. รายงานกิจกรรม จะมีข้อมูลน้อยมาก ไม่ค่อยตอบตัวชี้วัดของกิจกรรม
    3. ค่าใช้จ่ายที่กรอกในเวบไซต์ มักจะไม่ตรงกับใบเสร็จ และหลายโครงการไม่มีเอกสารการเงิน แต่ได้กรอกข้อมูลลงในเวบไซต์แล้ว เมื่อสอบถามจะได้คำตอบที่เหมือนกับเกือบทุกโครงการ ว่า เอกสารอยู่ที่บ้าน
    4. ใบลงทะเบียนหายและบางโครงการใช้วิธีการถ่ายเอกสารสี เอามาแนบ
    5. ทุกโครงการลงค่าใช้จ่ายผิดหมวด คือ ลงค่าเดินทางในหมวดค่าสาธารณูปโภค ซึ่งค่าเดินทางอยู่ในค่าใช้สอย โดยให้คำแนะนำ ดำเนินการปรับแก้ และแจ้งพี่เลี้ยงให้รับทราบ

     

    52 49

    81. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปิดงวด 1 ภาคใต้บน รุ่น 1

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีม สจรส.ให้คำแนะนำต่อผู้รับผิดชอบโครงการ เรื่อง การเขียนรายงานกิจกรรม การเขียนหลักฐานใบสำคัญรับเงิน และตรวจสอบความเรียบร้อยของเอกสารรายงานก่อนส่ง สจรส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้มีการแลกเปลี่ยนกับพี่เลี้ยงและผู้รับผิดชอบโครงการ ถึงการลงหมวดค่าใช้จ่าย เนื่องจากยังทางโครงการยังลงหมวดค่าใช้จ่ายไม่ถูกต้อง และปรับความเข้าใจร่วมกันว่า
    • ค่าโทรศัพท์ ค่าเดินทางประสานงาน อยู่ในหมวดค่าตอบแทน แต่ให้เขียนในใบสำคัญว่าค่าประสานงาน

    • ค่าเดินทาง ค่านำ้มันรถ อยู่ในหมวด ค่าใช้สอย

    • ค่าทำป้ายไวนิล อยู่ในหมวดค่าจ่าง

    • ค่าอาหาร ค่าที่พัก อยู่ในหมวดค่าใช้สอย

    1. โครงการที่ซุบเปอร์พี่เลี้ยงยังไม่ตรวจความเรียบร้อยของรายงาน มักจะพบความผิดพลาดเรื่องการลงกิจกรรมย่อยไม่ตรงกับกิจกรรมหลัก และพี่เลี้ยงก็ยังไม่ได้ดูก่อนส่ง สจรส. ทำให้ช้าในการตรวจความเรียบร้อยของรายงาน

     

    9 10

    82. นิเทศโครงการปี 2557 รอบ 1 จ.พัทลุง

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีม สจรส.มอ.และพี่เลี้ยง จ.พัทลุง ให้คำแนะนำต่อผู้รับผิดชอบโครงการ ด้านการทำบันทึกรายงานกิจกรรม การเขียนใบสำคัญรับเงิน การจัดเอกสารเข้าแฟ้ม และตรวจสอบความเรียบร้อยของรายงานความก้าวหน้าก่อนส่ง สจรส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. โครงการที่มี คุณ ประเทือง อมรวิริยะ เป็นพี่เลี้ยง เอกสารรายงานการเงินมีความเรียบร้อย การจัดเอกสารเข้าแฟ้มตามกิจกรรม มีบันทึกกิจกรรมและสรุปค่าใช้จ่ายปะหน้า รวมทั้งเตรียมเอกสารมาพร้อม ทำให้ตรวจสอบความเรียบร้อยด้านการเงินได้เร็ว แต่จะมีปัญหาเรื่องการเขียนรายงานกิจกรรม ข้อมูลยังน้อย แต่ได้แนะนำให้เขียนเพิ่มเติม และให้ตอบตัวชี้วัดของกิจกรรม
    2. หลายโครงการยังไม่เรียบร้อย และไม้สามารถตรวจความถูกต้อง และยังไม่ส่งรายงานให้ สจรส.

     

    49 38

    83. นำเสนอผลงานวิจัยนักศึกษาคณะเภสัช

    วันที่ 21 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นักศึกษาเภสัชปี 2 นำเสนองานผลงานวิจัยโครงการ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในวิชาเรียนของภาควิชาบริหารเภสัชกิจ
    2. เมื่อนักศึกษานำเสนอเสร็จครบทุกคน พี่เลี้ยงโครงการร่วมแลกเปลี่ยนการทำงานเชิงพื้นที่ และให้ข้อแนะนำต่อนักศึกษาด้านการทำงานโครงการเชิงพื้นที่ให้เข้าถึงชุมชน
    3. สรุปผลการนำเสนอและกล่าวปิดงานโดยเจ้าหน้าที่ภาควิชาบริหารเภสัชกิจ คณะเภสัชศาสตร์ มอ.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • พี่เลี้ยงโครงการชุมชนท้องถิ่น และนักศึกษาคณะเภสัช ได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนและตั้งคำถามต่อผลการศึกษาที่เกิดขึ้น โดยพี่เลี้ยงจะเน้นการตั้งคำถาม และให้นักศึกษาได้ทบทวนผลของโครงการ ทำให้เกิดความรู้ต่อนักศึกษาในการทำโครงการเชิงพื้นที่ให้มีความครอบคลุมมากขึ้น และเกิดเป็นการทำงานร่วมกัน โดยพี่เลี้ยงได้แลกเปลี่ยนการติดตามโครงการ และกระบวนการทำโครงการในพื้นที่ สร้างความรู้ใหม้ให้กับนักศึกษาได้นำไปปฏิบัติต่อไป

     

    100 152

    84. ปฐมนิเทศโครงการชุมชนน่าอยู่ รุ่น 2

    วันที่ 29 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 - 20.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 29 พ.ย. 2557

    • 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน
    • 09.00 - 10.00 น. กระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล เพื่อการหนุนเสริมโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้ โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
    • 10.00 - 11.00 น. ความคาดหวัง ประสบการณ์ และแนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน โดย คุณปรีดารัตน์ ศรัทธานนท์กุล สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
    • 11.00 - 12.00 น. - การบริหารจัดการโครงการ (ทีมงาน/ชุมชน) และวิธีการจัดการปัญหา โดย คุณกำไล สมรักษ์ - การบริหารการจัดการงบประมาณ  (การเก็บหลักฐาน และเอกสารการเงิน) โดยคุณสมบูรณ์ ขวัญสงค์ - การทำรายงานโครงการ และ รายงานการเงิน โดยคุณกัญนภัส จันทร์ทอง และคุณจุรีย์ หนูผุด
    • 12.00 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
    • 13.00 - 14.00 น. การจัดทำรายงานผ่านเวบไซต์คนใต้สร้างสุข www.happynetwork.org โดยคุณภานุมาศ นนทพันธ์
    • 14.00 – 21.00 น. ผู้รับผิดชอบโครงการฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลในเวบไซต์

    30 พฤศจิกายน 2557

    • 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน
    • 09.00 - 12.00 น. ผู้รับผิดชอบโครงการฝึกปฏิบัติการลงข้อมูลในเวบไซต์ ต่อ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้รับผิดชอบโครงการมีความเข้าใจต่อหลักการทำโครงการชุมชนท้องถิ่น ด้านกระบวนการทำกิจกรรม การเบิกจ่ายงบประมาณโครงการ และการจัดการกับผู้เข้าร่วมโครงการกรณีผลที่ตั้งไว้ไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
    2. ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถกรอกข้อมูลรายละเอียดโครงการ แผนภาพ และปฏิทินโครงการได้ครบทุกโครงการ และมีความเข้าใจต่อการเขียนรายงานกิจกรรม โดยโครงการที่กรอกข้อมูลครบแล้ว ให้เขียนรายงานกิจกรรมวันที่มาปฐมนิเทศ เพื่อให้พี่เลี้ยงช่วยให้คำแนะนำด้านการเขียนรายงานกิจกรรม
    3. พี่เลี้ยง ผู้รับผิดชอบโครงการ และทีม สจรส.มีความสนิทกันมากขึ้น โดยเฉพาะพี่เลี้ยงใหม่ ได้เรียนรู้การติดตามโครงการจากการพูดคุยกับพี่เลี้ยงเก่า และการพูดคุยกับทีม สจรส.

     

    194 194

    85. ประชุมพี่เลี้ยงติดตามโครงการภาคใต้

    วันที่ 30 พฤศจิกายน 2557 เวลา 13:00 - 15.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชุมพี่เลี้ยง แจ้งให้ทราบเรื่องแผนงาน สสส.ประกอบด้วย 15 แผน โดยคุณปรีดารัตน์ ศรัทธานนทกุล และแจ้งให้ทราบการเปลี่ยนกรรมการและผู้บริหารของ สสส. ทำให้ต้องปรับแผนใหม้ในการทำงาน โดยเฉพาะงานโครงการชุมชนท้องถิ่น และโครงการเปิดรับทั่วไป
    2. ประชุมพี่เลี้ยง หารือในประเด็น ดังนี้

    - การปรับวิธีการลงบันทึกและการทำรายงานบนเวบไซต์ - การทำรายงานให้มีคุณภาพ ส่งภายในเวลา โดยเน้นชุบเปอร์พี่เลี้ยง - ข้อจำกัดเรื่องค่าเดินทาง และค่าตอบแทนของพี่เลี้ยงในกรณีที่เข้าร่วมประชุมกับ สจรส. - กรณ๊พี่เลี้ยงช่วยพื้นที่โดยเฉพาะเรื่องงบประมาณ การเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การหารือกับพี่เลี้ยงได้ข้อสรุปว่า
    1. ทาง สจรส.มอ.แบ่งพี่เลี้ยงออกเป็น 2 ประเภท คือ พี่เลี้ยง และผู้ช่วยพี่เลี้ยง ค่าตอบแทนจะถูกจำกัดโดยโครงการใหญ่ของ สสส. จะเน้นให้พี่เลี้ยงเป็นหลัก และผู้ช่วยจะเข้ามาเรียนรู้ร่วมกับพี่เลี้ยงเก่า ก่อนที่จะมาเป็นพี่เลี้ยงเต็มรูปแบบ และการเบิกค่าเดินทางให้เบิกเฉพาะคนที่ขับรถมา เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของ สสส. โดยเบิกตามจริง หากมารถโดยสารให้เบิกเป็นค่ารถโดยสาร 2. ค่าตอบแทนพี่เลี้ยง 14,000 บาทต่อโครงการ โดยพี่เลี้ยงต้องลงพื้นที่ 3 ครั้งเป็นอย่างน้อย ในแต่ละครั้งจะแบ่งเป็น ค่าเดินทาง 2,000 บาท ค่าตอบแทน 1,000 บาท รวม 3 ครั้งจะเป็นเงิน 9,000 บาท และอีก 1,000 บาท เป็นค่าใช้จ่ายส่วนอื่น ๆ รวมทั้งสิ่้น 10,000 บาท ที่พี่เลี้ยงจะได้ต่อโครงการ ส่วนอีก 4,000 บาท หักเป็นค่าตอบแทนของชุปเปอร์พี่เลี้ยง เป็นค่าตรวจการทำรายงานงวดที่ 1 และรายงานงวดที่ 2 ให้ถูกต้องก่อนส่งมายัง สจรส. ครั้งละ 2,000 บาท
    3. พี่เลี้ยงแต่ละคนควรดู 3 - 5 โครงการ เพื่อจะดูแลได้ครอบคลุม และไม่มีปัญหาเรื่องการเขียนรายงานการและการส่งรายงานล่าช้า
    4. การเขียนรายงานกิจกรรม คุณปรีดารัตน์ ศรัทธานนทกุล จาก สสส.ได้ให้ข้อเสนอแนะไว้ว่า การรายงานผลการดำเนินงานโครงการ เน้นการเขียนผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ในกรณ๊ที่พี่เลี้ยงเห็นว่าโครงการอยู่ในสถานะเสี่ยง ให้รีบปิดและแจ้งมา สสส.เพื่อดำเนินการต่อไป

     

    60 60

    86. ร่วมกิจกรรมบวชป่าและฉลองฝายชะลอน้ำบ้านทุ่งยาว

    วันที่ 20 มกราคม 2558 เวลา 09:00 - 12.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเยี่ยมชมนิทรรศการโครงการ อุดหนุนสินค้าจากร้านค้าของเครือข่ายโครงการ ร้านเสื้อและร้านเครื่องแกง
    • ประธานเปิดงานกล่าวทักทาย และเปิดงานโดยนายก อบจ.พัทลุง
    • พิธีสงฆ์ บวชป่า ให้พร และจัดทำเขตอภัยทาน
    • สจรส.กล่าวแนะนำการสนับสนุนทุนให้ชุมชนทำโครงการ จากแหล่งทุนของ สสส.
    • เกษตรอำเภอบางแก้ว กล่าวถึงการส่งเสริมชุมชนให้ทำเกษตรพอเพียงที่นำไปสู่การอนุรักษ์ทรัพยากรในชุมชน โดยเฉพาะสายคลองบ้านทุ่งยาว
    • ทำพิธีบวชป่าต้นแรก ปลูกต้นไม้ และปล่อยปลาคืนสู่ธรรมชาติ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ครู นักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งยาว หน่วยงานภาครัฐ ท้องถิ่น และคนในชุมชนได้ร่วมกันเป็นพยาน และยอมรับกฏ กติกา ของชุมชน ด้านการฟื้นฟูริมคลอง และการดูแลทรัพยากรคลองให้สะอาดอยู่เสมอ ด้วยการไม่ตัดไม้ริมคลอง ไม่จับปลาในเขตอภัยทาน
    • ทางหน่วยงานได้รับทราบว่าชุมชนมีการทำโครงการที่ได้รับงบสนับสนุนจาก สสส. และเข้ามาหนุนเสริมต่อ เพื่อให้โครงการที่ทำมีความต่อเนื่องในต่อไป

     

    100 150

    87. ตรวจทานเอกสารรายงานและการเงินโครงการ จ.สตูล

    วันที่ 30 มกราคม 2558 เวลา 10.00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • แต่ละโครงการทยอยนำเอกสารการเงินมาให้ตรวจ ทีม สจรส. และซุปเปอร์พี่เลี้ยงในจังหวัดสตูล คุณอนัญญา แซะหลี เป็นผู้ตรวจทานเอกสารการเงิน มีการให้คำแนะนำต่อเอกสารการเงินให้กับผู้รับผิดชอบโครงการ และเจ้าหน้าที่การเงินให้เข้าใจ เมื่อพบเอกสารที่ไม่ชัดเจน และแนะนำการจัดเก็บเอกสารเป็นชุดกิจกรรม เรียงตามวันที่ก่อนหลัง และใส่ในแฟ้มให้เรียบร้อย เพื่อความสะดวกในการตรวจสอบและการดูเอกสาร
    • หลังจากตรวจความถูกต้องของเอกสารการเงินเรียบร้อย จะตรวจการลงข้อมูลในเวบไซต์ โดยตรวจตั้งแต่หน้ารายละเอียด การกรอกข้อมูลการเงิน ชื่อโครงการ และกิจกรรม ให้ตรงกับเอกสารสัญญาโครงการ หลังจากนั้นตรวจสอบการบันทึกกิจกรรม ให้คำแนะนำการบันทึกให้มีข้อมูลที่ครบถ้วน และตรวจสอบรายงานการเงิน งวด 1 พร้อมกับให้คำแนะนำการจัดทำรายงานให้สมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ตรวจโครงการทั้งหมด 10 โครงการ มี 2 โครงการ ที่มีพี่รุ่งศักดิ์ เป็นพี่เลี้ยง ใช้เงินงวดที่ 1 ทำกิจกรรมไม่ถึง 50 เปอร์เซ็นต์
      และโครงการงวด 1 ล่าช้า ทางซุปเปอร์พี่เลี้ยงและพี่เลี้ยง ให้ทางโครงการกลับไปทำกิจกรรมในเดือนนี้อีก 2 กิจกรรม
      เพื่อใช้เงินให้มากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์
    • อีก 7 โครงการ เอกสารการเงินเรียบร้อย เนื่องจากทางพี่เลี้ยงได้ตรวจสอบมาก่อนแล้ว แต่มีคำแนะนำเพิ่มเติม ด้านการจัดเก็บเอกสารให้เป็นกิจกรรม และการเรียงเอกสาร หลักฐานให้ดูง่าย ส่วนใหญ่ยังทำกิจกรรมไม่เรียบร้อย จึงให้คำแนะนำและนัดวันส่งรายงานกับ สจรส.
    • อีก 1 โครงการ คือ โครงการอ่าวทุ่งนุ้ย มีรายงานบันทึกกิจกรรมในเวบไซต์ครบ
      และมีข้อมูลมาก แต่ไม่มีหลักฐานการเงิน เมื่อคุยกับพี่เลี้ยง ก็หนักใจมาก
      เพราะทำไม่ได้ตั้งคนที่ช่วยทำเรื่องการเงิน ทำให้ไม่มีหลักฐานการเงิน ทาง สจรส.นัดส่งเอกสารการเงินให้เรียบร้อยภายในเดือนนี้ หากพ้นสัญญากันว่าอาจจะต้องปิดโครงการ

     

    30 15

    88. สังเคราะห์โครงการปี 2556 จ.นครศรีฯ

    วันที่ 31 มกราคม 2558 เวลา 10.00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดเวทีสังเคราะห์โครงการ โดยพี่กำไล และทาง สจรส. พร้อมกันชี้แจงกระบวนการถอดบทเรียนในวันนี้
    • คุณถนอม ขุนเพชร อธิบายการเล่าเรื่อง แล้วนำเนื้อหาจากการเล่ามาสังเคราะห์ และเขียนเป็นบทความลงในหนังสืออีกครั้ง โดยมีกระบวนการ คือ ให้แต่ละโครงการออกมาเล่าเรื่องที่ประทับใจ สิ่งที่เกิดขึ้นในระหว่างการทำโครงการ หรือหลังจากการทำโครงการ ซึ่งแต่ละโครงการได้นำเสนอผลที่เกิดขึ้นได้อย่างน่าสนใจ มีการนำเสนอพร้อมภาพประกอบ และมีพี่เลี้ยงคอยให้ข้อมูลเพิ่มเติม ในระหว่างที่ขึ้นไปเล่าเรื่อง เมื่อเล่าเสร็จหรือถึงจุดที่น่าสนใจทางคุณถนอม ขุนเพชร จะซักถามรายละเอียด รวมทั้งคนอื่นที่นั่งฟัง เพื่อให้ข้อมูลที่เล่ามีเนื้อหาที่น่าสนใจมากขึ้น และง่ายในการตั้งชื่อเรื่องเมื่อนำไปเขียนในหนังสือ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้เรียนรู้กระบวนการสังเคราะห์ผลการทำโครงการ จากพี่ถนอม และทีมพี่เลี้ยงในจังหวัดนครศรีฯ เห็นการตั้งคำถามของทีมสื่อที่ทำให้เรื่องที่กำลังเล่าน่าสนใจ เป็นข่อมูลใหม่ และผู้ที่ขึ้นมาเล่าก็มีเรื่องที่อยากเล่าอยู่ตลอดเวลา

     

    30 47

    89. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการปี 2557 จ.นครศรีฯ

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แบ่งการจัดประชุมเป็น 3 ห้อง ห้องที่ 1 ห้องใหญ่ ทางผู้รับผิดชอบโครงการ ทำแบบประเมินคุณค่า 6 ประเด็น โดยทำในแบบฟอร์มที่ทาง สจรส.เตรียมมาให้ และมีพี่เลี้ยงคอยให้คำแนะนำในการเขียน เมื่อเขียนเสร็จแต่ละโครงการออกไปนำเสนอ มีพี่เลี้ยงช่วยตั้งประเด็นคำถาม เพื่อให้การเล่านำเสนอน่าสนใจ และเห็นเรื่องที่สามารถนำไปสังเคราะห์ต่อได้
    ห้องที่ 2 เป็นห้องย่อย ทำการสังเคราะห์โครงการ ทีละโครงการ โดยมีพี่ถนอม ขุนเพ็ชร ทีมสื่อจาก สสส.ทำการพูดคุยสัมภาษณ์ อัดวิดีโอ เพื่อบันทึกภาพและเสียง สำหรับนำไปเรียบเรียงเป็นเรื่องราวเพื่อเขียนลงหนังสือในต่อไป ห้องที่ 3 ดำเนินการโดย คุณกำไล พี่เลี้ยงจังหวัดนครศรีฯ ดำเนินการพูดคุยสัมภาษณ์ และทีม สจรส.ทำการบันทึกเสียงพร้อมกับสอบถามเพิ่มเติม มีทั้งสิ้น 4 โครงการ เป็นโครงการที่น่าสนใจ แต่เรื่องที่นำเสนอยังไม่ชัดเจน ทางพี่กำไล จึงสัมภาษณ์เรื่องที่ได้ทางพี่เลี้ยงจะทำการติดตามและอาจจะสามารถสังเคราะห์ได้ในต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้สังเคราะห์โครงการที่สามารถนำไปเรียบเรียงเขียนลงหนังสือได้ จำนวน 17 โครงการ
    • มีโครงการที่ติดตามผลและสามารถจะสังเคราะห์ผลโครงการได้ในต่อไป จำนวน 4 โครงการ

     

    80 80

    90. สังเคราะห์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการปี 2556 - 2557 จ.สงขลา ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส

    วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ห้องย่อยที่ 1 คุณถนอม ขุนเพ็ชร ดำเนินการพูดคุยสังภาษณ์ ทีละโครงการ มีทีมสื่อ สสส.ทำการถ่ายวิดีโอ บันทึกเสียงเก็บไว้
    • ห้องที่ 2 เป็นห้องรวม แต่ละโครงการทำแบบประเมินคุณค่า 6 ประเด็น โดยมีพี่เลี้ยงคอยให้คำแนะนำอย่างใกล้ชิด และออกมานำเสนอทีละโครงการ โดยเน้นเรื่องที่อยากเล่า และให้สรุปสิ่งที่ได้ใน 6 ประเด็น 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้โครงการที่สามารถสังเคราะห์และนำไปเรียบเรียงเขียนเป็นเรื่องเล่าได้จำนวน 7 โครงการ
    • ทีมโครงการที่อยู่ในห้องใหญ่ ได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เกิดการให้คำแนะนำในการทำโครงการร่วมกัน

     

    50 50

    91. สังเคราะห์และแลกเปลี่ยนโครงการปี 2556-2557 จ.สตูล

    วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ห้องรวมใหญ่ ผู้รับผิดชอบแต่ละโครงการ ทำแบบประเมินคุณค่า 6 ประเด็น และนำเสนอเรื่องราวดีๆ ที่เกิดขึ้น ดำเนินการตั้งคำถามโดยทีม สจรส. และพี่เลี้ยง จ.สตูล
    • ห้องย่อยเล็ก ดำเนินเวทีโดยพี่ถนอม ขุนเพ็ชร ทำการสัมภาษณ์พูดคุย เรื่องราวที่เด่นที่เกิดขึ้นในช่วงทำโครงการ มีทีมสื่อจาก สสส.ทำการบันทึกภาพและเสียง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้โครงการที่สังเคราะห์และนำไปเขียนเรียบเรียงเป็นเรื่องเล่าที่ดี ๆ ลงในหนังสือได้ จำนวน 7 โครงการ เป็นโครงการปี 56 และ โครงการปี 57
    • ทีมผู้รับผิดชอบโครงการในจังหวัดสตูลได้แลกเปลี่ยนผลการทำโครงการที่ผ่านมาร่วมกัน เกิดความรู้และผลที่นำไปสู่การทำโครงการของตนเองในพื้นที่ให้ดีมากขึ้น

     

    60 60

    92. ถอดบทเรียนและสังเคราะห์โครงการ จ.พัทลุง

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ช่วงเช้า ดำเนินเวทีโดยพี่เสณี พี่เลี้ยงจังหวัดพัทลุง เล่าตัวอย่างผลการทำโครงการที่ผ่านมา และให้โครงการที่จะเข้าห้องสังเคราะห์เล่าเรื่องราวที่ดี ๆ ให้กับโครงการอื่น ๆ ที่อยู่ในห้องฟัง ซักถามพูดคุยโดยพี่เลี้ยง จากนั้นให้ อ.ไพฑูรย์อธิบายการทำแบบประเมินคุณค่า 6 ประเด็น พร้อมยกตัวอย่างเพื่อให้เข้าใจง่าย
    • ช่วงบ่าย แบ่งเป็น 2 ห้อง คือ ห้องที่ทำการสังเคราะห์โครงการทั้งโครงการปี 56 และโครงการปี 57 ดำเนินการซักถามพูดคุยโดยพี่ถาวร มีการบันทึกเสียง เพื่อนำไปเรียบเรียงเขียนเป็นเรื่องเล่าลงในหนังสืออีกครั้ง ส่วนห้องใหญ่ ทีมผู้รับผิดชอบโครงการทำแบบประเมินคุณค่า 6 ประเด็น และนำเสนอเรื่องราวให้ทุกคนฟัง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้สังเคราะห์โครงการที่นำไปเขียนเป็นหนังสือจำนวน 5 โครงการ
    • โครงการปี 57 มีกำลังใจทำโครงการ จากการมาพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนเรื่องเล่ากัน

     

    64 64

    93. ถอดบทเรียนและสังเคราะห์โครงการ จ.สตูล ชุดที่ 2

    วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แบ่งการดำเนินเวทีออกเป็น 2 ห้องย่อย คือ ห้องที่ทำการสังเคราะห์โครงการ ดำเนินการโดยพี่ถนอม ขุนเพ็ชร และห้องรวม จะทำแบบประเมิณคุณค่า 6 ประเด็น และนำเสนอเรื่องที่ได้ ดำเนินการโดยทีม สจรส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ถอดบทเรียนโครงการ จ.สตูล เพื่อจัดทำเป็นเอกสารหนังสือชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ใช้ในงานสร้างสุขภาคใต้

     

    25 25

    94. ทบทวนข้อมูลสังเคราะห์โครงการภาคใต้

    วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 - 17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เดิมกำหนดการที่วางไว้ คือ การนำข้อมูลโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ จ.สตูล จ.นราธิวาส จ.สงขลา จ.นครศรีฯ จ.ปัตตานี จ.ยะลา และ จ.พัทลุง มาทบทวนเนื้อหา เพิ่มเติม และปรับเนื้อหาให้สมบูรณืมากขึ้น แต่เนื่องจากพี่ถนอม ขุนเพชร ยังเขียนไม่เสร็จ จึงค่อยนัดพี่เลี้ยงคุยใหม่ในเรื่องนี้
    • การประชุมในครั้งนี้ จึงหารือ 1. การพัฒนาโครงการปี 2558 - 2559 2. การพัฒนาระบบติดตามโครงการให้มีคุณภาพ โดยใช้ระบบ Super พี่เลี้ยง ช่วยตามพี่เลี้ยงในพื้นที่อีกครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.การพัฒนาโครงการปี 2558 - 2559 มีรายละเอียด ดังนี้   1.1 การประชาสัมพันธ์โครงการ จะประชาสัมพันธ์ผ่านทางหน่วยงานและแจ้งให้พี่เลี้ยงประชาสัมพันธ์ในพื้นที่   1.2 รูปแบบการเขียนโครงการ พยายามขยับหมวดเรื่องที่จะทำให้ชัด เขียนเป็นเรื่องเดียวกัน เน้น บทบาทสภาผู้นำทุกโครงการ หากเป็นโครงการต่อเนื่องต้องเขียนที่มาที่ไปของผลการทำโครงการครั้งที่ 1
      1.3 กลุ่มเป้าหมายในโครงการต้องเขียนให้ชัดเจน มีกลุ่มเป้าหมายหลักและกลุ่มเป้าหมายรอง
      1.4 สิ่งที่อยากเห็นหลังจากทำโครงการมีองค์ความรู้ใหม่หรือนวัตกรรมอย่างไร   1.5 การเขียนแผนข้อมูลในตารางเวบไซต์ยังแทรกไม่ได้ ทำให้เสียเวลา ต้องปรับในเวบไซต์ทำโมดุล 3 ตัว คือ เพิ่ม แก้ไข ลบ

    2.ระบบติดตาม Super พี่เลี้ยง   2.1 ข้อดีที่พบ คือ รายงานการเงินที่ส่งมายัง สจรส.ผิดน้อยลง แต่ในส่วนของรายงานกิจกรรม และเอกสารการเงิน ทาง สจรส.ต้องดูละเอียดเหมือนเดิม และยังต้องลงไปตรวจเอกสารในช่วงปิดงวดเหมือนเดิม   2.2 ข้อเสนอ คือ พัฒนาศักยภาพ

    3.การค้นหาผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาโครงการ   3.1 จากการประชุมกับ สสส.มีการเสนอว่าควรให้มีผู้ทรงในพื้นที่ ซึ่งอาจจะปรับเรื่องผู้ทรง และ สสส.จะเอาผู้ทรงมาคุยกันเพื่อให้ชัดในทิศทางของ สสส.

    4.การเขียนรายงานโครงการ   4.1 ยังตอบไม่ค่อยชัดในเชิงผลลัพธ์ ผลผลิต ไม่ตอบตัวชี้วัดโครงการ ซึ่งแต่ละคนมีเทคนิคการเขียน แต่การเขียนต้องตอบโจทย์ สสส.ซึ่งพี่เลี้ยงหลายคนไม่ได้เขียน ซึ่งสิ่งที่พี่เลี้ยงต้องเขียน มี 3 อย่าง คือ ผู้ติดตาม ผลติดตาม และงานประเมินโครงการ

     

    30 0

    95. ทบทวนข้อมูลและประชุมพี่เลี้ยงหารือรูปแบบการจัดงานสร้างสุขภาคใต้

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมทีมพี่เลี้ยงหารือการจัดงานสร้างสุขภาคใต้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รูปแบบการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ - จัด 2 วัน 1 คืน เริ่มบ่ายวันที่ 1 ไปจบเที่ยงในวันที่ 2 - แบ่งห้องย่อยออกเป็น 4 ห้อง - concept ของงาน การจัดนิทรรศการให้อยู่ในห้องใหญ่ จะมีจุดที่น่าสนใจเพื่อให้คนจัดนิทรรศการได้เรียนรู้พร้อมกับคนจัดเวที - กำหนดการจัดเปิดงาน เชิญ ผอ.สสส.มาเปิดงานในช่วงบ่ายวันที่ 1

     

    30 28

    96. ประชุมทีมพี่เลี้ยงภาคใต้โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้

    วันที่ 4 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมทีมพี่เลี้ยงภาคใต้ เรื่อง - การจัดงานสร้างสุขร่วมกับสมัชชาภาคใต้ - การพัฒนาโครงการปี 2558 - 2559

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. การจัดงานสร้างสุขร่วมกับสมัชชาภาคใต้ ประกอบด้วย เครือข่ายสมัชชา เครือข่าย สสส. และ สปสช. จัดในช่วงเดือน ก.ย. 2558  เน้นการจัดงานที่เชื่อมร้อยเครือข่ายมาแลกเปลี่ยนกัน จุดเด่น จะนำเรื่องเด่นที่สังเคราะห์มาขับเคลื่อนเชิงนโยบาย
    2. การพัฒนาโครงการปี 2558

    - เปลี่ยนชื่อโครงการจากชื่อเดิมเป็น " โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภาคใต้" - เน้นการพัฒนากระบวนการอย่างมีส่วนร่วม และสร้างการเรียนรู้ - ช่วงปลายเดือนเมษายนจะเริ่มประชาสัมพันธ์เปิดรับข้อเสนอโครงการ - แต่ละจังหวัดเอาคนเข้ามาเรียนรู้ 15 พื้นที่ จำกัดโครงการพี่เลี้ยงที่ 3-5 โครงการ - การพิจารณาโครงการ ให้ผู้ทรงดูจากเวบไซต์ และเชิญพี่เลี้ยงมาคุยกับผู้ทรง - การติดตามโครงการ แต่ละจังหวัดมีระบบกลไกพี่เลี้ยง - ระบบเวบไซต์ติดตามโครงการ ปัญหาที่พบคือ ขนาดตัวอักษรเล็ก รูปภาพมีขนาดเล็ก และเขียนรายงานทั้งของโครงการและพี่เลี้ยงมักจะเป็นประโยคซำ้ ๆ ยังเขียนไม่ตอบผลลัพธ์ ผลผลิต และไม่ตอบวัตถุประสงค์
    - แบบฟอร์มการเขียนข้อเสนอโครงการ มีการปรับเพิ่มเติม

     

    25 25

    97. จัดทำรายงานปิดโครงการ ปี 2557 รุ่น 1 จ.นครศรีฯ

    วันที่ 17 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 - 17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชี้แจงการจัดทำรายงาน ส.3 การสังเคราะห์คุณค่าโครงการ การจัดทำเอกสารการเงิน โดยพี่กำไล
    • แบ่งกลุ่มปฏิบัติการทำรายงานฉบับสมบูรณ์ และตรวจสอบเอกสารการเงินโดยพี่เลี้ยงและทีม สจรส.ม.อ.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีโครงการเข้าร่วมทั้งสิ้น 29 โครงการ ส่วนใหญ่ ยังมีปัญหาเรื่องเอกสารการเงิน และการจัดทำรายงาน ส.3 ไม่เรียบร้อย ต้องแนะนำและกลับไปแก้ไขอีกครั้ง

     

    70 80

    98. ปิดโครงการชุมชนน่าอยู่ รุ่น 1 ภาคใต้ตอนล่าง

    วันที่ 28 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    0 0

    99. เวที สานงาน เสริมพลัง ร่วมสร้างประเทศไทยให้น่าอยู่ “ความมั่นคงทางสุขภาวะ วาระสร้างสุขของฅนใต้ ปี 2558”

    วันที่ 4 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดการ เวที สานงาน เสริมพลัง ร่วมสร้างประเทศไทยให้น่าอยู่
    “ความมั่นคงทางสุขภาวะ วาระสร้างสุขของฅนใต้ปี 2558” ระหว่างวันที่ 4 – 6 กันยายน 2558
    ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี ม.สงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา วันศุกร์ที่ 4 กันยายน 2558
    13.00-13.30 น. การแสดงศิลปวัฒนธรรม : กีปัสเรนัง 13.30–14.00 น. พิธีเปิด
    ทพ.กฤษดาเรืองอารีย์รัชต์
    ผู้จัดการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 14.00–14.45 น. การเสวนา เรื่อง พลังเครือข่ายสุขภาพภาคใต้เพื่อการขับเคลื่อนประเทศไทย
     นายประยงค์ รณรงค์
     ผศ.ดร.สุกรีหลังปูเต๊ะ  ผศ.จำนงค์ แรกพินิจ
    ดำเนินรายการโดย นพ.บัญชา พงษ์พานิช
    15.00-17.00 น.วงปัญญาเสวนาเชิงวิชาการ 1 “ความมั่นคงทางสุขภาวะ”
    ห้องย่อยที่ 1 ความมั่นคงด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
    ห้องย่อยที่ 2 ความมั่นคงทางด้านสุขภาพ
    ห้องย่อยที่ 3 ความมั่นคงทางด้านอาหาร
    ห้องย่อยที่ 4 ความมั่นคงของมนุษย์
    18.00–20.00 น. ลานปัญญาสร้างสุข แลกเปลี่ยนความรู้ นวัตกรรม  สาธิตและฝึกทำหมวกถักจากถุงพลาสติก (บูธ 38)  ข้าวยำ-น้ำบูดูสูตรเด็ด และน้ำสมุนไพร (บูธ 63)  ชิมชาใบขลู่ ชุมชนบ้านบางวัน (บูธ 35) เสาร์ที่ 5 กันยายน 2558
    08.00–10.00 น. ลานปัญญาสร้างสุข แลกเปลี่ยนความรู้ นวัตกรรม
     สาธิตและฝึกทำลูกปัดจากกระดาษ (บูธ 38)  พิธีทำขวัญข้าว (บูธ 37)  สาธิตทำน้ำหมักชีวภาพจากหอยเชอรี่ (บูธ 46)  หนังตะลุงโขนสด บ้านปากเหมือง (บูธ 71)  บรรยายและสาธิตการใช้โซลาร์เซลล์ผลิตไฟฟ้าในระดับครัวเรือน
    โดยดร.สมพร ช่วยอารีย์ (ลานศาลาเรือนไทย) 10.00–12.00 น. เสวนา “ออกแบบกลไกและทิศทางการทำงานร่วมกันของเครือข่ายสุขภาพภาคใต้”
     คุณธนานาถ ล้อทอง - นายเสณี จ่าวิสูตร
     นายสุทธิพงษ์ วสุโสภาพล - นายชัยพร จันทร์หอม
     ผศ.ดร.ทพ.วิรัตน์ เอื้องพูลสวัสดิ์ - นายทวีวัฒน์เครือสาย
    ดำเนินรายการโดย : นายประพจน์ ภู่ทองคำ ไทพีบีเอส 13.00–14.00 น. ลานปัญญาสร้างสุข แลกเปลี่ยนความรู้ นวัตกรรม  เวทีคุยสบายๆ กับผู้จัดการ สสส. (บูธ 22)  ละครหุ่นกระบอกมือ โดยกลุ่มเด็กและเยาวชนบ้านสวนเทศ (บูธ 73)  สาธิตการทำอาหารภาคใต้ (แกงเลียง/น้ำพริก) (บูธ 37) 14.00–17.00 น. วงปัญญาเสวนาเชิงวิชาการ 2 “การขับเคลื่อนเพื่อความมั่นคงทางสุขภาวะ” ห้องย่อยที่ 1 ชุมชนน่าอยู่
    ห้องย่อยที่ 2 เครือข่ายสมัชชาสุขภาพภาคใต้ : สมัชชาธรรมนูญ CHIA ห้องย่อยที่ 3 ปฏิรูปกองทุนสุขภาพท้องถิ่นสู่ความเป็นเจ้าของ
    ห้องย่อยที่ 4 สุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว ห้องย่อยที่ 5 ปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามความสุขของฅนใต้
    ห้องย่อยที่ 6 สิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากร
    18.00- 20.00น. ลานสร้างสุข แลกเปลี่ยนความรู้ นวัตกรรม ข้ามกลุ่ม ข้ามประเด็น
     เปิดลานเสวนา เรื่อง เราจะสร้างและขยายเครือข่ายผู้ใช้โซล่าเซลล์ระดับครัวเรือน และชุมชนได้อย่างไร? โดย ดร.สมพร ช่วยอารีย์
    ดำเนินรายการโดย นายไพฑูรย์ ทองสม (ลานศาลาเรือนไทย) วันอาทิตย์ที่ 6 กันยายน 2558
    08.00–09.00 น. ลานสร้างสุข แลกเปลี่ยนความรู้ นวัตกรรม
     แสดงการละเล่นวิถีใต้ (บูธ 1) 09.00–10.15 น. ข้อสรุปเพื่อการขับเคลื่อนสุขภาวะคนใต้
    โดยรศ.ดร.จีรเนาว์ ทัศศรี และดร.นฤทธิ์ ดวงสุวรรณ์ ให้ข้อคิดเห็นเพื่อการเสริมพลังโดย
     นายโชคชัย ลิ้มประดิษฐ์
     นายสุริยา ยีขุน
     นายธีรพล สุวรรณรุ่งเรือง
    ดำเนินรายการโดย : นายทวีสา เครือแพ
    10.15-10.45 “มองการขับเคลื่อนสุขภาวะของคนใต้” โดย นายแพทย์วิชัย โชควิวัฒน์
    10.45–11.30 น. เสนาเรื่อง “สานงานเสริมพลังอย่างสร้างสรรค์” ร่วมเสาวนาโดย- ผศ.ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์
    - นายแพทย์วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ - นายแพทย์ทวีเกียรติ บุญยไพศาลเจริญ
    ดำเนินรายการโดย : ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
    11.30 – 12.00 น. ปาฐกถาปิดโดย นายสมพร ใช้บางยาง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประมวลสรุปผลการจัดเวทีความมั่นคงทางสุขภาวะวาระสร้างสุขของฅนใต้ปี 2558 ในภาพรวม

    เป้าหมายของการขับเคลื่อนของเครือข่ายคือ ชุมชน คนใต้ เข้มแข็ง ฟันฝ่า วิกฤติ สู่สุขภาวะที่ดี ปัจจุบันและอนาคต ซึ่งมองว่าเป็นเรื่องร่วมของคนทุกคน
    ทุกเครือข่าย ทุกองค์กร และเป็นเงื่อนไขหรือประเด็นที่แต่ละคน กลุ่ม องค์กร เครือสามารถเข้ามาร่วมมือกันได้ ดังนั้นมีหลายองค์กรที่ดำเนินกิจกรรมเพื่อไปสู่เป้าหมายดังกล่าว รวมถึง เครือข่ายสุขภาพที่เราได้มาร่วมกิจกรรมกันวันนี้ เป้าหมายสู่สุขภาวะเป็นเป้าหมายของทุกคน ทุกศาสนา เพื่อให้เกิดความสุข สงบทางจิตวิญญาณ เข้าถึงแก่นของหลักศาสนธรรม
    เป็นวิถีการดำรงชีวิต และเป็นแนวทางที่ควรไปให้ถึง(สุกรี หลังปูเต๊ะ) แนวทางการขับเคลื่อนที่สำคัญคือ -การเริ่มจากการจัดการตนเอง โดย “พึ่งตนเองก่อนในอันดับแรก” มีแผนจัดการที่มีระบบ และเป้าหมายชัดเจน ไม่ว่าแผนการเงิน
    แผนอาชีพ แผนสิ่งแวดล้อม และแผนด้านสุขภาพ (ประยงค์ รณรงค์) -การรวมตัวกันเป็นองค์กรในชุมชนเพื่อร่วมมือ ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน และเชื่อมโยงไปถึงเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกชุมชน -การสานพลังความร่วมมือเพื่อให้ส่งผลในระดับกว้างและมีความต่อเนื่อง ด้วย ใช้องค์ความรู้ และปัญญา ด้วยสามประสานคือ
    ประชาชน(พลเมือง)-รัฐ รัฐท้องถิ่น –ทัน (อ.จำนงค์ แรกพินิจ)

    ในปีนี้ (2558)เพื่อให้ถึงเป้าหมายคือ “สุขภาวะคนใต้” เครือข่ายสุขภาพภาคใต้ร่วมขับเคลื่อนกับ 3 ส.ได้แก่ สสส.สปสช. และ สช. และภาคีพันธมิตรต่างๆ ใน4ประเด็น(เสา)หลักคือ ความมั่นคงทางทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ความมั่นคงทางด้านอาหาร
    ความมั่นคงของมนุษย์ และความมั่นคงด้านสุขภาพ

    ประเด็นสำคัญของความมั่นคงทั้ง4ด้าน ซึ่งมีทั้งรายละเอียดรูปธรรมในพื้นที่และแนวคิดแนวทาง ตัวอย่างเช่น -ความมั่นคงทางด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม สิ่งที่ดำเนินการที่ผ่านมา อธิบายและวางแนวการขับเคลื่อนว่า “ปัจเจกเพื่อสัปยะสังคม”
    หมายถึง การทำงานของคนๆหนึ่งแล้วทำให้ตัวเองและสังคมมีความสุข รูปธรรมที่สำคัญที่หยิบยกมาคือ “ธนาคารต้นไม้” -ความมั่นคงทางด้านอาหาร มีการขับเคลื่อน สร้างเครือข่าย สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ วัฒนธรรมและวิถีดั้งเดิม เช่น “เรือเหนือ” ระหว่างชุมชนคีรีวงกับชุมชนปากนคร หรือ “เกลอเขา เกลอเล” ชุมชนในพื้นที่ลุ่มน้ำของจังหวัดพัทลุง -ความมั่นคงของมนุษย์ มุ่งไปที่กลุ่มคนที่เปราะบางที่สุดคือ กลุ่มเด็ก เยาวชน ซึ่งจะเป็นอนาคตของชาติ แต่ต้องเจอกับสภาพแวดล้อมที่ต้องช่วยกันสร้างภูมิต้านต่อปัจจัยเสี่ยงต่างๆ สู้กับสื่อที่ไร้ขอบเขต ซึ่ง ถูกล้อมและรุมเร้าจากปัจจัยที่ลดทอนความมั่นคงตลอดเวลา” -ความมั่นคงด้านสุขภาพ ถือว่าเป็นพื้นฐานสำคัญที่เริ่มจากการจัดการสุขภาพสุขภาวะในระดับพื้นที่ มีเป้าหมายร่วมกัน
    คือ“คนในพื้นที่ต้องมีสุขภาวะดี ครอบคลุม 4 มิติ”

    การขับเคลื่อนไปสู่ความมั่นคงทั้ง4ด้าน นอกจากการหนุนเสริมจาก 3 ส.และพันธมิตรแล้ว “ตัวแสดง” ระดับพื้นที่

    ที่สำคัญที่ทำให้แนวคิด และเป้าหมาย สุขภาวะคนไต้เกิดได้จริงๆคือ ชุมชนในพื้นที่ภาคเอกชนภาคประชาสังคม องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นระดับต่างๆ และฝ่ายวิชาการ ที่มีบทบาทแตกต่างกันในการสนับสนุน
    และมีการสานพลังกันเป็นองค์กร และเครือข่ายข้ามประเด็นและข้ามพื้นที่ มีการร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกับเวทีครั้งนี้

    รูปธรรมการขับเคลื่อนเพื่อสุขภาวะของคนใต้ ร่วมกันของเครือข่ายสุขภาพภาคใต้ในรูปแบบของกิจกรรมในพื้นที่
    การขับเคลื่อนในลักษณะของเครือข่าย ได้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของกลุ่มกิจกรรมต่าง 6 กลุ่มด้วยกันได้แก่ ชุมชนน่าอยู่ เครือข่ายสมัชชาสุขภาพกองทุนสุขภาพสุขภาวะเด็ก เยาวชนและครอบครัวปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามความสุขคนใต้
    และสิทธิชุมชนกับการจัดการทรัพยากร

    ประเด็นที่มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนในห้องย่อยที่สำคัญคือ -กระบวนการวิธีการขับเคลื่อนของประเด็น เนื้อหา และพื้นที่ต่างๆ -รูปธรรมของความสำเร็จที่เกิดขึ้นกับชุมชนและเครือข่าย -ผลลัพธ์ บทเรียนของการขับเคลื่อน ปัญหาอุปสรรค -ข้อเสนอในการขับเคลื่อนของเครือข่าย และข้อเสนอเชิงนโยบาย โดยเฉพาะข้อเสนอต่อองค์สนับสนุนจาก 3 ส.และภาคีพันธมิตร

    ข้อเสนอในภาพรวมเพื่อให้องค์กร ภาคีต่างๆได้พิจารณาและมีส่วนร่วมในการสนับสนุน เพื่อให้เกิด สุขภาวะของคนใต้ดังต่อไปนี้ 1.การจัดการตนเอง พึ่งตนเองก่อน โดยเริ่มต้นที่ชุมชนและพื้นที่ 2.สร้างรูปธรรมชุมชนสุขภาวะ หรืองานสร้างสุขภาวะในพื้นที่ 3.การเชื่อมร้อยเป็นองค์กร กลุ่มที่เข้มแข็ง และเครือข่ายแนวราบที่มีประสิทธิภาพ 4.รวบรวมจัดฐานข้อมูลงานและเครือข่ายสุขภาวะ รวมถึงงานจัดการความรู้ 5.พัฒนาศักยภาพแกนนำในพื้นที่และเครือข่าย เพื่อยกระดับการทำงานสุขภาวะภาคใต้ 6.มีการสื่อสารสาธารณะทุกประเด็น ทุกมิติของงานสุขภาวะ 7.เชื่อมต่องานพื้นที่กับองค์กรสนับสนุน 3 ส. โดยใช้พื้นที่และประเด็นเป็นตัวตั้ง 8.ต้องมีกลไกการทำงานร่วมกันของ 3 ส.ในระดับพื้นที่จังหวัด หรือระดับเขต 9.การหนุนเสริมขับเคลื่อนนโยบายร่วมกันของพื้นที่และ 3 ส. โดยมีบทบาทสนับสนุนที่สอดคล้องกับองค์กร


    *** รายละเอียดตามไฟล์แนบ***

     

    1,158 1,200

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 พัฒนาศักยภาพ ทักษะด้านการเขียนโครงการ ให้ผู้สนใจเสนอโครงการ เพื่อให้ได้ข้อเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ ที่มีความสมบูรณ์ตามกรอบทิศทางการสนับสนุนทุน และยกระดับคุณภาพโครงการให้ผู้รับทุนสามารถดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : 1. มีผู้เสนอโครงการที่เป็นกลุ่มเป้าหมายที่ด้อยโอกาส/เป้าหมายใหม่ ได้รับความรู้ ผ่านกระบวนการพัฒนาทักษะการเขียนโครงการ เป็นโครงการต่อเนื่อง และโครงการใหม่ อย่างน้อย 230โครงการ ตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ สสส. เช่นลดอัตราการสูบบุหรี่/ดื่มเหล้า การบริโภคผักผลไม้มากขึ้น การลดภาวะน้ำหนักเกิน และชุมชนท้องถิ่นเข้มแข็ง เป็นต้น 2. ได้ข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพและมีสมบูรณ์และสามารถผ่านการพิจารณาอนุมัติ 230 โครงการ และกระจายทุนในจังหวัด/พื้นที่ที่ได้รับทุนน้อย อย่างน้อยจังหวัดละ 7 โครงการ ได้แก่ จังหวัด ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ระนอง กระบี่ พังงา และภูเก็ต 3. พัฒนาข้อเสนอโครงการต่อเนื่องจะยกระดับและหรือพัฒนาผลผลิตจากโครงการเกิดเป็นนวัตกรรมชุมชน

     

    2 เพื่อพัฒนาระบบ/กลไก/แนวทางการติดตามสนับสนุนและประเมินผลระดับภาค และปรับปรุงระบบเว็บไซด์สร้างสุขคนใต้ที่รายงานผลการดำเนินงานของผู้รับทุนและผู้ติดตาม ให้เกิดการเผยแพร่และเชื่อมโยง/แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้เกี่ยวข้อง
    ตัวชี้วัด : 1. สนับสนุน ผู้รับทุนโครงการสามารถดำเนินการได้ตามแผนและส่งผลงานให้ สสส. ครบถ้วนตามสัญญาเมื่อสิ้นสุดโครงการไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 2. ไม่มีโครงการล่าช้าเกิน 2 เดือน ร้อยละ 100 3. โครงการที่มีความเสี่ยงด้านการเงิน ไม่เกินร้อยละ 3 จากจำนวนโครงการทั้งหมด 4. ได้สื่อวีดีทัศน์และคู่มือการพัฒนาโครงการชุมชนสุขภาวะ รวมทั้งคู่มือการติดตามและสนับสนุนโครงการ 5. ได้ระบบเว็บไซด์การติดตามและการประมวลผลรายงานการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ พร้อมคู่มือ

     

    3 เสริมสร้างสมรรถนะขีดความสามารถของผู้รับทุนและพี่เลี้ยง/ผู้ติดตามด้านต่างๆที่เกี่ยวข้อง ผ่านกระบวนการ ปฐมนิเทศ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ เสวนาแลกเปลี่ยน และ ศึกษาดูงานในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้รับทุนและพี่เลี้ยง/ผู้ติดตามร้อยละ 90 ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้าน การบริหารจัดการ การเขียนโครงการ การติดตามสนับสนุน และนำความรู้ไปปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 100 2. มีฐานข้อมูลบุคคลหรือพื้นที่ต้นแบบ เพื่อเป็นแบบอย่างการศึกษาดูงานหรือการทำงานสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน 3. พี่เลี้ยง/ผู้ติดตามสามารถดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ และจัดทำ/ส่งรายงานผลการติดตามโครงการที่มีคุณภาพให้ทันงวดงานงวดเงินของผู้รับทุนโครงการ ร้อยละ 100

     

    4 รวบรวมสังเคราะห์ความรู้ที่เกิดจากโครงการ ก่อให้เกิดคุณค่าแก่ชุมชนในด้านต่างๆ เช่น เกิดความรู้เชิงปฏิบัติการและนวัตกรรมชุมชน เป็นต้น ที่สามารถขยายผลและสร้างประโยชน์ต่อสังคมและนำไปเชื่อมโยง สื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ เช่น เว็บไซด์ สื่อสิ่งพิมพ์ เป็นต้น
    ตัวชี้วัด : ได้โครงการที่ถอดบทเรียนและสามารถเผยแพร่ได้ และเป็นโครงการตัวอย่างที่ดี และนวัตกรรมอย่างน้อยร้อยละ 25 ของโครงการทั้งหมด

     

    5 เพื่อบูรณาการประสานภาคี เชื่อมโยง กระบวนการปฏิบัติการในชุมชนไปสู่การยกระดับเป็นกระบวนการนโยบาย และเกิดการเผยแพร่และเชื่อมโยง/แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
    ตัวชี้วัด : 1. มีผู้เข้าร่วมอย่างน้อยร้อยละ 80 ของผู้รับทุนที่เชิญเข้าร่วม 2. เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ขับเคลื่อนสร้างสุขภาวะในพื้นที่ภาคใต้ โดยวัดความพึงพอใจ/ความรู้ที่ได้รับ อย่างน้อย ร้อยละ 70 3. มีการขับเคลื่อนมาตรการ/นโยบายระดับตำบล ร้อยละ 25

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาศักยภาพ ทักษะด้านการเขียนโครงการ  ให้ผู้สนใจเสนอโครงการ เพื่อให้ได้ข้อเสนอโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่  ที่มีความสมบูรณ์ตามกรอบทิศทางการสนับสนุนทุน และยกระดับคุณภาพโครงการให้ผู้รับทุนสามารถดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อพัฒนาระบบ/กลไก/แนวทางการติดตามสนับสนุนและประเมินผลระดับภาค และปรับปรุงระบบเว็บไซด์สร้างสุขคนใต้ที่รายงานผลการดำเนินงานของผู้รับทุนและผู้ติดตาม ให้เกิดการเผยแพร่และเชื่อมโยง/แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้เกี่ยวข้อง (3) เสริมสร้างสมรรถนะขีดความสามารถของผู้รับทุนและพี่เลี้ยง/ผู้ติดตามด้านต่างๆที่เกี่ยวข้อง ผ่านกระบวนการ ปฐมนิเทศ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ เสวนาแลกเปลี่ยน และ ศึกษาดูงานในพื้นที่ (4) รวบรวมสังเคราะห์ความรู้ที่เกิดจากโครงการ ก่อให้เกิดคุณค่าแก่ชุมชนในด้านต่างๆ เช่น เกิดความรู้เชิงปฏิบัติการและนวัตกรรมชุมชน เป็นต้น ที่สามารถขยายผลและสร้างประโยชน์ต่อสังคมและนำไปเชื่อมโยง สื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ เช่น เว็บไซด์ สื่อสิ่งพิมพ์ เป็นต้น (5) เพื่อบูรณาการประสานภาคี เชื่อมโยง กระบวนการปฏิบัติการในชุมชนไปสู่การยกระดับเป็นกระบวนการนโยบาย และเกิดการเผยแพร่และเชื่อมโยง/แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาศักยภาพ ติดตาม ประเมินผลและสังเคราะห์ความรู้โครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่ภาคใต้ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 57-00154

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด