แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ญาติใคร ใครก็รัก ม.2 บ้านปากละงู (ต่อยอด) ”

ม.2 บ้านปากละงู ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล

หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะหวัน บุหลงลี

ชื่อโครงการ ญาติใคร ใครก็รัก ม.2 บ้านปากละงู (ต่อยอด)

ที่อยู่ ม.2 บ้านปากละงู ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 57-01459 เลขที่ข้อตกลง 57-00-0859

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2557 ถึง 30 มิถุนายน 2558


กิตติกรรมประกาศ

"ญาติใคร ใครก็รัก ม.2 บ้านปากละงู (ต่อยอด) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.2 บ้านปากละงู ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ญาติใคร ใครก็รัก ม.2 บ้านปากละงู (ต่อยอด)



บทคัดย่อ

โครงการ " ญาติใคร ใครก็รัก ม.2 บ้านปากละงู (ต่อยอด) " ดำเนินการในพื้นที่ ม.2 บ้านปากละงู ต.ละงู อ.ละงู จ.สตูล รหัสโครงการ 57-01459 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2557 - 30 มิถุนายน 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 193,100.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 30 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเตรียมความพร้อมการดูแลสุขภาพเครือญาติและกลุ่มเยาวชนติดยาเสพติดในชุมชน
  2. 2. เพื่อหนุนเสริมศักยภาพกลไกสุขภาพหมู่บ้าน
  3. เพื่อพัฒนาคนรุ่นใหม่และกลไกสุขภาพหมู่บ้าน
  4. - เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมิณผลโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศร่วมสร้างโครงการท้องถิ่นให้น่าอยู่ 2557

    วันที่ 15 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เริ่มด้วยการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการจัดปฐมนิเทศน์โครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่
    2. เขียนแผนงานในการดำเนินโครงการและกิจกรรมในการดำเนินโครงการ
    3. ทำแผนภาพเชิงระบบของโครงการ
    4. ทำปฏิทินโครงการเพื่อกำหนดการทำกิจกรรม
    5. หลักการจัดทำเอกสารการเงิน บัญชีโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โครงการได้วางแผนกิจกรรมที่จะดำเนินการดังนี้

    กิจกรรมที่ 1  ประชุมคณะทำงานโครงการจำนวน 12 ครั้ง

    กิจกรรมที่ 2  การจัดทำฐานข้อมูลแบบครบวงจร

    กิจกรรมที่ 3  เสริมพลังผู้นำ 4 ฝ่ายคือ ฝ่ายปกครอง ฝ่ายศาสนา ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายผู้นำชุมชน

    กิจกรรมที่ 4  กิจกรรมเครือข่ายอาสาสมัครเยี่ยมบ้าน

    กิจกรรมที่ 5  การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของชุมชน

    กิจกรรมที่ 6  13 ตระกูลสัมพันธ์ด้วยกีฬาวัฒนธรรม

    กิจกรรมที่ 7  สรุปถอดบทเรียน

    และได้วางแผนปฏิทินโครงการกำหนดวันจัดกิจกรรมตลอดทั้งโครงการตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2557 ถึงเดือนมิถุนายน 2558

     

    2 2

    2. การจัดทำป้ายปลอดบุหรี่

    วันที่ 1 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ได้ประสานทีมแกนนำคณะทำงานชุดเก่ามาออกแบบป้ายปลอดบุหรี่ และช่วยกันปรึกษารูปแบบที่ทำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ทำป้ายปลอดบุหรี่เพื่อใช้ในการทำกิจกรรมของโครงการ และทำให้คนที่สูบุหรี่ ลดพฤติกรรมลงได้ในอนาคต และสถานที่ดังกล่าวจะเป็นเขตปลอดบุหรี่

     

    30 30

    3. ประชุมคณะโครงการคณะทำงานครั้งที่ 1 เพื่อชี้แจงและทำความเข้าใจแก่คณะทำงาน

    วันที่ 3 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประสานทีมคณะทำงานชุดเก่าจำนวน 30 คน ในการทำความเข้าใจกิจกรรมโครงการโดยในช่วงแรกผู้ประสานงานโครงการได้ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุมคณะทำงานโครงการเพื่อทำความเข้าใจแผนงานกิจกรรมโครงการได้รับทราบและพูดถึงที่มาของโครงการว่าได้งบประมาณจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ซึ่งได้งบประมาณจำนวน 155,700 บาท ต่อด้วยชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมของโครงการทั้งหมดให้คณะทำงานได้รับทราบ และร่วมกันวางแผนการดำเนินงานกิจกรรมที่จะดำเนินงานต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการประชุมคณะทำงานในครั้งนี้เป็นการชี้แจงการทำงานของโครงการ ญาติใคร ใครก็รัก ม.2 บ้านปากละงู ซึ่งเป็นโครงการต่อยอดซึ่งครั้งนี้ได้เชิญคณะทำงานชุดเก่ามาทำความเข้าใจและร่วมกันวางแผนออกแบบแผนงานกิจกรรมที่จะจัดขึ้นต่อไป โดยให้คณะทำงานโครงการได้มีส่วนร่วมในการวางแผนงานและได้แบ่งบทบาทหน้าที่ของคณะทำงานออกเป็น 3 ฝ่าย 1. ฝ่ายประสานงาน 2. ฝ่ายข้อมูล 3. ฝ่ายบัญชี การแบ่งบทบาทหน้าที่การทำงานทำให้คณะทำงานได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและเห็นความสำคัญของการทำงานโครงการ

     

    40 40

    4. ประชุมคณะทำงานโครงการครั้งที่ 2เป็นการวางแผนการจัดทำฐานข้อมูลและวางแผนการดำเนินงานในการทำกิจกรรมครั้งต่อไป

    วันที่ 20 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 -16.30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เริ่มประชุมเวลา 13.00 น. โดยนางเจ๊ะหวัน  บุหลงลี ผู้ประสานงานโครงการญาติใคร ใครก็รักหมู่ที่ 2 บ้านปากละงู ซึ่งเป็นโครงการต่อยอด ครั้งนี้เป็นการประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 เพื่อเป็นการวางแผนการจัดทำฐานข้อมูลและวางแผนการดำเนินงานในการทำกิจกรรมโดยคณะทำงานมาจาก อบต. อสม.เด็กเยาวชนกลุ่มสตรี ซึ่งคณะทำงานโครงการได้มีความเข้าใจแผนงานโครงการ  เพือต้องการให้การทำกิจกรรมต่อไป ได้มีความพร้อมในทีมคณะทำงานมากขึ้น ในการทำกิจกรรมต่อไป ซึ่งเป็นการจัดทำแผนผังผู้ป่วยที่ใน 13 ตระกูล ประสานทีมคณะทำงานชุดเก่าจำนวน 30 คน เพื่อมาร่วมกันวางแผนในการทำกิจกรรม และมีการปรึกษาหารือ และหาวิธีการในการที่จะทำกิจกรรมที่ 2 ให้เกิดความเข้าใจว่าเราต้องทำอะไรบ้าง ทำอย่างไร เพื่อให้เรามีความกระตือรือร้นที่จะทำกิจกรรมที่เราสามารถทำได้ และเข้าใจ ก่อนทำกิจกรรมจริง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการประชุมคณะทำงานในครั้งนี้ ทำให้คณะทำงานมีความเข้าใจในกิจกรรมและโครงการมากกว่าปีที่แล้ว และรู้สึกได้ว่าคณะทำงานทุกคนมีความตั้งใจในการทำกิจกรรมต่อยอดในครั้งนี้มากกว่าเดิมเพราะรู้สึกว่าทำแล้ว มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น คณะทำงานบางคนเมื่อทราบว่ามีการต่อยอดในการทำโครงการ ของปีนี้ ก็รู้สึกดีใจ และอยากทำต่อ เพราะเป็นโครงการที่ทำให้เราได้รู้ ในสิ่งที่เราไม่รู้ และยังมีทีมชุดใหม่ที่เข้ามาร่วมกิจกรรมที่อยากทำโครงการ เพื่อต้องการให้ชุมชนหมู่ที่ 2 เป็นชุมชนที่น่าอยู่

     

    40 40

    5. ทำความเข้าใจสังเคราะห์ข้อมูลในการปฏิบัติลงเยี่ยมบ้าน

    วันที่ 23 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ขั้นตอนที่ 1
    - เป็นการสังเคราะห์ข้อมูลเดิมของปีที่แล้ว ของคน 13 ตระกูลจากการทำผังเครือญาติ และได้ข้อมูลเกี่ยวกับโรคที่เกิดกับ 13 ตระกูลนี้และเอาข้อมูลผู้ป่วยที่เป็นโรคมาชี้แจงโดยวิทยากรที่มีความรู้เรื่องโรค เพื่อมีข้อมูลในการลงไปเยี่ยมผู้ป่วยได้


    ขั้นตอนที่ 2
    - เมื่อมีข้อมูลทั้ง 13 ตระกูลแล้ว เราก็จะรู้ว่าพื้นที่ไหนบ้างที่มีผู้ป่วยอยู่ ใน13 ตระกูละลนี้ ว่าอยู่ตรงไหนบ้างและเมื่อรู้พื้นที่แล้วก็จะมาร่วมวางแผน ในการช่วยกันทำแผนที่ผังผู้ป่วย เพื่อง่ายต่อการลงพื้นที่


    ขั้นตอนที่ 3
    - การฝึกและการปฏิบัติเรื่องโรคในการลงเยี่ยมว่าเราควรปฏิบัติกับผู้ป่วยอย่างไรอย่างถูกวิธี โดยมีวิทยากรที่เป็นหมอ มาให้ความรู้และให้คำแนะนำต่างๆในการลงเยี่ยม และการปฏิบัติตัวกับผู้ป่วยแต่ละโรคว่าควรปฏิบัติแบบไหน อย่างไร ในแต่ละโรค เราจะให้คำแนะนำและปฏิบัติไม่เหมือนกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีทีมคณะทำงานจำนวน 50 คนเข้าร่วมการประชุม

    • มีข้อมูลผู้ป่วยเรื่องโรคของคนทั้ง 13ตระกูล และมีแผนที่ผังผู้ป่วย จึงทำให้คณะทำงานเกิดความรู้และความเข้าใจในเรื่องโรคต่างๆที่เกิดขึ้นใน หมู่ 2 เพื่อลงไปเยี่ยมผู้ป่วยได้

    สรุปหลักการทำงานก็คือ เราลงไปเยี่ยม ครั้งที่ 1

    • วันที่ 30 ส.ค. ก่อนเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐาน ว่าโรคที่เป็นนี้ ต้องไปถามตอนลงไปเยี่ยมว่า เขาเป็นโรคนั้น จริงหรือไม่และหลังจากนั้น เราจะชี้แจงในเวที ผู้นำ 4 ฝ่าย เพื่อให้รู้ว่า คนในหมู่ 2 เป็นโรค และรวมถึงการช่วยกันดูแลสุขภาพของคนในหมู่ 2 ด้วย

    สรุปแบ่งกลุ่มได้ทั้งหมด 7 กลุ่ม แต่ละตระกูลนั้นเป็นโรค ดังนี้

    1. ตระกูลเอ็มเล่ง กับ ตระกูลม่าหมูด  เป็นโรค อัมพาต มะเร็ง
    2. ตระกูลบารา กัย ตระกูลอุรามา เป็นโรค  ความดัน เบาหวาน
    3. ตระกูลสันหมาด กับตระกูล โชติมันต์ เป็นโรค  ความดัน หัวใจ เบาหวาน หอบ ไอ
    4. ตระกูลโสะตา กับ ตระกูล ทุมมาลี เป็นโรค  ความดัน เบาหวาน ชรา
    5. ตระกูลนิละ กับ ตระกูลดินนุ้ย เป็นโรค  ชรา ความดัน มะเร็ง หอบ
    6. ตระกูลหมันหย่อง กับตระกูล สาสว่าง เป็นโรค  ชรา
    7. ตระกูลปองแท้ กับ ตระกูล สาหมีด เป็นโรค  มะเร็ง

     

    50 50

    6. ปรับปฏิทินโครงการ

    วันที่ 27 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • มีการวางแผนก่อนที่ปรับเปลี่ยนปฏิทิน เพื่อต้องการให้การทำงานของโครงการในแต่ละกิจกรรมเป็นไปตามแผน และได้กำหนดแนงานที่ทำ รวมถึงการกำหนดแต่ละกิจกรรมจนสำเร็จ และให้การดำเนินกิจกรรมที่ทำตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงการได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ปรับปฏิทินจนสำเร็จทุกกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ของแต่ละกิจกรรม และได้รู้ว่าแต่ละกิจกรรมเราจะต้องวางแผนอย่างไรในการทำกิจกรรมทุกครั้ง

     

    2 2

    7. เครือข่ายอาสาสมัครและแกนนำเยาวชนลงเยี่ยมบ้านครั้งที่ 1

    วันที่ 30 สิงหาคม 2557 เวลา 09:00 - 15.00น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีการแบ่งกลุ่มออกเป็น 7 กลุ่ม กลุ่มละ 2 ตระกูล จากการจับฉลาก และได้ประสานทีมคณะทำงานที่แบ่งกลุ่มแล้ว ลงพื้นที่ไปเยี่ยมบ้านผู้ป่วยที่แต่ละกลุ่มได้รับผิดชอบ ในการลงพื้นที่ครั้งที่ 1 นี้ เป็นการลงพื้นที่ เพื่อเอาข้อมูลแบบพื้นฐาน เพื่อต้องการรู้ว่าที่เราได้ทำแผนที่ผู้ป่วยที่เราต้องการลงไปเยี่ยม และต้องการรู้ว่าข้อมูลเรื่องโรคที่เราได้จากปีที่แล้ว เป็นข้อมูลจริงหรือไม่ จึงสรุปจากการลงไปเยี่ยมได้ว่า
    กลุ่มที่ 1 ตระกูล สาหมีด กับตระกูลปองแท้ ตระกูลปองแท้ บ้านเลขที่ 394

    1. นางเพ็ญศรี กลิ่นเพชร อาย 52 ปี  น้ำหนัก 80 สูง 148 เป็นโรค เบาหวาน ความดัน หอบหืด มีอาการ วิงเวียนศรีษะ เป็นลมบ้างเป็นบางครั้ง /ช็อค สาเหตุที่เป็น คือ เครียด คิดมาก มีลูกเป็นคนที่ดูแล  การกินอาหาร จะกินอาหารรสอ่อน ปานกลาง และได้รักษาตัวอยู่ที่ โรงพยาบาลละงู  จะกินยาความดัน และฉีดยาเบาหวานเองทุกวัน และออกกำลังกายนานๆครั้ง

    2. นายรอเหล็น ปองแท้ อายุ 58 ปี น้ำหนัก  70 ส่วนสูง 170 เป็นโรคฝีในสมอง และเหน็บชา อาการคือ มือเท้าใช้งานไม่ได้ ความรู้สึกช้ากว่าเดิม สมองควบคุมคำสั่งไม่ค่อยได้ สาเหตุที่เป็น ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และมี ภรรยาเป็นคนดูแล จะให้ออกกำลังกาย และกินยาจากโรงพยาบาลหาดใหญ่ สูบบุหรี่และกินกาแฟด้วย

    3. นายวีระศักดิ์ ปองแท้  อายุ 22 ปี หนัก 80 สูง 153 เป็นโรคลิ้นหัใจรั่ว ความดัน มีอาการ เหนื่อยง่าย นอนไม่หลับ หอบ เป็นโรคทางพันธุกรรม มีแม่คอยดูแล  รักษาที่ มอ. หาดใหญ่ กินยาเป็นประจำทุกเดือน ออกกำลังกาย แต่ สูบุหรี่ กินเหล้า

    4. สราวุฒิ ปองแท้  อายุ 26 ปี หนัก 75 สูง 167 เป็นโรคหอบและภูมแพ้ มีอาการเหนื่อยจากกรทำงาน แลเป็นภูมแพ้ในฤดูฝน เป็นเพราะ  เหนื่อย อากาศเย็น แพ้ฝุ่น มีพ่อแม่ดูแล รักษาที่ โรงพยาบาลละงู และสูบบุหรี่
    5. คอดีย๊ะ ปองแท้ อายุ 26 ปี น้ำหนัก 60 สูง 147 ไม่เป็นโรค

    ตระกูลสาหมีด บ้านเลขที่ 39

    1. นางฮาตีม๊ะ สาหมีด อายุ 59 ปี หนัก 60 สูง 148 เป็นโรคเหน็บชา โรคเก๋า อาการเหน็บชา เข็ดเมื่อยในข้อ สาเหตุจาก เหนื่อยจากการทำงาน และกินไก่มาก สามีดูแลโดยพาไปปรึกษาหมอ และกินยาตามหมอสั่ง และกินผักเขียว
    2. นายเยน สาหมีด อายุ62 ปี  หนัก 53 สูง 160 เป็นโรคกระเพาะ กรดใหลย้อน มีอาการจุกเสียด แน่นอก เพราะกินอาหารไม่ตรงเวลา กินยาที่ อนามัย และแนะนำให้กินอาหารตรงเวลา
    3. สุชาดา สาหมีด อายุ 20 ปี หนัก 40 สูง 159 เป็นโรคเลือด  มีอาการมึนหัว เป็นลม หน้ามืด สาเหตุ เพราะ เลือดผิดปกติ รักษาที่โรงพยาบาล  กินยาตามหมอสั่ง
    4. ประพันธ์ สาหมีด อายุ 42 ปี หนัก 82 สูง 180 เป็นโรคริดสีดวง ไปฉีดยาที่คลีนิค ชอบทานอาหารมันมัน
    5. นายสเปน สาหมีด อายุ 69 ปี หนัก 65 สูง 168  เป็นความดัน อัมพฤก เป็นมา 2 ปีครึ่ง กินยาที่หมอสั่ง มีอาการเส้นกระตุก เป็นตะคิว มึนหัว มีบุตรคอยดูแล
    6. นางนับเส๊าะ สาหมีด หนัก 83 สูง 150 เป็นความดัน เบาหวาน รักษาที่โรงพยาบาล หลับไม่สนิท มีอาการมึนหัว เวียนหัว มีบุตรคอยดูแล และพาไปหาหมอบ่อยๆ และหมอนัดเอายา 2เดือน ครั้ง

    กลุ่มที่ 2. ตระกูลเอ็มเล่ง+ม่าหมูด ตระกูลเอ็มเล่ง บ้านเลขที่ 233

    1. นายดนตรี เอ็มเล่ง อายุ 66 ปี  เป็นโรคความดัน มีอาการเวียนหัว ปวดเมื่อย มีลูกกับภรรยาคอยดูแล  และให้กินยาอย่างต่อเนื่องครบทุกเวลา
    2. นางเขียว เอ็มเล่ง อายุ 64 ปี เป็นโรคความดันโลหิตสูง และโรคสะเก็ดเงิน มีอาการเวียนหัว อาเจียน ปวดท้อง แนะนำ อย่าทานอาหารรสจัด
    3. นางสาวชนกานต์ เอ็มเล่ง อายุ 39 ปี เป็นโรคไต โดยไม่รู้สาเหตุ เกิดอาการบวม  และดูแลตัวเองแนะนำ อย่ากินอาหารรสจัด
    4. นายธนงศักดิ์ เอ็มเล่ง อายุ 40 ปี เป็นโรคปวดท้องบ่อยๆ  แต่กลัวเข็มฉีดยาไม่กล้าไปหาหมอ มีพี่น้องคอยดูแล คำแนะนำ กินอาหารให้ตรงเวลา 5.นางจินดา หวีตันหยง อายุ 42 ปี เป็นโรคปวดท้องถ่ายเป็นเลือด มีอาการปวดท้อง สามีคอยดูแล พยายามรักษาทุกวิธีแต่ก็ไม่หาย

    ตระกูลม่าหมูด บ้านเลขที่ 301

    1. นายผล ม่าหมูด อายุ 74 ปี เป็นโรคหัวใจ มีอาการ กลัว ขวัญอ่อน ใจสั่น กินอะไรไม่ค่อยได้ กินยาที่โรงพยาบาล
    2. นายยูสูบ ม่าหมูด อายุ 40 ปี  ประสบอุบัติเหตุ สมองได้รับความกระทบกระเทือน มีแม่คอยดูแล และกินยา
    3. นางรอมหรี ม่าหมูด อายุ 73 ปี เป็นโรคชรา  มีอาการ เหนื่อย เพลีย ล้าตามวัย ดูแลตัวเอง และกินยาบ่อยๆ
    4. นางอินตัน ม่าหมูด อายุ 56 ปี เป็นโรคผื่นแดง และถลอกเป็นแผ่นๆ มีอาการคันตามผิวหนังซื้อยามาทาเอง
    5. นางกอหลัน เส็มสัน อายุ 48 ปี เป็นโรคความดัน มีอาการปวดศรีษะ เพราะเครียด ดูแลตัวเอง และควบคุมการกินอาหาร
      กลุ่มที่ 3. ตระกูลบารา+อุรามา บ้านเลขที่ 275-112

    6. นายต่ายูเด็น บารา อายุ 62 ปี หนัก 65 สูง 172 เป็นโรค เหน็บชา เบาหวาน เป็นมาประมาณ 3 ปี มีอาการ ชามือ ชาเท้า อ่อนเพลีย สั่น เป็นเพาระ การสะสมของไขมันมีบุตรดูแล เรื่องการกินอาหารที่มีประโยชน์

    7. นางฮาลีม๊ะ บารา อายุ 55 ปี หนัก 55 สูง 145 เป็นโรคเบาหวาน 3 ปีแล้ว ชอบกินอาหารที่มีรสจัด
    8. นางหาหวา บารา  อายุ 47 ปี หนัก 80 สูง 158 เป็นโรคความดันโลหิตสูง มีอาการมึนหัว ปวดท้ายทอย เป็นเพราะกินอาหารที่มีไขมันสูง พักผ่อนไม่พอ ดูแลตัวเอง เรื่องอาหาร และออกกำลังกาย แนะนำให้งดอาหารรสจัด

    ตระกูล อุรามา บ้านเลขที่ 231-224

    1. นายสุอีป อุรามา อายุ 58 ปี หนัก 70 สูง 170 เป็นโรคความดัน ไขมัน เป็นมา 4 ปี มีอาการ มึนหัว เหนื่อยง่าย เป็นเพราะกินอาหารที่มีไขมันสูง มีบุตรดูแลเรื่องการกินอาหาร และเอาใจใส่ทั้งร่างกายและจตใจ และพาไปหาหมอตามนัด
    2. นางฮานี่ย๊ะ อุรามา อายุ 59 ปี หนัก 45 สูง 147 เป็นโรค หอบ
    3. นายยูหัน อุรามา เป็นโรคความดัน หัวใจ เก๋า ไทรอย หลอดเลือดหัวใจเกิน มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ปวดข้อ คอบวม เป็นเพราะ กล้ามเนื้อผิดปกติ ปวดข้อ ข้อเสื่อม มีบุตรดูแลเรื่องการกินอาหาร และพาไปพบแพทย์
      กลุ่มที่ 4.ตระกูลสันหมาด+โชติมันต์ ตระกูลสันหมาด บ้านเลขที่ 206

    4. นายบ่าวนุ้ย สันหมาด  อายุ 86 ปี เป็นโรคอ่อนข้อ มีอาการ ไม่มีแรง ปวดเมื่อยตามร่างกาย นอนไม่ค่อยหลับ เป็นเพราะ เมื่อก่อนทำงานหนัก มีภรรยาดูแล การกินอาหารและกินยาเป็นเวลา

    5. นางรอกาย๊ะ สันหมาด เป็นโรคความดัน เบาหวานไขมันในเส้นเลือด หัวใจโต มีอาการหายใจลำบาก เวียนหัว แน่นหน้าอก เป็นเพราะ ความดันสูง ทำงานหนัก  ดูแลตัวเอง กินอาหารและยาเป็นเวลา แนะนำให้ควบคุม อาหาร

    ตระกูลโชติมันต์ บ้านเลขที่ 299

    1. นายดำ  โชติมันต์ อายุ 72 ปี หนัก 50 สูง 165 เป็นโรค หอบ ไอเรื้อรัง กระเพาะ มีอาการไอ พ่นยาตลอด หานใจเสียงดัง เพาระ เป็นหวัดบ่อย มีภรรยาดูแล
    2. นางฮาซีร๊ะ โชติมันต์ อายุ 37 ปี เป็นโรคเบาหวาน หอบหืด ภูมิแพ้  มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เป็นเพราะ กินจุกจิก ชอบกินของหวาน ไม่ค่อยออกกำลังกาย ดูแลตัวเอง สามีและลูก พยายามออกกำลังกาย ควบคุมอาหาร

    กลุ่มที่ 5. ตระกูลโสะตา+ทุมมาลี ตระกูลโสะตา บ้านเลขที่ 178

    1. นายดนอาหมาด โส๊ะตา อายุ 61 ปี เป็นโรค เลือดเลี้ยงสมองไม่พอ ความดัน มีอาการเป็นลมบ่อยๆ  เพราะไม่กินผัก มีภรรยาและลูกคอยดูแลไปหาหมอตามนัด กินยาตามหมอสั่ง สูบบุหรี่
      ตระกูลทุมมาลี  บ้านเลขที่ 283
    2. นายสาฝาก ทุมมาลี เป็นโรคหัวใจ มีอาการหัวใจสั่น เหนื่อย เจ็บหัวใจ เป็นเอง มีลูกดูแลพาไปหาหมอตามนัด  สูบบุหรี่ ควรลดอาหารที่มีรสจัด
      กลุ่มที่ 6.ตระกูลตระกูลดินนุ้ย+นิละ ตระกูลดินนุ้ย บ้านเลขที่ 336

    3. นายอำรัน ดินนุ้ย  เป็นโรคเข็ด แผลเรื้อรังบริเวณเท้า รักษาที่โรงพยาบาลละงู

    4. นางดาม๊ะ ดินนุ้ย หนัก 46 สูง 155 เป็นโรรคความดัน เบาหวาน  เก๋า หัวใจ ไต  รักษาที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
    5. นางบอระ ดินนุ้ย หนัก 40 สูง 170 เป็นโรคชรา ภูมิแพ้ เหน็บชา รักษาที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
    6. นายหาบ ดินนุ้ย  หนัก 50สูง 158 เป็นโรคหอบ  รักษาที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง มีบุตรคอยดูแล
    7. นายอับดลรอสาก ดินนุ้ย หนัก 73 สูง 165 ไม่ระบุชัดเจน

    ตระกูลนิละ บ้านเลขที่ 137

    1. นายปรัชญา นิละ อายุ 51 ปี หนัก 48 สูง 160 เป็นโรความดัน มีอาการปวดหัว ขาชา สาเหตุเครียด คิดมาก รักษาที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
    2. นางสาวรมหยัน นิละ หนัก 46 สูง 144 เป็นโรคความดัน เบาหวาน ชัก มีอาการเวียนหัว นอนไม่หลับ  เป็นเพราะ เป็นเริมที่ใต้ตา และชักจะเป็นขึ้นมาเอง รักษาที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
    3. นางยม นิละ อายุ 60 ปี หนัก 78 สูง 159 เป็นโรคความดัน มีอาการเวียนหัว นอนไม่หลับ รกษาที่โรงพยาบาล
    4. นายยาดี นิละ อายุ 70 ปี เป็นโรคปวดข้อ ปวดเอว มีอาการตะคิวชัก คันเพราะทำงานหนัก เส้นตึง รักษาที่คลีนิค
    5. นางยำบี นิละ อายุ 61 ปี เป็นโรคความดัน เบาหวาน เก๋า มีอาการเวียนหัว ปวดหัวเข่า  นอนไท่ค่อยหลับ รักษาที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
      กลุ่มที่ 7.ตระกูลหมันหย่อง+สาสว่าง  ตระกูลหมันหย่อง บ้านเลขที่ 131

    1.นางรอเอียน หมันหย่อง เป็นโรคความดัน ไขมันในเส้นเลือด แบะนำให้ให้กินอาหารที่ทำสุกแล้ว และลดอาหารที่มีรสจักทุกชนิด


    ตระกูลสาสว่าง บ้านเลขที่ 243

    1. นายเดช สาสว่าง อายุ 78 ปี หนัก 88 สูง 168 เป็นโรคหอบหืด  เกิดจากภูมิต้านทานไม่พอ แพ้ฝุ่นละอองมีภรรยาและลูกคอยดูแล และไปหาหมอตามนัด
    2. นางวิไล สาสว่าง เป็นโรค เอไอวี เข้าชมรมแล้ว
    3. นายธงชัย สาสว่าง เป็นโรคน้ำเหลืองเสีย อาการอย่างอื่นไม่ระบุ

        สรุปข้อมูลหลังจากลงพื้นที่ ครั้งที่ 1 เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับลงเยี่ยมในครั้งนี้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปผลการลงพื้นที่มีข้อมูลที่ได้จากการลงไปเยี่ยมผู้ป่วย ดังนี้

    • ตระกูลสันหมาด กับตระกูลปองแท้ โรคที่พบเจอ ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดัน หอบหืด โรคฝีในสมอง เหน็บชา โรคลิ้นหัวใจรั่ว โรคหอบและโรคภูมิแพ้
    • ตระกูลสาหมีด โรคที่พบเจอ ได้แก่ โรคความดัน โรคเหน็บชา โรคเก๋า โรคกระเพาะ  โรคเลือด  โรคริดสีดวง โรคความดัน โรคอัมพฤก โรคเบาหวาน
    • ตระกูลเอ็มเล่ง โรคที่พบเจอ ได้แก่ โรคความดัน โรคความดันโลหิตสูง และโรคสะเก็ดเงิน โรคไต โรคปวดท้อง โรคปวดท้องถ่ายเป็นเลือด
    • ตระกูลม่าหมูด โรคที่พบเจอ ได้แก่ โรคหัวใจ ประสบอุบัติเหตุสมองได้รับความกระทบกระเทือน โรคชรา โรคผื่นแดง โรคความดัน
    • ตระกูลบาราและอุรามา โรคที่พบเจอ ได้แก่ โรคเหน็บชา โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคความดัน โรคหอบ
      โรคหัวใจ โรคเก๋า โรคไทรอย โรคหลอดเลือดหัวใจเกิน
    • ตระกูลสันหมาดและโชติมันต์ โรคที่พบเจอ ได้แก่ โรคอ่อนข้อ โรคความดัน โรคเบาหวานไขมันในเส้นเลือด โรคหัวใจโต
    • ตระกูลโชติมันต์ โรคที่พบเจอ ได้แก่ โรคหอบ โรคไอเรื้อรัง โรคกระเพาะ โรคเบาหวาน โรคหอบหืด โรคภูมิแพ้
    • ตระกูลโสะตาและตระกูลทุมมาลี โรคที่พบเจอ ได้แก่ โรคเลือดเลี้ยงสมอง โรคความดัน
    • ตระกูลทุมมาลี  โรคที่พบเจอ ได้แก่ โรคหัวใจ
    • ตระกูลตระกูลดินนุ้ โรคที่พบเจอ ได้แก่ โรคเข็ด โรคความดัน โรคเบาหวาน โรคเก๋า โรคหัวใจ โรคไต  โรคชรา โรคภูมิแพ้ โรคเหน็บชา โรคหอบ
    • ตระกูลนิละ โรคที่พบเจอ ได้แก่ โรคความดัน โรคเบาหวาน โรคความดัน โรคปวดข้อปวดเอว โรคความดัน โรคเบาหวาน โรคเก๋า
    • ตระกูลหมันหย่อง โรคที่พบเจอ ได้แก่ โรคความดัน
    • ตระกูลสาสว่าง โรคที่พบเจอ ได้แก่ โรคหอบหืด โรคเอไอวี โรคน้ำเหลืองเสีย

    สรุปข้อมูลหลังจากลงพื้นที่ ครั้งที่ 1 เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับลงเยี่ยมในครั้งนี้

     

    50 60

    8. อบรมพัฒนาศักยภาพเสริมพลังผู้นำ 4 ฝ่าย คือ ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายปกครอง ฝ่าศาสนา ฝ่ายผู้นำชุมชน

    วันที่ 13 กันยายน 2557 เวลา 09:30-15.30น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กล่าวพิธีเปิดและชี้แจง ให้คณะทำงานและผู้เข้าร่วมว่า เวทีนี้ เป็นเวที เสริมพลังผู้นำ 4 ฝ่าย โดยวันนี้ ผู้นำ ทั้ง 4 ที่เข้าร่วมก็คือ ผู้ใหญ่บ้าน  ผู้นำศาสนา 1 คน อบต. 1 คน ครู 1 คน  ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 1 คน  และกรรมการมัสยิด จำนวน 4 คน  ซึ่งเวทีนี้  เป็นเวทีที่ผู้นำต้องมามีส่วนร่วมและรับรู้ว่า ตอนนี้ใน หมู่ 2 ของเรา เกิดปัญหาอะไรขึ้นมาบ้าง ก็ได้เล่าที่มาของโครงการ ว่าโครงการนี้เป็นโครงการของ สสส. ( สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ )  และได้อธิบายแก่ผู้เข้าร่วมว่า นี้เป็นโครงการต่อยอด โดยปีที่แล้วโครงการของเรา ชื่อว่า โครงการสร้างชุมชนให้น่าอยู่ของหมู่ที่ 2 บ้านปากละงู เป็นโครงการที่ทำปีที่แล้วและได้ข้อมูล จึงได้มาต่อยอดปีนี้ ชื่อว่า โครงการ ญาติใคร ใครก็รัก ซึ่งเราได้ดำเนินมา  4 กิจกรรมแล้ว คือ 1. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 เพื่อทบทวน และเตรียมพร้อมที่จะทำกิจกรรมต่อยอดของปีนี้ 2. อบรม  3  วัน เพื่อฝึกปฏิบัติ ในการลงไปเยี่ยมผู้ป่วย 3. ลงไปเยี่ยมผู้ป่วย ครั้งที่ 1 ที่เป็นข้อมูลพื้นฐาน เวทีผู้นำ 4 ฝ่าย และวันนี้เราได้ข้อมูล 14 ตระกูลในหมู่ 2  และได้แบ่งกลุ่มแล้วทั้งหมด 7 กลุ่ม  และให้แต่ละกลุ่มยกมือ ว่าใครได้ตระกูลอะไรบ้าง ซึ่งประกอบด้วยตระกูล 1. สันหมาด กับ โชติมันต์ 2. สาสว่าง กับ หมันหย่อง 3. ดินนุ้ย กับ นิละ 4. บารา กับ อุรามา 5. สาหมีด กับ ปองแท้ 6. เอ็มเล่ง กับ ม่าหมูด 7. ทุมมาลี กับ โสะตา และตระกูลที่ได้กล่าวมาทั้งหมดนี้  มันเป็นข้อมูลจริงที่เกี่ยวข้องกับคนใน หมู่ 2 ในเรื่องโรคที่กำลังเกิดขึ้นกับญาติพี่น้องของเรา และต้องการให้ฝ่ายผู้นำมาช่วยกันหาวิธีแก้ปัญหาร่วมกัน และต่อมา นายสัญชัย จะถามฝ่ายผู้นำว่า หากสงสัยอะไร ให้ถามว่า ตอนที่ลงพื้นที่ให้คณะทำงาน อธิบายให้ฟัง ว่าลงแบบไหน ลงอย่างไร เป็นแบบไหน และให้รู้ปัญหาว่าตอนลงพื้นที่ เขาให้ความร่วมมือดีหรือไม่ และให้แต่ละกลุ่ม เล่าให้ฟัง กลุ่มที่ 1 คือ  นายกิตติมศักดิ์ เล่าให้ฟังว่า  ลงไปเยี่ยม ตระกูล ปองแท้ กับสาหมีด ตระกูลปองแท้ ถามว่า มาทำอะไร - เราลงมาเยี่ยม มาถามเรื่อง สุขภาพ จากโครงการ สสส. และเขาก็ต้อนรับดี ถามเขาว่าเขาเป็นโรคอะไร ใครดูแลอยู่ ถามเขาด้วยความเป็นห่วง  และเขาก็รู้สึกสบายใจ ตระกูลสาหมีด  ให้ความร่วมมือดี
    กลุ่มที่ 2  คือ ตระกูลนิละ กับ ดินนุ้ย  นางธาริกา เล่าให้ฟังว่า  ทั้ง 2 ตระกูล ถามว่ามาทำอะไร และเขาก็ตอบเหมือนกลุ่มที่แล้ว และทั้ง 2 ตระกูลให้ความร่วมมือดี กลุ่มที่ 3 ตระกูลสันหมาด กับ โชติมันต์
     นางอาอีฉ๊ะ เล่าว่า ตระกูลสันหมาด เพิ่งกลับจากโรงพยาบาลและญาติเป็นคนดูแลอยู่  ญาติก็ให้ความร่วมมือดี เขาเป็นโรค ความดัน เบาหวาน และแนะนำ ให้เขา ลดอาหาร หวาน มัน เค็ม และนางอาอีฉ๊ะ ก็ได้พูดขึ้นว่า ตอนที่ลงเยี่ยม ชอบถ่ายรูป ตระกูล โชติมันต์ เป็นโรค ไอเรื้อรัง และให้ความร่วมมือดี กลุ่มที่ 4 ตระกูลเอ็มเล่ง กับ ม่าหมูด
     นางสีส๊ะ  เล่าให้ฟังว่า  เขาให้ความร่วมมือดี ทั้ง 2  ตระกูล มีความเป็นกันเอง และได้แนะนำให้ไปหาหมอ ให้คำแนะนำในการป้องกันโรค  ฯลฯ สัญชัย ถามนางสีส๊ะ  ว่า ข้อดีที่ลงเยี่ยมคือ  ได้ความรู้ในการทำผังเครือญาติและรูสึกรักญาติพี่น้องมากขึ้น และต่อมา ได้เชิญ คุณกัลยทรรศน์
      เล่าเหตุการณ์ที่ได้เข้าร่วมประชุมจากเวทีอื่น ที่ผ่านมาว่า โครงการ ของจังหวัดสตูล ที่มาจาก สสส. ได้มาประมาณ 29-30 โครงการ โครงการละ 200,000 บาท  การที่ได้โครงการมา กระบวนการที่ทำยากพอสมควร คือจะสอนวิธีการเริ่มต้น และวิเคราะห์ปัญหาหมู่บ้าน ว่า ม.2 บ้านปากละงูมีสถานการณ์ปัญหาอย่างไร กิจกรรมต้องให้สอดคล้อง โดยใช้วิธีการช่วยกัน เพราะทุกคนคือ หัวใจของความสำเร็จ ต้องให้ทุกคนร่วมมือกัน และในวันนี้เราได้ข้อมูลเบื้องต้นแล้ว ในการลงพื้นที่ครั้งแรก หัวใจ ของโครงการ ผลงาน คือ กลไกที่เป็นสภาของหมู่บ้านมาเป็นกรรมการเรื่องสุขภาพ ทำให้เป็นกลไกให้กับทุกฝ่าย และผู้นำต้องมา เรื่องส่วนรวมเป็นเรื่องแรกก่อน ต้องให้ความร่วมมือ เสียสละ เพราะเราไม่ได้ทำเพื่อตัวเอง และวันนี้ โต๊ะอีหม่ามมาเพื่ออนาคตของลูกหลานของเราเอง โดยเฉพาะเรื่อง โรค ไม่ใช่ว่ามาวันนี้แล้วเราจะแก้ปัญหานี้ได้เลย  และในการลงเยี่ยม อสม. ต้องเอาเด็กลงไปเยี่ยมด้วย เพื่อฝึกจิตใจให้เรารู้สึก ผูกผัน จิตใจจะได้อ่อนโยนลง เราต้องพัฒนาตัวเอง ได้ถาม  กับผู้นำศาสนาว่า ทำอย่างไรให้ชุมชนน่าอยู่ สมมติ 1 -5 ปี  ก็คงจะไม่ได้ แต่มันก็อาจะดีไปเรื่อยๆ เราต้องใช้เวลา และต้องเอาผู้นำมา เพื่อสร้างกลไก ทั้ง 4 ฝ่าย
    ส่วนฝ่ายผู้นำศาสนา  เป็นบทบัญญัติที่ทันสมัยในหลักศาสนา
    เช่น
    - มีเพศสัมพันธ์ ต้องอาบน้ำยกฮาดัส ตามหลักการของศาสนาอิสลาม - กินข้าว ต้องล้างมือ - ก่อนนอน ในเดือนถือศีลอด ให้กินอินทผาลัม เพื่อ เคลือบกระเพาะ
    ซึ่งเราต้องเอาศาสนามาเปรียบเทียบด้วยการทำให้เกิดสภา เราต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  เราจะต้องมีเวลา  มีความเสียสละ  และมีบทบาทหน้าที่ของแต่ละคน มีการเสนอใคร ทำหน้าที่อะไร  เพื่อทุกฝ่ายจะได้มีบทบาทหน้าที่ของแต่ละคน และแบ่งหน้าที่กัน เพื่อมาร่วมกันแก้ปัญหาต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เวทีผู้นำ 4 ฝ่าย ที่เข้ามาร่วมกันแก้ปัญหากับ ทีมคณะทำงานและให้ความร่วมมือในการร่วมแก้ปัญหาว่า สถานการณ์ในหมู่ 2 ที่เป็นปัญหา ก็คือ เรื่องสุขภาพ ของคน 14 ตระกูลและได้ชี้แจงว่า ได้มีการลงพื้นที่ไปเยี่ยมผู้ป่วย ทั้ง 14 ตระกูลแล้ว ซึ่งข้อมูลที่ได้มาเป็นข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับโรคที่เป็น ว่าจริงๆแล้ว เขาเป็นโรคนั้น จริงหรือไม่ จึงต้องการให้ผู้นำได้รับทราบว่าเราควรปฏิบัติ และควรช่วยกันแก้ปัญหากันอย่างไร เพื่อต้องการลดโรคที่เกิดขึ้นในชุมชนหมู่ 2 และที่กำลังจะเกิด มีการพูดคุยซักถามกัน ในแต่ละกลุ่มที่ได้ลงพื้นที่ ว่าคนในชุมชนให้ความร่วมมือดีหรือไม่ และจะให้ทุกกลุ่มได้เล่าเหตุการณ์ตอนลงพื้นที่ว่า เมื่อเราได้ลงไปเยี่ยมคนป่วยแล้ว ทั้งเรา และเขามีความรู้สึกอย่างไร และทำให้เรามีจิตใจที่อ่อนโยน และรู้ว่าเมื่อเราลงไปเยี่ยม เขาก็รู้สึกว่า ยังมีคนที่เป็นห่วงเขา และทำให้เขามีกำลังใจ เพราะผู้ป่วยบางคนไม่มีใครดูแลและให้ความสนใจ จึงทำให้เขาดีใจที่มี ญาติพี่น้องที่ยังรักและเป็นห่วงเขาอยู่

        สรุปผลได้ว่า
    -  ได้ความรู้เกียวกับเรื่องโรคต่างๆที่เกิดขึ้น -  ได้รู้เกี่ยวกับเรื่องอาหารการกิน ว่าแต่ละวัน เราควรกินอาหารแบบไหน กินอย่างไร
    -  ได้รู้เรื่องสุขภาพของแต่ละคน ว่า เราจะต้องปฏิบัติต่อตัวเองและญาติพี่น้องของเราอย่างไร -  คณะทำงานได้เกิดการพัฒนาตนเองมากขึ้น -  คณะทำงานกล้าแสดงออก กล้าพูด กล้าที่จะทำ เช่น การเสนอผลจาการลงพื้นที่ของแต่ละกลุ่ม     และทุกคนได้ทั้งความรู้และวิธีการที่จะมาร่วมกันแก้ปัญหาที่อาจจะเกิดต่อไป

     

    40 56

    9. พบพี่เลี้ยงปรึกษาเรื่องการทำกิจกรรมผู้นำ 4 ฝ่าย

    วันที่ 16 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. วางแผนและปรึกษาในการคัดเลือกคณะบุคคลในการร่วมกันแก้ปัญหาในแต่ละฝ่าย
    2. มีการแบ่งบทบาทและหน้าที่ ให้กับทีมผู้นำ ใครทำอะไร อย่างไร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พี่เลี้ยงได้แนะนำการเกิดสภา คือ
    การทำให้เกิดสภาของผู้นำชุมชน ที่เป็นกลไกของหมู่บ้านเพื่อเข้ามามีส่วนร่วมในการผลักดันการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้นำและคณะทำงาน เช่น  เราจะต้องมีเวลา  มีความเสียสละ  และมีบทบาทหน้าที่ของแต่ละคน มีการเสนอใคร ทำหน้าที่อะไร  เพื่อทุกฝ่ายจะได้มีบทบาทหน้าที่ของแต่ละคน และแบ่งหน้าที่กัน เพื่อมาร่วมกันแก้ปัญหาต่อไป

     

    2 3

    10. ประชุมคณะทำงานโครงการครั้งที่ 3เพื่อสรุปผลการทำงานอบรมพัฒนาศักยภาพเสริมพลังผู้นำ4ฝ่ายและวางแผนงานต่อ

    วันที่ 20 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เริ่มประชุมเวลา 13.00 น. โดยผู้ประสานงานโครงการ เริ่มโดยการให้คณะทำงานช่วยกันสะท้อนการทำงานจากเวทีประชุมผู้นำ 4 ฝ่ายที่ผ่านมาว่าเป็นอย่างไรบ้างเพื่อให้คณะทำงานได้ทบทวนว่ากิจกรรมที่ทำไปแล้วมีความสำเร็จมากน้อยแค่ไหน ทางคณะทำงานก็ได้สะท้อนว่าการที่จัดเวทีผู้นำ 4 ฝ่ายที่ผ่านมาเป็นสิ่งที่ดี จะได้เป็นการเปิดมุมมองการทำงานอาสาให้แก่เขาเพราะที่ผ่านมาคนเหล่านี้ไม่ได้มีส่วนร่วมกับการทำงานอาสา และโครงการของ สสส.มากนักครั้งนี้เมื่อเขามีความเข้าใจทำให้การทำงานของโครงการมีความง่ายขึ้นแลัะคิดว่าจะได้รับความร่วมมือในการทำงานมากขึ้น
    • ต่อด้วยการปรึกษาสถานการณ์ปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ว่าใครมีอะไรจะชี้แจงเรื่องอะไรบ้าง ซึ่งหลายคนก็บ่นในเรื่องปัญหาทางเศรษฐกิจเนื่องจากอาชีพของคนในพื้นที่บางส่วนก็ออกทะเลบางส่วนก็กรีดยางซึ่งเมื่อราคายางตกต่ำทำให้ปลาที่หามาได้ก็ขายยากเนื่องจากคนไม่มีเงินซื้อ มันเป็นปัญหาลูกโซ่
    • ปรึกษาเรื่องการทำกิจกรรมของโครงการที่ต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับปฏิทินโครงการเนื่องจากถ้าไม่สอดคล้องจะทำให้รายงานยากและทางพี่เลี้ยงก็จะลงมาตรวจสอบอีกโดยกิจกรรมต่อไปเป็นการลงเยี่ยมบ้านครั้งที่ 2 ซึ่งที่ผ่านมาเราก็ได้ลงไปแล้วก็ได้เห็นสถานการณ์ด้านโรคเรื้อรังที่ 13 ตระกูลเป็น และได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่องแต่ที่เราได้ลงไปนี้ก็เป็นการไปให้กำลังใจและเก็บข้อมูลมาเพื่อให้ทางสาธารณสุขได้รับทราบเพื่อการรักษาเขาที่ถูกต้องต่อไป
    • ทีมที่ลงพื้นที่ในรอบที่ 2 นี้คงมีความเข้าใจในการทำงานมากขึ้นอยากให้เราช่วยกันพูดคุยเพื่อเป็นการฝึกทักษาะในการลงเยี่ยมบ้านของเราด้วย โดยเฉพาะเยาวชนที่ลงไปอยากให้พี่เลี้ยงหรือทีมเก่าสที่เป็น อสม.ได้ช่วยให้คนใหม่ที่ลงไปครั้งนี้ได้พูดคุยด้วยตัวเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้มีการทบทวนผลการจัดเวทีผู้นำ 4 ฝ่าย
    • ได้มีการปรึกษากันเรื่องการลงพื้นที่ในการลงเยี่ยมบ้าน
    • วิธีการพูดคุยเน้นการให้กำลังใจ

     

    30 50

    11. เครือข่ายอาสาสมัครและแกนนำเยาวชน ลงเยี่ยมบ้านครั้งที่ 2

    วันที่ 27 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมคณะทำงานชุดเก่าและชุดใหม่ เช่น กลุ่ม อสม. กลุ่มสตรี เด็ก เยาวชน กลุ่มตัดเย็บและกลุ่มทำขนม จำนวน 50 คนครั้งที่ 2 และมีของไปฝากให้กับผู้ป่วย ทั้ง 14 ตระกูล ในการไปเยี่ยม แต่จะแบ่งกันลงไปเยี่ยม วันละ 2 กลุ่ม เพราะจะมีเจ้าของโครงการลงไปติดตามผลด้วยแต่ลงไปเยี่ยมในฐานะ อสม. ที่เป็นพี่เลี้ยงในการติดตามผล และในกรณีที่เขาก็ต้องการลงไปเยี่ยม เพื่อต้องการให้คนในหมู่บ้านมีกำลังใจเพิ่มมากขึ้น

    มีกลุ่มที่ลงพื้นที่ 7 กลุ่ม กลุ่มละ 2 ตระกูล มีข้อมูที่ได้จากการลงไปเยี่ยมผู้ป่วยในครั้งที่ 2 ซึ่งเป็นข้อมูลการติดตามผลว่า ในการลงไปเยี่ยมครั้งที่ 1 มีข้อมูลที่ได้จากการลงไปเยี่ยม ดังนี้ 1. ตระกูล สาหมีด กับตระกูลปองแท้

        ตระกูลปองแท้ บ้านเลขที่ 394  1. นางเพ็ญศรี กลิ่นเพชร อาย 52 ปี  น้ำหนัก 80 สูง 148 เป็นโรค เบาหวาน ความดัน หอบหืด มีอาการ วิงเวียนศรีษะ เป็นลมบ้างเป็นบางครั้ง /ช็อค สาเหตุที่เป็น คือ เครียด คิดมาก มีลูกเป็นคนที่ดูแล  การกินอาหาร จะกินอาหารรสอ่อน ปานกลาง และได้รักษาตัวอยู่ที่ โรงพยาบาลละงู  จะกินยาความดัน และฉีดยาเบาหวานเองทุกวัน และออกกำลังกายนานๆครั้ง
    ครั้งที่ 2 ที่ลงเยี่ยม คือ มีการเปลี่ยนแปลง ก็คือ การออกกำลังการเพิ่มขึ้น และจะให้คำแนะนำรวมถึงการให้กำลังใจ

    1. นายรอเหล็น ปองแท้ อายุ 58 ปี น้ำหนัก  70 ส่วนสูง 170 เป็นโรคฝีในสมอง และเหน็บชา อาการคือ มือเท้าใช้งานไม่ได้ ความรู้สึกช้ากว่าเดิม สมองควบคุมคำสั่งไม่ค่อยได้ สาเหตุที่เป็น ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และมี ภรรยาเป็นคนดูแล จะให้ออกกำลังกาย และกินยาจากโรงพยาบาลหาดใหญ่ สูบบุหรี่และกินกาแฟด้วย ครั้งที่ 2 สิ่งที่เปลี่ยนแปลง คือ ลดการสูบบุหรี่น้อยลงและลดการกินกาแฟ จึงทำให้อาการที่เป็นดีขึ้นเล็กน้อย

    2. นายวีระศักดิ์ ปองแท้  อายุ 22 ปี หนัก 80 สูง 153 เป็นโรคลิ้นหัใจรั่ว ความดัน มีอาการ เหนื่อยง่าย นอนไม่หลับ หอบ เป็นโรคทางพันธุกรรม มีแม่คอยดูแล  รักษาที่ มอ. หาดใหญ่ กินยาเป็นประจำทุกเดือน ออกกำลังกาย แต่ สูบบุหรี่ กินเหล้า ครั้งที่ 2 จะลดบุหรี่เล็กน้อย และลดการดื่มเหล้าด้วย และมีแม่คอยดูแลเหมือนเดิม

    3. สราวุฒิ ปองแท้  อายุ 26 ปี หนัก 75 สูง 167 เป็นโรคหอบและภูมแพ้ มีอาการเหนื่อยจากการทำงาน แลเป็นภูมแพ้ในฤดูฝน เป็นเพราะ  เหนื่อย อากาศเย็น แพ้ฝุ่น มีพ่อแม่ดูแล รักษาที่ โรงพยาบาลละงู และสูบบุหรี่ ครั้งที่ 2 ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง แต่ลดบุหรี่ได้เล็กน้อย

    4. คอดีย๊ะ ปองแท้ อายุ 26 ปี น้ำหนัก 60 สูง 147 ไม่เป็นโรค

      ตระกูลสาหมีด บ้านเลขที่ 39

    1. นางฮาตีม๊ะ สาหมีด อายุ 59 ปี หนัก 60 สูง 148 เป็นโรคเหน็บชา โรคเก๋า อาการเหน็บชา เข็ดเมื่อยในข้อ สาเหตุจาก เหนื่อยจากการทำงาน และกินไก่มาก สามีดูแลโดยพาไปปรึกษาหมอ และกินยาตามหมอสั่ง และกินผักเขียว ครั้งที่ 2 สิ่งที่เปลี่ยนคือ ลดการกินไก่ และกินผักเขียวทุกวัน มีสามีดูแลเหมือนเดิม
    2. นายเยน สาหมีด อายุ62 ปี  หนัก 53 สูง 160 เป็นโรคกระเพาะ กรดใหลย้อน มีอาการจุกเสียด แน่นอก เพราะกินอาหารไม่ตรงเวลา กินยาที่ อนามัย และแนะนำให้กินอาหารตรงเวลา ครั้งที่ 2 ไม่มีการเปลี่ยนแปลง

    3. สุชาดา สาหมีด อายุ 20 ปี หนัก 40 สูง 159 เป็นโรคเลือด  มีอาการมึนหัว เป็นลม หน้ามืด สาเหตุ เพราะ เลือดผิดปกติ รักษาที่โรงพยาบาล  กินยาตามหมอสั่ง ครั้งที่ 2 ให้คำแนะนำและให้กำลังใจ

    4. ประพันธ์ สาหมีด อายุ 42 ปี หนัก 82 สูง 180 เป็นโรคริดสีดวง ไปฉีดยาที่คลีนิค ชอบทานอาหารมันมัน ครั้งที่ 2 คือ ลดอาหารที่มันเกือบทุกอย่าง และอาการก็ดีขึ้น

    5. นานสเปน สาหมีด อายุ 69 ปี หนัก 65 สูง 168  เป็นความดัน อัมพฤก เป็นมา 2 ปีครึ่ง กินยาที่หมอสั่ง มีอาการเส้นกระตุก เป็นตะคิว มึนหัว มีบุตรคอยดูแล
      ครั้งที่ 2 มีบุตรคอยดูแล และช่วยทำกายภาพบำบัด และอาการก็ดีขึ้น

    6. นางนับเส๊าะ สาหมีด หนัก 83 สูง 150 เป็นความดัน เบาหวาน รักษาที่โรงพยาบาล หลับไม่สนิท มีอาการมึนหัว เวียนหัว มีบุตรคอยดูแล และพาไปหาหมอบ่อยๆ และหมอนัดเอายา 2เดือน ครั้ง ครั้งที่ 2 อาการเหมือนเดิม

      2. ตระกูลเอ็มเล่ง+ม่าหมูด

      ตระกูลเอ็มเล่ง บ้านเลขที่ 233

    1. นายดนตรี เอ็มเล่ง อายุ 66 ปี  เป็นโรคความดัน มีอาการเวียนหัว ปวดเมื่อย มีลูกกับภรรยาคอยดูแล  และให้กินยาอย่างต่อเนื่องครบทุกเวลา ครั้งที่ 2 อาการเหมือนเดิม

    2. นางเขียว เอ็มเล่ง อายุ 64 ปี เป็นโรคความดันโลหิตสูง และโรคสะเก็ดเงิน มีอาการเวียนหัว อาเจียน ปวดท้อง แนะนำ อย่าทานอาหารรสจัด ครั้งที่ 2 ลดอาหารรสจัด อาการก็เลยดีขึ้นบ้าง

    3. นางสาวชนกานต์ เอ็มเล่ง อายุ 39 ปี เป็นโรคไต โดยไม่รู้สาเหตุ เกิดอาการบวม  และดูแลตัวเองแนะนำ อย่ากินอาหารรสจัด ครั้งที่ 2 แนะนำให้ลดอาหารรสจัดเหมือนเดิม

    4. นายธนงศักดิ์ เอ็มเล่ง อายุ 40 ปี เป็นโรคปวดท้องบ่อยๆ  แต่กลัวเข็มฉีดยาไม่กล้าไปหาหมอ มีพี่น้องคอยดูแล คำแนะนำ กินอาหารให้ตรงเวลา ครั้งที่ 2 อาการเหมือนเดิม

    5.นางจินดา หวีตันหยง อายุ 42 ปี เป็นโรคปวดท้องถ่ายเป็นเลือด มีอาการปวดท้อง สามีคอยดูแล พยายามรักษาทุกวิธีแต่ก็ไม่หาย ครั้งที่ 2 ให้คำแนะนำว่า ให้ดื่มน้ำเยอะๆ และกินอาหารที่เป็นผักและผลไม้ให้มากกว่าเดิม

      ตระกูลม่าหมูด บ้านเลขที่ 301

    1. นายผล ม่าหมูด อายุ 74 ปี เป็นโรคหัวใจ มีอาการ กลัว ขวัญอ่อน ใจสั่น กินอะไรไม่ค่อยได้ กินยาที่โรงพยาบาล ครั้งที่ 2 มีอาการเหมือนเดิม

    2. นายยูสูบ ม่าหมูด อายุ 40 ปี  ประสบอุบัติเหตุ สมองได้รับความกระทบกระเทือน มีแม่คอยดูแล และกินยา ครั้งที่ 2 มีแม่คอยดูแลเหมือนเดิม และอาการก็เหมือนเดิม

    3. นางรอมหรี ม่าหมูด อายุ 73 ปี เป็นโรคชรา  มีอาการ เหนื่อย เพลีย ล้าตามวัย ดูแลตัวเอง และกินยาบ่อยๆ ครั้งที่ 2 มีอาการเหมือนเดิม

    4. นางอินตัน ม่าหมูด อายุ 56 ปี เป็นโรคผื่นแดง และถลอกเป็นแผ่นๆ มีอาการคันตามผิวหนังซื้อยามาทาเอง ครั้งที่ 2 ได้แนะนำให้ไปปรึกษาแพทย์ที่โรงพยาบาล เพราะอาการยังเหมือนเดิม

    5. นางกอหลัน เส็มสัน อายุ 48 ปี เป็นโรคความดัน มีอาการปวดศรีษะ เพราะเครียด ดูแลตัวเอง และควบคุมการกินอาหาร ครั้งที่ 2 อาการเหมือนเดิม และดูแลตัวเองเหมือนเดิม

        3. ตระกูลบารา+อุรามา บ้านเลขที่ 275-112

          ตระกูลบารา  บ้านเลขที่ 275-112

    1. นายต่ายูเด็น บารา อายุ 62 ปี หนัก 65 สูง 172 เป็นโรค เหน็บชา เบาหวาน เป็นมาประมาณ 3 ปี มีอาการ ชามือ ชาเท้า อ่อนเพลีย สั่น เป็นเพาระ การสะสมของไขมันมีบุตรดูแล เรื่องการกินอาหารที่มีประโยชน์ ครั้งที่ 2 อาการดีขึ้นเพราะมีบุตรคอยดูแลเรื่องอาหารการกินที่มีประโยชน์

    2. นางฮาลีม๊ะ บารา อายุ 55 ปี หนัก 55 สูง 145 เป็นโรคเบาหวาน 3 ปีแล้ว ชอบกินอาหารที่มีรสจัด ครั้งที่ 2 แนะนำให้ลดอาหารที่มีรสจัด

    3. นางหาหวา บารา  อายุ 47 ปี หนัก 80 สูง 158 เป็นโรคความดันโลหิตสูง มีอาการมึนหัว ปวดท้ายทอย เป็นเพราะกินอาหารที่มีไขมันสูง พักผ่อนไม่พอ ดูแลตัวเอง เรื่องอาหาร และออกกำลังกาย แนะนำให้งดอาหารรสจัด
      ครั้งที่ 2 อาการดีขึ้นเพราะงดอาหารที่มีรสจัด และพยายามออกกำลังกายบ่อยขึ้น

        ตระกูล อุรามา บ้านเลขที่ 231-224

    1.นายสุอีป อุรามา อายุ 58 ปี หนัก 70 สูง 170 เป็นโรคความดัน ไขมัน เป็นมา 4 ปี มีอาการ มึนหัว เหนื่อยง่าย เป็นเพราะกินอาหารที่มีไขมันสูง มีบุตรดูแลเรื่องการกินอาหาร และเอาใจใส่ทั้งร่างกายและจิตใจ และพาไปหาหมอตามนัด ครั้งที่ 2 แนะนำให้ลดอาหารที่มีไขมันสูง เพราะอาการยังเหมือนเดิม

    2.นางฮานี่ย๊ะ อุรามา อายุ 59 ปี หนัก 45 สูง 147 เป็นโรค หอบ
    ครั้งที่ 2 อาการเหมือนเดิม

    3.นายยูหัน อุรามา เป็นโรคความดัน หัวใจ เก๋า ไทรอย หลอดเลือดหัวใจเกิน มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ปวดข้อ คอบวม เป็นเพราะ กล้ามเนื้อผิดปกติ ปวดข้อ ข้อเสื่อม มีบุตรดูแลเรื่องการกินอาหาร และพาไปพบแพทย์ ครั้งที่ 2 อาการยังเหมือนเดิม แต่จะแนะนำให้ลดรับประทานไก่ ให้น้อยลงเพราะไก่อาจจะเป็นสาเหตุทำให้ปวดข้อได้

        4.ตระกูลสันหมาด+โชติมันต์

        ตระกูลสันหมาด บ้านเลขที่ 206

    1.นายบ่าวนุ้ย สันหมาด  อายุ 86 ปี เป็นโรคอ่อนข้อ มีอาการ ไม่มีแรง ปวดเมื่อยตามร่างกาย นอนไม่ค่อยหลับ เป็นเพราะ เมื่อก่อนทำงานหนัก มีภรรยาดูแล การกินอาหารและกินยาเป็นเวลา ครั้งที่ 2 อาการเหมือนเดิม และมีภรรยาดูแลดูแลเหมือนเดิม

    2.นางรอกาย๊ะ สันหมาด เป็นโรคความดัน เบาหวานไขมันในเส้นเลือด หัวใจโต มีอาการหายใจลำบาก เวียนหัว แน่นหน้าอก เป็นเพราะ ความดันสูง ทำงานหนัก  ดูแลตัวเอง กินอาหารและยาเป็นเวลา แนะนำให้ควบคุม อาหาร ครั้งที่ 2 มีอาการดีขึ้นเล็กน้อย เพราะเขาควบคุมอาหารได้

        ตระกูลโชติมันต์ บ้านเลขที่ 299

    1.นายดำ  โชติมันต์ อายุ 72 ปี หนัก 50 สูง 165 เป็นโรค หอบ ไอเรื้อรัง กระเพาะ มีอาการไอ พ่นยาตลอด หายใจเสียงดัง เพาระ เป็นหวัดบ่อย มีภรรยาดูแล ครั้งที่ 2 อาการเหมือนเดิม และมีภรรยาดูแลเหมือนเดิม

    2.นางฮาซีร๊ะ โชติมันต์ อายุ 37 ปี เป็นโรคเบาหวาน หอบหืด ภูมิแพ้  มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เป็นเพราะ กินจุกจิก ชอบกินของหวาน ไม่ค่อยออกกำลังกาย ดูแลตัวเอง สามีและลูก พยายามออกกำลังกาย ควบคุมอาหาร ครั้งที่ 2 จะให้คำแนะนำในเรื่องลดการกินจุกกินจิก และลดอาหารหวาน และให้ออกกำลังกายบ่อยๆ เพราะอาการยังไม่ดีขึ้น

      5. ตระกูลโสะตา+ทุมมาลี

      ตระกูลโสะตา บ้านเลขที่ 178

    1.นายดนอาหมาด โส๊ะตา อายุ 61 ปี เป็นโรค เลือดเลี้ยงสมองไม่พอ ความดัน มีอาการเป็นลมบ่อยๆ  เพราะไม่กินผัก มีภรรยาและลูกคอยดูแลไปหาหมอตามนัด กินยาตามหมอสั่ง สูบบุหรี่ ครั้งที่ 2 สิ่งที่เปลี่ยนแปลงก็คือ ลดการสูบบุหรี่น้อยลง

      ตระกูลทุมมาลี  บ้านเลขที่ 283

    1.นายสาฝาก ทุมมาลี เป็นโรคหัวใจ มีอาการหัวใจสั่น เหนื่อย เจ็บหัวใจ เป็นเอง มีลูกดูแลพาไปหาหมอตามนัด  สูบบุหรี่ ควรลดอาหารที่มีรสจัด ครั้งที่ 2  มีอาการดีขึ้น เพราะลดอาหารรสจัด และลดการสูบบุหรี่ด้วย

      6.ตระกูลตระกูลดินนุ้ย+นิละ

          ตระกูลดินนุ้ย บ้านเลขที่ 336

    1.นายอำรัน ดินนุ้ย  เป็นโรคเข็ด แผลเรื้อรังบริเวณเท้า รักษาที่โรงพยาบาลละงู ครั้งที่ 2 รักษาที่โรงพยาบาลเหมือนเดิม และอาการก็ยังไม่ดีขึ้น และจะให้คำแนะนำรวมถึงให้กำลังใจเขาด้วย

    2.นางดาม๊ะ ดินนุ้ย หนัก 46 สูง 155 เป็นโรรคความดัน เบาหวาน  เก๋า หัวใจ ไต  รักษาที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง ครั้งที่ 2 อาการดีขึ้นเล็กน้อย

    3.นางบอระ ดินนุ้ย หนัก 40 สูง 170 เป็นโรคชรา ภูมิแพ้ เหน็บชา รักษาที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง ครั้งที่ 2 อาการดีขึ้น

    4.นายหาบ ดินนุ้ย  หนัก 50สูง 158 เป็นโรคหอบ  รักษาที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง มีบุตรคอยดูแล ครั้งที่ 2 อาการยังเหมือนเดิม

    5.นายอับดลรอสาก ดินนุ้ย หนัก 73 สูง 165 ไม่ระบุชัดเจน ครั้งที่ 2 เป็นโรคประสาท อ่อนๆ แต่กินยาจากโรงพยาบาล มอ. อย่างต่อเนื่อง

          ตระกูลนิละ บ้านเลขที่ 137
    1.นายปรัชญา นิละ อายุ 51 ปี หนัก 48 สูง 160 เป็นโรความดัน มีอาการปวดหัว ขาชา สาเหตุเครียด คิดมาก รักษาที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง ครั้งที่ 2 อาการเหมือนเดิม

    2.นางสาวรมหยัน นิละ หนัก 46 สูง 144 เป็นโรคความดัน เบาหวาน ชัก มีอาการเวียนหัว นอนไม่หลับ  เป็นเพราะ เป็นเริมที่ใต้ตา
    ครั้งที่ 2 ดีขึ้นเล็กน้อย

                  7. ตระกูลหมันหย่อง กับ สาสว่าง

                  ตระกูลหมันหย่อง

    1.นางรอเอียน หมันหย่อง เป็นโรคความดัน ไขมันในเส้นเลือด แนะนำให้ให้กินอาหารที่ทำสุกแล้ว และลดอาหารที่มีรสจักทุกชนิด ครั้งที่ 2 อาการดีขึ้น

                  ตระกูลสาสว่าง

    1.นายเดช สาสว่าง อายุ 78 ปี หนัก 88 สูง 168 เป็นโรคหอบหืด  เกิดจากภูมิต้านท่นไม่พอ แพ้ฝุ่นละอองมีภรรยาและลูกคอยดูแล และไปหาหมอตามนัด   ครั้งที่ 2 ดีขึ้นเล็กน้อย
    2.นางวิไล สาสว่าง เป็นโรค เอไอวี เข้าชมรมแล้ว ครั้งที่ 2 ดีขึ้นเรื่อยๆ

    3.นายธงชัย สาสว่าง เป็นโรคน้ำเหลืองเสีย อาการอย่างอื่นไม่ระบุ ครั้งที่ 2 เหมือนเดิม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ข้อมูลที่ได้จากการลงไปเยี่ยมผู้ป่วยในครั้งที่ 2 ซึ่งเป็นข้อมูลการติดตามผลว่า ในการลงไปเยี่ยมครั้งที่ 1 มีข้อมูลที่ได้จากการลงไปเยี่ยมและเกิดการเปลี่ยนแปลง ดังนี้

    • ตระกูลปองแท้ มีการเปลี่ยนแปลง คือ การออกกำลังการเพิ่มขึ้น และจะให้คำแนะนำรวมถึงการให้กำลังใจ ลดการสูบบุหรี่น้อยลงและลดการกินกาแฟ จึงทำให้อาการที่เป็นดีขึ้นเล็กน้อย ลดการดื่มเหล้าด้วย และมีแม่คอยดูแลเหมือนเดิม

    • ตระกูลสาหมีด  มีการเปลี่ยนแปลง คือ ลดการกินไก่ และกินผักเขียวทุกวัน ให้คำแนะนำและให้กำลังใจ ลดอาหารที่มันเกือบทุกอย่าง

    • ตระกูลเอ็มเล่ง มีการเปลี่ยนแปลง คือ ลดอาหารรสจัด อาการก็เลยดีขึ้นบ้าง ลดอาหารรสจัด กินอาหารให้ตรงเวลา ดื่มน้ำเยอะๆ และกินอาหารที่เป็นผักและผลไม้ให้มากกว่าเดิม

    • ตระกูลม่าหมูด อาการเหมือนเดิม และดูแลตัวเองเหมือนเดิม

    • ตระกูลบารา มีการเปลี่ยนแปลง คือ อาการดีขึ้นเพราะมีบุตรคอยดูแลเรื่องอาหารการกินที่มีประโยชน์ ลดอาหารที่มีรสจัด และพยายามออกกำลังกายบ่อยขึ้น

    • ตระกูล อุรามา มีการเปลี่ยนแปลง คือ ลดอาหารที่มีไขมันสูง ลดรับประทานไก่

    • ตระกูลสันหมาด มีการเปลี่ยนแปลง คือ มีอาการดีขึ้นเล็กน้อย เพราะควบคุมอาหารได้

    • ตระกูลโชติมันต์ มีการเปลี่ยนแปลง คือ ลดการกินจุกกินจิก และลดอาหารหวาน และให้ออกกำลังกายบ่อยๆ

    • ตระกูลโสะตา มีการเปลี่ยนแปลง คือ  ลดการสูบบุหรี่น้อยลง

    • ตระกูลทุมมาลี  มีการเปลี่ยนแปลง คือ ลดอาหารรสจัด และลดการสูบบุหรี่

    • ตระกูลดินนุ้ย อาการก็ยังไม่ดีขึ้น และจะให้คำแนะนำรวมถึงให้กำลังใจ

    • ตระกูลนิละ อาการดีขึ้นเล็กน้อย

    • ตระกูลหมันหย่อง อาการดีขึ้น

    • ตระกูลสาสว่าง อาการดีขึ้น

     

    50 50

    12. ประชุมคณะทำงานโครงการครั้งที่ 4 เพื่อทบทวนการทำงานโครงการที่ผ่านมาและวางแผนการทำงานในระยะต่อไป

    วันที่ 20 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • มีทีมคณะทำงานมาเข้าร่วมประชุม จำนวน 38 คน และมีการปรึกษาหารือและร่วมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการที่จะทำกิจกรรมต่อไปว่า ควรทำอย่างไร
    • และในการประชุมครั้งนี้ จะเป็นการปรึกษาร่วมกันเกี่ยวกับเรื่อง การลงพื้นที่ในครั้งที่ 3 ว่าเราต้องทำอย่างไร ที่จะสามารถทำให้คนในชุมชนของเราที่กำลังเป็นโรคอยู่ หรือมีวิธีไหนบ้างที่เราจะช่วยลดโรคที่ยังไม่เกิดกับคนในชุมชนได้ เพราะเรื่องสุขภาพในชุมชน หมู่ 2 ที่เป็นปัญหาที่เราต้องช่วยกันแก้ปัญหาร่วมกันให้ได้อย่างยั่งยืน
    • ในที่ประชุมสะท้อนในเรื่องของการลงพื้นที่เพื่อลงเยี่ยมบ้านว่าหลังจากที่เราได้ลงในครั้งที่ 2 ซึ่งมีของฝากลงไปทำให้ทางพื้นที่ลดการต่อต้านในการให้ข้อมูลอย่างดี
    • ถ้าผู้ประสานงานลงไปด้วยทำให้ชุมชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลสรุป คือ  ให้เริ่มต้นจากกลุ่มแกนนำและทีมคณะทำงานได้เริ่มจากตัวเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหาร ว่าแต่ละวันเราควรกินอาหารแบบไหน อย่างไร เพราะเราได้ความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง จากกิจกรรมที่ผ่านมา ที่มีวิทยากรที่ให้คำแนะนำและให้ความรู้ และเราสามารถเอาความรู้ที่ได้นำไปปฏิบัติกับคนใกล้ตัว หรือญาติพี่น้องของเราเอง ที่เสี่ยงต่อการเป็นโรค และควรปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เพื่อชุมชนของเราจะได้มีสุขภาพที่ดีเหมือนเดิม       ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งคณะทำงานของเราทุกคน ก็มาจาก 14 ตระกูลใหญ่ในชุมชน ที่เราต้องร่วมมือช่วยกัน เพื่อญาติพี่น้องของเราเองจะได้มีสุขภาพที่ดี ไม่มีโรค มีอายุที่ยั่งยืน

     

    50 38

    13. เครือข่ายอาสาสมัครและแกนนำเยาวชนลงเยี่ยมบ้าน ครั้งที่ 3

    วันที่ 26 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประสานงานทีมคณะทำงานชุดเก่าและชุดใหม่ เช่น กลุ่ม อสม. กลุ่มสตรี เด็ก เยาวชน กลุ่มตัดเย็บและกลุ่มทำขนม จำนวน 50 คน เพื่อามประชุมชี้แจงในการลงเยี่ยม ครั้งที่ 3 และมีของไปฝากให้กับผู้ป่วย ทั้ง 13 ตระกูล เหมือนครั้งที่ 2 และในการลงเยี่ยมครั้งนี้ เจ้าของโครงการก็ได้ลงไปเยี่ยมกับทีมคณะทำงาน เพื่อที่จะต้องการให้คนในหมู่บ้านรู้สึก ว่ายังมีญาติพี่น้องที่ยังเป็นห่วงเขา เพราะทุกคนในหมู่ 2 ล้วนแล้วแต่ เป็นญาติพี่น้องกัน
    • มีกลุ่มที่ลงพื้นที่ 7 กลุ่ม กลุ่มละ 2 ตระกูล มีข้อมูที่ได้จากการลงไปเยี่ยมผู้ป่วยในครั้งที่ 3 ซึ่งเป็นข้อมูลการติดตามผลว่า ในการลงไปเยี่ยมครั้งที่ 1 และ 2  มีข้อมูลที่ได้จากการลงไปเยี่ยม ดังนี้ กลุ่มที่ 1.  ตระกูลสาหมีด กับ ปองแท้
    1. นางฮาตีม๊ะ สาหมีด อายุ 59 ปี หนัก 60 สูง 148 เป็นโรคเหน็บชา โรคเก๋า อาการเหน็บชา เข็ดเมื่อยในข้อ สาเหตุจาก เหนื่อยจากการทำงาน และกินไก่มาก สามีดูแลโดยพาไปปรึกษาหมอ และกินยาตามหมอสั่ง และกินผักเขียว
      ครั้งที่3 เหมือนเดิม แต่เจ็บหัวเข่าเป็นบางครั้ง ดูแลเหมือนเดิมและกินยาฟ้าทะลายโจรด้วย

    2. นายเยน สาหมีด อายุ62 ปี  หนัก 53 สูง 160 เป็นโรคกระเพาะ กรดใหลย้อน มีอาการจุกเสียด แน่นอก เพราะกินอาหารไม่ตรงเวลา กินยาที่ อนามัย และแนะนำให้กินอาหารตรงเวลา ครั้งที่ 3 เหมือนเดิม

    3. สุชาดา สาหมีด อายุ 20 ปี หนัก 40 สูง 159 เป็นโรคเลือด  มีอาการมึนหัว เป็นลม หน้ามืด สาเหตุ เพราะ เลือดผิดปกติ รักษาที่โรงพยาบาล  กินยาตามหมอสั่ง ครั้งที่ 3 เหมือนเดิม

    4. ประพันธ์ สาหมีด อายุ 42 ปี หนัก 82 สูง 180 เป็นโรคริดสีดวง ไปฉีดยาที่คลีนิค ชอบทานอาหารมันมัน ครั้งที่ 3 เหมือนเดิม

    5. นานสเปน สาหมีด อายุ 69 ปี หนัก 65 สูง 168  เป็นความดัน อัมพฤก เป็นมา 2 ปีครึ่ง กินยาที่หมอสั่ง มีอาการเส้นกระตุก เป็นตะคิว มึนหัว มีบุตรคอยดูแล ครั้งที่ 3 เหมือนเดิม แต่หลับไม่ค่อยสนิท

    6. นางนับเส๊าะ สาหมีด หนัก 83 สูง 150 เป็นความดัน เบาหวาน รักษาที่โรงพยาบาล หลับไม่สนิท มีอาการมึนหัว เวียนหัว มีบุตรคอยดูแล และพาไปหาหมอบ่อยๆ และหมอนัดเอายา 2เดือน ครั้ง ครั้งที่ 3 เหมือนเดิม

    ตระกูลปองแท้

    1. นางเพ็ญศรี กลิ่นเพชร อาย 52 ปี  น้ำหนัก 80 สูง 148 เป็นโรค เบาหวาน ความดัน หอบหืด มีอาการ วิงเวียนศรีษะ เป็นลมบ้างเป็นบางครั้ง /ช็อค สาเหตุที่เป็น คือ เครียด คิดมาก มีลูกเป็นคนที่ดูแล  การกินอาหาร จะกินอาหารรสอ่อน ปานกลาง และได้รักษาตัวอยู่ที่ โรงพยาบาลละงู  จะกินยาความดัน และฉีดยาเบาหวานเองทุกวัน และออกกำลังกายนานๆครั้ง ครั้งที่ 3 เดือนนี้น้ำตาลลด กินยาลดความดัน และฉีดยาเองทุกวัน และออกกำลังกาย
    2. นายรอเหล็น ปองแท้ อายุ 58 ปี น้ำหนัก  70 ส่วนสูง 170 เป็นโรคฝีในสมอง และเหน็บชา อาการคือ มือเท้าใช้งานไม่ได้ ความรู้สึกช้ากว่าเดิม สมองควบคุมคำสั่งไม่ค่อยได้ สาเหตุที่เป็น ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และมี ภรรยาเป็นคนดูแล จะให้ออกกำลังกาย และกินยาจากโรงพยาบาลหาดใหญ่ สูบบุหรี่และกินกาแฟด้วย ครั้งที่ 3 เหมือนเดิม

    3. นายวีระศักดิ์ ปองแท้  อายุ 22 ปี หนัก 80 สูง 153 เป็นโรคลิ้นหัใจรั่ว ความดัน มีอาการ เหนื่อยง่าย นอนไม่หลับ หอบ เป็นโรคทางพันธุกรรม มีแม่คอยดูแล  รักษาที่ มอ. หาดใหญ่ กินยาเป็นประจำทุกเดือน ออกกำลังกาย แต่ สูบบุหรี่ กินเหล้า ครั้งที่ 3 เหมือนเดิม

    4. สราวุฒิ ปองแท้  อายุ 26 ปี หนัก 75 สูง 167 เป็นโรคหอบและภูมแพ้ มีอาการเหนื่อยจากการทำงาน แลเป็นภูมแพ้ในฤดูฝน เป็นเพราะ  เหนื่อย อากาศเย็น แพ้ฝุ่น มีพ่อแม่ดูแล รักษาที่ โรงพยาบาลละงู และสูบบุหรี่ ครั้งที่ 3 เหมือนเดิม

    5. คอดีย๊ะ ปองแท้ อายุ 26 ปี น้ำหนัก 60 สูง 147 ไม่เป็นโรค

    6. ตระกูลสันหมาด+โชติมันต์

    1.นายบ่าวนุ้ย สันหมาด  อายุ 86 ปี เป็นโรคอ่อนข้อ มีอาการ ไม่มีแรง ปวดเมื่อยตามร่างกาย นอนไม่ค่อยหลับ เป็นเพราะ เมื่อก่อนทำงานหนัก มีภรรยาดูแล การกินอาหารและกินยาเป็นเวลา ครั้งที่ 3 อาการ เมื่อยตามตัว ไม่มีแรง มีภรรยาดูแล สิ่งที่เปลี่ยนแปลง คือ ลุกขึ้นนั่งได้ อาการดีขึ้นกว่าครั้งก่อน น่าตาแจ่มใสขึ้น พูดคุยรู้เรื่อง และผู้ป่วยเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา

    2.นางรอกาย๊ะ สันหมาด เป็นโรคความดัน เบาหวานไขมันในเส้นเลือด หัวใจโต มีอาการหายใจลำบาก เวียนหัว แน่นหน้าอก เป็นเพราะ ความดันสูง ทำงานหนัก  ดูแลตัวเอง กินอาหารและยาเป็นเวลา แนะนำให้ควบคุม อาหาร ครั้งที่ 3 ความดันปกติ และออกกำลังกายสม่ำเสมอ  แข็งแรงขึ้น มีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลาและไปหาหมอบ่อย หน้าตาสดชื่นแจ่มใสดี

    1.นายดำ  โชติมันต์ อายุ 72 ปี หนัก 50 สูง 165 เป็นโรค หอบ ไอเรื้อรัง กระเพาะ มีอาการไอ พ่นยาตลอด หายใจเสียงดัง เพาระ เป็นหวัดบ่อย มีภรรยาดูแล ครั้งที่ 3 อาการเหมือนเดิม แต่สนทนาพูดคุยเยอะกว่าครั้งก่อนที่ได้ลงพื้นที่ หน้าตาแจ่มใสขึ้น

    2.นางฮาซีร๊ะ โชติมันต์ อายุ 37 ปี เป็นโรคเบาหวาน หอบหืด ภูมิแพ้  มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เป็นเพราะ กินจุกจิก ชอบกินของหวาน ไม่ค่อยออกกำลังกาย ดูแลตัวเอง สามีและลูก พยายามออกกำลังกาย ควบคุมอาหาร ครั้งที่ 3 อาการเหมือนเดิมแต่ดีขึ้นนิดหน่อย และออกกำลังกายทุกวันตอนเย็น ควบคุมในเรื่องอาหารและเช็คน้ำตาลในเลือดอยู่บ่อยๆ

    1. ตระกูลเอ็มเล่ง กับ ม่าหมูด
    2. นายดนตรี เอ็มเล่ง อายุ 66 ปี  เป็นโรคความดัน มีอาการเวียนหัว ปวดเมื่อย มีลูกกับภรรยาคอยดูแล  และให้กินยาอย่างต่อเนื่องครบทุกเวลา ครั้งที่ 3 อาการดีขึ้น คนดูแลเหมือนเดิม และควบคุมอาหาร

    3. นางเขียว เอ็มเล่ง อายุ 64 ปี เป็นโรคความดันโลหิตสูง และโรคสะเก็ดเงิน มีอาการเวียนหัว อาเจียน ปวดท้อง แนะนำ อย่าทานอาหารรสจัด
      ครั้งที่ 3 อาการ วันที่ 5กันยา เริ่มเป็นอย่างรุนแรงแต่ตอนนี้ดีขึ้น ประมาณ 30% และควบคุมเรื่องอาหาร

    4. นางสาวชนกานต์ เอ็มเล่ง อายุ 39 ปี เป็นโรคไต โดยไม่รู้สาเหตุ เกิดอาการบวม  และดูแลตัวเองแนะนำ อย่ากินอาหารรสจัด ครั้งที่ 3 อาการดีขึ้น

    5. นายธนงศักดิ์ เอ็มเล่ง อายุ 40 ปี เป็นโรคปวดท้องบ่อยๆ  แต่กลัวเข็มฉีดยาไม่กล้าไปหาหมอ มีพี่น้องคอยดูแล คำแนะนำ กินอาหารให้ตรงเวลา ครั้งที่ 3 อาการดีขึ้น แต่เป็นคนกลัวหมอ

    5.นางจินดา หวีตันหยง อายุ 42 ปี เป็นโรคปวดท้องถ่ายเป็นเลือด มีอาการปวดท้อง สามีคอยดูแล พยายามรักษาทุกวิธีแต่ก็ไม่หาย ครั้งที่ 3 อาการดีขึ้น

    1. นายผล ม่าหมูด อายุ 74 ปี เป็นโรคหัวใจ มีอาการ กลัว ขวัญอ่อน ใจสั่น กินอะไรไม่ค่อยได้ กินยาที่โรงพยาบาล ครั้งที่ 3 อาการเหทือนเดิม

    2. นายยูสูบ ม่าหมูด อายุ 40 ปี  ประสบอุบัติเหตุ สมองได้รับความกระทบกระเทือน มีแม่คอยดูแล และกินยา ครั้งที่ 3 เหมือนเดิม

    3. นางรอมหรี ม่าหมูด อายุ 73 ปี เป็นโรคชรา  มีอาการ เหนื่อย เพลีย ล้าตามวัย ดูแลตัวเอง และกินยาบ่อยๆ ครั้งที่ 3 กินอาหารได้เป็นปกติ

    4. นางอินตัน ม่าหมูด อายุ 56 ปี เป็นโรคผื่นแดง และถลอกเป็นแผ่นๆ มีอาการคันตามผิวหนังซื้อยามาทาเอง ครั้งที่ 3 หายแล้ว เป็นปกติ

    5. นางกอหลัน เส็มสัน อายุ 48 ปี เป็นโรคความดัน มีอาการปวดศรีษะ เพราะเครียด ดูแลตัวเอง และควบคุมการกินอาหาร ครั้งที่ 3 เหมือนเดิม

      4.ตระกูลบารา+อุรามา

    6. นายต่ายูเด็น บารา อายุ 62 ปี หนัก 65 สูง 172 เป็นโรค เหน็บชา เบาหวาน เป็นมาประมาณ 3 ปี มีอาการ ชามือ ชาเท้า อ่อนเพลีย สั่น เป็นเพาระ การสะสมของไขมันมีบุตรดูแล เรื่องการกินอาหารที่มีประโยชน์ ครั้งที่ 3 อาการดีขึ้นกว่าครั้งก่อน แต่ยังไม่หายขาด ออกกำลังกายเป็นประจำ

    7. นางฮาลีม๊ะ บารา อายุ 55 ปี หนัก 55 สูง 145 เป็นโรคเบาหวาน 3 ปีแล้ว ชอบกินอาหารที่มีรสจัด ครั้งที่ 3 เหมือนเดิม

    8. นางหาหวา บารา  อายุ 47 ปี หนัก 80 สูง 158 เป็นโรคความดันโลหิตสูง มีอาการมึนหัว ปวดท้ายทอย เป็นเพราะกินอาหารที่มีไขมันสูง พักผ่อนไม่พอ ดูแลตัวเอง เรื่องอาหาร และออกกำลังกาย แนะนำให้งดอาหารรสจัด
      ครั้งที่ 3 อาการดีขึ้น ออกกำลังกายเป็นประจำ


    1.นายสุอีป อุรามา อายุ 58 ปี หนัก 70 สูง 170 เป็นโรคความดัน ไขมัน เป็นมา 4 ปี มีอาการ มึนหัว เหนื่อยง่าย เป็นเพราะกินอาหารที่มีไขมันสูง มีบุตรดูแลเรื่องการกินอาหาร และเอาใจใส่ทั้งร่างกายและจิตใจ และพาไปหาหมอตามนัด ครั้งที่ 3 ความดันปกติ รับประทานอาหารตามที่แนะนำ ออกกำลังกายเป็นประจำโดยการเดิน

    2.นางฮานี่ย๊ะ อุรามา อายุ 59 ปี หนัก 45 สูง 147 เป็นโรค หอบ ครั้งที่ 3 เหมือนเดิม
    3.นายยูหัน อุรามา เป็นโรคความดัน หัวใจ เก๋า ไทรอย หลอดเลือดหัวใจเกิน มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ปวดข้อ คอบวม เป็นเพราะ กล้ามเนื้อผิดปกติ ปวดข้อ ข้อเสื่อม มีบุตรดูแลเรื่องการกินอาหาร และพาไปพบแพทย์ ครั้งที่ 3 ความดันปกติ ออกกำลังกายโดยการเดิน

    1. ตระกูลตระกูลดินนุ้ย+นิละ


      1.นายอำรัน ดินนุ้ย  เป็นโรคเข็ด แผลเรื้อรังบริเวณเท้า รักษาที่โรงพยาบาลละงู ครั้งที่ 3 อาการดีขึ้นมาก ดีใจที่มีญาติพี่น้องลงไปเยี่ยม

    2.นางดาม๊ะ ดินนุ้ย หนัก 46 สูง 155 เป็นโรรคความดัน เบาหวาน  เก๋า หัวใจ ไต  รักษาที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง ครั้งที่ 3 อาการไม่ค่อยดีขึ้น มึนศรีษะ

    3.นางบอระ ดินนุ้ย หนัก 40 สูง 170 เป็นโรคชรา ภูมิแพ้ เหน็บชา รักษาที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง ครั้งที่ 3 อาการแข็งแรงขึ้น ความรู้สึกของผู้ป่วย อยากให้มาเยี่ยมบ่อยๆ และรู้สึกมีความสุขที่มีคนมาเยี่ยม

    4.นายหาบ ดินนุ้ย  หนัก 50สูง 158 เป็นโรคหอบ  รักษาที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง มีบุตรคอยดูและ ดินนุ้ย หนัก 40 สูง 170 เป็นโรคชรา ภูมิแพ้ เหน็บชา รักษาที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง ครั้งที่ 3 อาการคงที่ พูดคุย และสบายใจขึ้นที่มีคนมาเยี่ยม

    5.นายอับดลรอสาก ดินนุ้ย หนัก 73 สูง 165 ไม่ระบุชัดเจน ครั้งที่ 3 เป็นโรคประสาท รักษาที่ มอ. อาการคงที่ หากมีการขาดยา มีอาการซึมเศร้า ไม่ค่อยพูด


    1.นายปรัชญา นิละ อายุ 51 ปี หนัก 48 สูง 160 เป็นโรความดัน มีอาการปวดหัว ขาชา สาเหตุเครียด คิดมาก รักษาที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง ครั้งที่ 3 ดีขึ้นแนะนำให้ลดอาหาร รสจัด รู้สึกดีใจที่ติดตามมาดูแลอาการ

    2.นางสาวรมหยัน นิละ หนัก 46 สูง 144 เป็นโรคความดัน เบาหวาน ชัก มีอาการเวียนหัว นอนไม่หลับ  เป็นเพราะ เป็นเริมที่ใต้ตา และชักจะเป็นขึ้นมาเอง รักษาที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง ครั้งที่ 3 ดีขึ้นบ้าง และลดอาหารตามคำแนะนำ

    3.นางยม นิละ อายุ 60 ปี หนัก 78 สูง 159 เป็นโรคความดัน มีอาการเวียนหัว นอนไม่หลับ รักษาที่โรงพยาบาล ครั้งที่ 3 ปกติดี แนะนำให้ทานอาหารให้ครบ 5หมู่ และให้ทานผักผลไม้เยอะๆ

    4.นายยาดี นิละ อายุ 70 ปี เป็นโรคปวดข้อ ปวดเอว มีอาการตะคิวชัก คันเพราะทำงานหนัก เส้นตึง รักษาที่คลีนิค ครั้งที่ 3 ดีขึ้น นอนหลับดี แนะนำให้ลดอาหารรสจัดและออกกำลังกาย
    5. นางยำบี นิละ อายุ 61 ปี เป็นโรคความดัน เบาหวาน เก๋า มีอาการเวียนหัว ปวดหัวเข่า  นอนไท่ค่อยหลับ รักษาที่โรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง ครั้งที่ 3 นอนไม่ค่อยหลับ เจ็บเข่า แนะนำให้ลดอาหารรสจัด


    6.ตระกูลโสะตา+ทุมมาลี

    1.นายดนอาหมาด โส๊ะตา อายุ 61 ปี เป็นโรค เลือดเลี้ยงสมองไม่พอ ความดัน มีอาการเป็นลมบ่อยๆ  เพราะไม่กินผัก มีภรรยาและลูกคอยดูแลไปหาหมอตามนัด กินยาตามหมอสั่ง สูบบุหรี่

    ครั้งที่ 3 อาการดีขึ้นมาก ลดอาหารรสจัด และลดการกินกาแฟให้น้อยลง แนะนำให้ออกกำลังกาย และทานอาหารที่มีประโยชน์


    ตระกูลทุมมาลี

      1.นายสาฝาก ทุมมาลี เป็นโรคหัวใจ มีอาการหัวใจสั่น เหนื่อย เจ็บหัวใจ เป็นเอง มีลูกดูแลพาไปหาหมอตามนัด  สูบบุหรี่ ควรลดอาหารที่มีรสจัด ครั้งที่ 3 อาการดีขึ้นและมีลูกกับภรรยาคอยเตือนให้กินยาเมื่อถึงเวลา แนะนำให้ออกกำลังกายบ่อยๆ และเรื่องอาหารการกิน

      2. นางสีด๊ะ ทุมมาลี  เป็นโรคไทรอย  ความดัน ต้อกระจก ครั้งที่ 3 อาการดีขึ้นมากแล้ว และลดอาหารรสจัด แนะนำให้ออกกำลังกาย และอย่าลืมกินยา

    7.ตระกูลหมันหย่อง กับ สาสว่าง

    1.นางรอเอียน หมันหย่อง เป็นโรคความดัน ไขมันในเส้นเลือด แนะนำให้ให้กินอาหารที่ทำสุกแล้ว และลดอาหารที่มีรสจักทุกชนิด ครั้งที่ 3 ดีขึ้น

    1.นายเดช สาสว่าง อายุ 78 ปี หนัก 88 สูง 168 เป็นโรคหอบหืด  เกิดจากภูมิต้านท่นไม่พอ แพ้ฝุ่นละอองมีภรรยาและลูกคอยดูแล และไปหาหมอตามนัด   ครั้งที่ 3 ดีขึ้นเล็กน้อย ลดกินอาหารรสจัดแลมากินอาหารจืดแทน และทานผักและผลไม้ด้วย
    2.นางวิไล สาสว่าง เป็นโรค เอไอวี เข้าชมรมแล้ว ครั้งที่ 3 ดีขึ้นเรื่อยๆ

    3.นายธงชัย สาสว่าง เป็นโรคน้ำเหลืองเสีย อาการอย่างอื่นไม่ระบุ ครั้งที่ 3 เหมือนเดิม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงไปเยี่ยมผู้ป่วยในครั้งที่ 3 ซึ่งเป็นข้อมูลการติดตามผลว่า ในการลงไปเยี่ยมครั้งที่ 1 และ 2  มีข้อมูลที่ได้จากการลงไปเยี่ยม ดังนี้

    ตระกูลสาหมีด การเปลี่ยนแปลงครั้งที่ 3 ส่วนใหญ่มีอาการเหมือนเดิม ดังนี้

    • โรคเหน็บชา โรคเก๋า การเปลี่ยนแปลง เหมือนเดิม แต่เจ็บหัวเข่าเป็นบางครั้ง ดูแลเหมือนเดิมและกินยาฟ้าทะลายโจรด้วย
    • โรคกระเพาะ กรดใหลย้อน การเปลี่ยนแปลง เหมือนเดิม
    • โรคเลือด  การเปลี่ยนแปลง เหมือนเดิม
    • โรคริดสีดวง การเปลี่ยนแปลง เหมือนเดิม
    • ความดัน การเปลี่ยนแปลง เหมือนเดิม

    ตระกูลปองแท้ การเปลี่ยนแปลงครั้งที่ 3 ส่วนใหญ่มีอาการเหมือนเดิม ยกเว้นโรคเบาหวานที่น้ำตาลลด ดังนี้

    -โรคเบาหวาน ความดัน การเปลี่ยนแปลง น้ำตาลลด กินยาลดความดัน และฉีดยาเองทุกวัน และออกกำลังกาย - โรคฝีในสมอง และเหน็บชา การเปลี่ยนแปลง เหมือนเดิม - โรคลิ้นหัวใจรั่ว ความดัน การเปลี่ยนแปลง เหมือนเดิม - โรคหอบและภูมิแพ้ การเปลี่ยนแปลง เหมือนเดิม

    ตระกูลสันหมาดและตระกูลโชติมันต์ การเปลี่ยนแปลงครั้งที่ 3 อาการเหมือนเดิมและดีขึ้น ดังนี้

    • โรคอ่อนข้อ การเปลี่ยนแปลง  ลุกขึ้นนั่งได้ อาการดีขึ้นกว่าครั้งก่อน น่าตาแจ่มใสขึ้น พูดคุยรู้เรื่อง และผู้ป่วยเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา
    • โรคความดัน เบาหวานไขมันในเส้นเลือด หัวใจโต การเปลี่ยนแปลง ความดันปกติ และออกกำลังกายสม่ำเสมอ  แข็งแรงขึ้น มีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลาและไปหาหมอบ่อย หน้าตาสดชื่นแจ่มใสดี
    • โรคหอบ การเปลี่ยนแปลง อาการเหมือนเดิม แต่สนทนาพูดคุยเยอะกว่าครั้งก่อนที่ได้ลงพื้นที่ หน้าตาแจ่มใสขึ้น
    • โรคเบาหวาน หอบหืด ภูมิแพ้ การเปลี่ยนแปลง อาการเหมือนเดิมแต่ดีขึ้นนิดหน่อย และออกกำลังกายทุกวันตอนเย็น ควบคุมในเรื่องอาหารและเช็คน้ำตาลในเลือดอยู่บ่อยๆ

    ตระกูลเอ็มเล่ง กับ ตระกูลม่าหมูด การเปลี่ยนแปลงครั้งที่ 3 ส่วนใหญ่อาการดีขึ้น และมรการหายขาดแล้วคือ โรคผื่นแดง โดยมีรายละเอียดดังนี้

    • โรคความดัน การเปลี่ยนแปลง อาการดีขึ้น คนดูแลเหมือนเดิม และควบคุมอาหาร
    • โรคความดันโลหิตสูง และโรคสะเก็ดเงิน การเปลี่ยนแปลง อาการ วันที่ 5 กันยายน เริ่มเป็นอย่างรุนแรงแต่ตอนนี้ดีขึ้น ประมาณ 30% และควบคุมเรื่องอาหาร
    • โรคไต การเปลี่ยนแปลง อาการดีขึ้น
    • โรคปวดท้องบ่อยๆ  การเปลี่ยนแปลง อาการดีขึ้น
    • โรคปวดท้องถ่ายเป็นเลือด การเปลี่ยนแปลง อาการดีขึ้น
    • โรคหัวใจ การเปลี่ยนแปลง อาการเหมือนเดิม
    • ประสบอุบัติเหตุ สมองได้รับความกระทบกระเทือน การเปลี่ยนแปลง เหมือนเดิม
    • โรคชรา การเปลี่ยนแปลง กินอาหารได้เป็นปกติ
    • โรคผื่นแดง และถลอกเป็นแผ่นๆ การเปลี่ยนแปลง หายแล้ว เป็นปกติ

    ตระกูลบาราและอุรามา การเปลี่ยนแปลงครั้งที่ 3 ส่วนใหญ่ อาการเหมือนเดิมและดีขึ้น ดังนี้

    • โรคเหน็บชา เบาหวาน การเปลี่ยนแปลง อาการดีขึ้นกว่าครั้งก่อน แต่ยังไม่หายขาด ออกกำลังกายเป็นประจำ
    • โรคเบาหวาน การเปลี่ยนแปลง เหมือนเดิม
    • โรคความดันโลหิตสูง การเปลี่ยนแปลง อาการดีขึ้น ออกกำลังกายเป็นประจำ
    • โรคความดัน ไขมัน การเปลี่ยนแปลง ความดันปกติ รับประทานอาหารตามที่แนะนำ ออกกำลังกายเป็นประจำโดยการเดิน
    • โรคหอบ การเปลี่ยนแปลง เหมือนเดิม
    • โรคความดัน หัวใจ เก๋า ไทรอย หลอดเลือดหัวใจเกิน การเปลี่ยนแปลง ความดันปกติ ออกกำลังกายโดยการเดิน

    ตระกูลตระกูลดินนุ้ยและนิละ การเปลี่ยนแปลงครั้งที่ 3 อาการดีขึ้น

    • โรคเข็ด การเปลี่ยนแปลง อาการดีขึ้นมาก ดีใจที่มีญาติพี่น้องลงไปเยี่ยม
    • โรคความดัน เบาหวาน  เก๋า หัวใจ ไต  การเปลี่ยนแปลง อาการไม่ค่อยดีขึ้น มึนศรีษะ
    • โรคชรา ภูมิแพ้ เหน็บชา การเปลี่ยนแปลง อาการแข็งแรงขึ้น ความรู้สึกของผู้ป่วย อยากให้มาเยี่ยมบ่อยๆ และรู้สึกมีความสุขที่มีคนมาเยี่ยม
    • โรคหอบ การเปลี่ยนแปลง อาการคงที่ พูดคุย และสบายใจขึ้นที่มีคนมาเยี่ยม
    • โรคประสาท การเปลี่ยนแปลง รักษาที่ มอ. อาการคงที่ หากมีการขาดยา มีอาการซึมเศร้า ไม่ค่อยพูด
    • โรคความดัน การเปลี่ยนแปลง ดีขึ้นแนะนำให้ลดอาหาร รสจัด
    • โรคปวดข้อ ปวดเอว การเปลี่ยนแปลง นอนหลับดี แนะนำให้ลดอาหารรสจัดและออกกำลังกาย
    • โรคความดัน เบาหวาน เก๋า การเปลี่ยนแปลง นอนไม่ค่อยหลับ เจ็บเข่า แนะนำให้ลดอาหารรสจัด
      ตระกูลโสะตาและตระกูลทุมมาลี การเปลี่ยนแปลงครั้งที่ 3 อาการดีขึ้น

    • โรคเลือดเลี้ยงสมองไม่พอ ความดัน การเปลี่ยนแปลง อาการดีขึ้นมาก ลดอาหารรสจัด และลดการกินกาแฟให้น้อยลง แนะนำให้ออกกำลังกาย และทานอาหารที่มีประโยชน์

    ตระกูลทุมมาลี การเปลี่ยนแปลงครั้งที่ 3 อาการดีขึ้น

    • โรคหัวใจ การเปลี่ยนแปลง อาการดีขึ้นและมีลูกกับภรรยาคอยเตือนให้กินยาเมื่อถึงเวลา แนะนำให้ออกกำลังกายบ่อยๆ และเรื่องอาหารการกิน
    • โรคไทรอย  การเปลี่ยนแปลง อาการดีขึ้นมากแล้ว และลดอาหารรสจัด แนะนำให้ออกกำลังกาย และอย่าลืมกินยา

    ตระกูลหมันหย่อง กับ ตระกูลสาสว่าง การเปลี่ยนแปลงครั้งที่ 3 อาการดีขึ้น

    • โรคความดัน ไขมันในเส้นเลือด การเปลี่ยนแปลง ดีขึ้น
    • โรคหอบหืด การเปลี่ยนแปลง ดีขึ้นเล็กน้อย ลดกินอาหารรสจัดแลมากินอาหารจืดแทน และทานผักและผลไม้ด้วย
    • โรคเอสไอวี การเปลี่ยนแปลง ดีขึ้นเรื่อยๆ
    • โรคน้ำเหลืองเสีย การเปลี่ยนแปลง เหมือนเดิม

     

    50 53

    14. มาจัดทำรายงานสรุปปิดงวดโครงการงวดที่ 1

    วันที่ 7 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  ประชุมคณะทำงานชุดเก่าและกลุ่มแกนนำเยาวชน 30 คน เพื่อวางแผนในการขยายกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชน 2.  มีทีมคณะทำงานชุดใหม่ที่เป็นเด็กและเยาวชนเพิ่มขึ้นเป็น 20 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  มีกลุ่มเป้าหมายที่เป็นเด็กและเยาวชนเพิ่มขึ้นทำให้คณะทำงานมีศักยภาพมากขึ้น 2.  ทำให้เยาวชนเปลี่ยนทัศนคติในการทำงานร่วมกับคนต่างวัย 3.  มีความรู้ ความเข้าใจ กล้าคิด กล้าทำในการลงพื้นที่ และมีจิตอาสา 4.  ในการลงพื้นที่ แต่ละครั้งของแต่ละตระกูลและคนในชุมชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีทุกครั้ง 5.  กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น 6.  ทำให้เด็กรู้สึกเป็นห่วงและอยากดูแลญาติของตัวเองมากขึ้น

     

    3 3

    15. สังเคราะห์ถอดบทเรียนโครงการ

    วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • มีการออกนำเสนอโครงการที่ได้มาและแลกเปลี่ยน

    • มีการให้ความรู้และข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้นำเสนอโครงการให้กับคณะทำงานโครงการอื่นๆและมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน

    • ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องสุขภาพแก่โครงการอื่นๆ

     

    2 2

    16. ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 5 เพื่อสรุปผลการลงเยี่ยมบ้านของเครือข่ายอาสาสมัครและแกนนำเยาวชน

    วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้ประสานงาน ได้ประสานทีมคณะทำงานเพื่อมาเข้าร่วมประชุมมาทบทวนและสรุปผลจากการลงพื้นที่ไปเยี่ยมผู้ป่วย โดยการนั่งคุยกันแบบเป็นกลุ่มๆ และมาแลกเปลี่ยนความรู้กันหลังจากที่ได้ข้อมูลผู้ป่วยของแต่ละกลุ่ม ในการประชุมครั้งนี้ เจ้าของโครงการก็ได้ชี้แจง เกี่ยวกับการทำกิจกรรมของโครงการในงวดที่ 2 นี้ด้วย เกี่ยวกับเรื่องของงบประมาณ และกิจกรรมที่เราจะต้องมาร่วมกันทำกิจกรรมที่เหลือกันจนสำเร็จว่าควรทำอย่างไรจึงจะสามารถทำให้ชุมชนของเราน่าอยู่อย่างยั่งยืน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  มีคณะทำงานมาเข้าร่วมประชุม จำนวน  30 คนโดยแต่ละกลุ่มสรุปจากข้อมูลของแต่ละกลุ่มจากการลงพื้นที่ว่า ส่วนใหญ่แล้วแต่ละตระกูล จะเป็นโรค คือ ความดัน เบาหวาน เพราะคนขาดความรู้ในเรื่องของการกิน และการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องว่าควรปฎิบัติแก่ตนเอง และญาติอย่างไร

    2.  คณะทำงานและแกนนำเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคที่เกิดขึ้นแต่ละตระกูล

    3.  เด็กและเยาวชนกล้าคิดกล้าทำและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฎิบัติแก่ตนเองและญาติพี่น้องได้

    4.  เด็กและเยาวชนรู้สึกรักญาติของตนเองมากขึ้น

    5.  ทำให้คนในชุมชนสนิทสนมกันมากขึ้น

    6.  เด็กรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

    7.  เด็กและเยาวชนมีจิตอาสาในการให้กำลังใจแก่ผู้ป่วยและผู้สูงอายุ และมีจิตใจที่อ่อนโยนขึ้น

    8.  ทำให้แต่ละตระกูลรู้จักญาติตัวเองมากขึ้น

     

    50 30

    17. ปรึกษาก่อนการอบรมพัฒนาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.  ปรึกษาในเรื่องขั้นตอนการทำกิจกรรมว่าควรทำในรูปแบบใด

    2.  ปรึกษาเกี่ยวกับการหาวิทยากรที่มีความรู้เกียวกับกิจกรรมที่ทำ

    3.  กำหนดการทำกิจกรรม และเวลาได้อย่างเหมาะสมและถูกต้องในการทำกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  ประสานทีมคณะทำงานและกลุ่มแกนนำเยาวชนตามกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้

    2.  มีการปรึกษาและหาผลสรุปกับพี่เลี้ยง จนได้วิทยากรที่เหมาะสมในการให้ความรู้กับกิจกรรมที่จะทำ

    3.  มีกำหนดการในการทำกิจกรรมร่วมกัน  และร่วมกันวางแผนการทำกิจกรรมแต่ละขั้นตอนจนสำเร็จ

    4.  ในการคัดเลือกต้นแบบของแต่ละตระกูล  จะใช้วิธีการ คือ ช่างน้ำหนัก และวัดรอบเอว (ทำในกิจกรรมที่ 5 และติดตามประเมิณผลจนถึง กิจกรรมการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน กลุ่มไหน เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจะมีรางวัลและจะมอบรางวัล ในกิกรรมที่ 6 เช่นกัน )

     

    3 3

    18. อบรมพัฒนาศักยภาพกลุ่มเป้าหมาย 13 ตระกูลเพื่อให้เข้าใจการดูแลสุขภาพและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • มีผู้มาเข้าร่วมประชุม จำนวน 56 คน

    • วิทยากรให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เช่น    การบริโภคอาหาร มีการให้ความรู้และให้คำแนะนำ ว่าควรบริโภคอาหารอย่างไร ประเภทไหน และควรบริโภคในปริมาณเท่าไหร่จึงจะเหมาะสมกับแต่ละบุคคล เพื่อให้ลดต่อการเสี่ยงของโรคที่เกิดขึ้นของแต่ละตระกูลและกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค

    • วิทยากร  ได้พูดคุยกับผู้เข้าร่วม และได้ถามถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคต่าง ๆ ว่าเกิดจากสาเหตุใด เพราะอะไรคนในชุมชนถึงได้เป็นโรค

      • มีการแลกเปลียนความรู้ เช่น ตอนนี้ ใคร เป็นโรคอะไร เป็นอย่างไร สาเหตุที่เป็น  และควรปฎิบัติแก่ตนเองอย่างไรเพื่อให้หายจากโรคที่เป็น หรือทำอย่างไรเพื่อให้ร่างกายดีขึ้น

            เช่น  คนที่เป็นโรค เบาหวาน ควรกิน หรือลดอาหารประเภทไหนบ้าง  เพราะโรคเบาหวานเป็นโรคที่รักษาไม่หาย แต่เราสามารถลดการเสี่ยงของการเป็นโรคนี้ได้

            เพราะจากการลงพื้นที่สำรวจผู้ป่วยทั้ง  14  ตระกูล ส่วนใหญ่จะเป็นโรคความดัน  เบาหวาน เนื่องจากสาเหตุ  คนขาดความรู้เรื่องการกิน  และเป็นหมู่บ้านที่มีอาหารการกินที่สะดวก และหาซื้อได้ง่าย จึงทำให้คนมีนิสัยที่ กินอาหารตามร้าน โดยไม่คำนึงว่า อาหารที่เรากินเข้าไปแต่ละวันมันจะสะสมและส่งผลอย่างไรกับร่างกายของเรา  และเกิดจาก นิสัยขี้เกียจในการทำอาหารกินเอง  หรือไม่มีเวลาทำ เพราะบางคนก็มัวแต่ทำงานจนไม่มีเวลาว่าง ก็เลยหาซื้อกินตามร้าน เร็วและสะดวกกว่า โดยไม่รู้ว่า อาหารที่เรากินแต่ละวัน มีโอกาสเสี่ยงต่อโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับเราโดยไม่รู้ตัว

              และต่อมาหมอ ก็จะสอนการออกกำลังกาย ในท่าง่ายๆ แบบพื้นฐาน ที่ทุกคนสามารถทำในชีวิตประจำวันได้  เช่น  การวิ่งซอยเท้าอยู่กับที่  โดยที่หมอจะให้ทุกคนที่มาลุกขึ้นยืนและทำพร้อมเพรียงกัน  หลังจากนั้นหมอก็ให้คำแนะนำแก่คนที่เป็นโรค  ว่าแต่ละโรคเราควรกินอาหารในปริมาณเท่าไหร่ จึงจะสามารถทำให้อาการของโรคที่เราเป็นดีขึ้น และอะไรที่ไม่ควรกิน  เพราะถ้าหากเรากินโดยที่เราไม่เลือกกิน  และกินโดยขาดความรู้ มันสามารถทำให้คนที่ยังไม่เป็นโรค อาจจะเสี่ยงต่อการเป็นโรคได้เช่นกัน

                กิจกรรมที่ทำในวันนี้ เป็นกิจกรรมที่เราต้องมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค เพื่อให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง และเป็นการให้ความรู้ต่างๆ ที่ทุกคนควรนำไปปฎิบัติแก่ตนเองและญาติของตัวเองเพื่อลดโรคที่เกิดขึ้นในหมู่ 2 ทำให้ชุมชนของเราน่าอยู่ขึ้น เพราะคนมีความรู้ และสามารถดูแลตนเองและญาติพี่น้องของตัวเองได้อย่างถูกต้อง และถูกวิธี เพราะทุกคนในหมู่ 2 ล้วนแล้วก็คือ ญาติพี่น้องกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้มาเข้าร่วมประชุม จำนวน 56 คน วิทยากร ( หมอ ) ให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมประชุม

    • การบริโภคอาหาร ว่าควรบริโภคอาหารอย่างไร ประเภทไหน และควรบริโภคในปริมาณเท่าไหร่จึงจะเหมาะสมกับแต่ละบุคคล เพื่อให้ลดต่อการเสี่ยงของโรคที่เกิดขึ้นของแต่ละตระกูลและกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค

    • ได้รู้ถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคต่าง ๆ ว่าเกิดจากสาเหตุใด เพราะอะไรคนในชุมชนถึงได้เป็นโรค

    • ได้แลกเปลียนความรู้ เช่น ตอนนี้ ใคร เป็นโรคอะไร เป็นอย่างไร สาเหตุที่เป็นและควรปฎิบัติแก่ตนเองอย่างไรเพื่อให้หายจากโรคที่เป็น หรือทำอย่างไรเพื่อให้ร่างกายดีขึ้น

    • คนที่เป็นโรค เบาหวาน ควรกิน หรือลดอาหารประเภทไหนบ้างเพราะโรคเบาหวานเป็นโรคที่รักษาไม่หาย แต่เราสามารถลดการเสี่ยงของการเป็นโรคนี้ได้

    • ได้รู้วิธีการออกกำลังกายเบื้องต้น ที่คนทุกวัยสามารถทำได้ในชีวิตประจำวัน

    • คนมีความรู้ และสามารถดูแลตนเองและญาติพี่น้องของตัวเองได้อย่างถูกต้อง และถูกวิธี

    • สามารถปฎิบัติและดูแลญาติพี่น้องได้ถูกต้องและผู้ป่วยทั้ง 14 ตระกูลได้ รวมถึงคนในชุมชน หมู่ 2 ด้วย


      ได้คัดเลือกต้นแบบทั้ง14ตระกูล โดยแบ่งจากกลุ่มที่ลงพื้นที่ 7 กลุ่ม กลุ่มละ 2 คน เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น โดยวิธีการ ช่างน้ำหนักและวัดรอบเอว กิจกรรมที่ทำวันนี้จะติดตามผลไปประเมิณจนถึงกิจกรรมการจัดกีฬาพื้นบ้าน( มีรางวัล )

     

    50 56

    19. สรุปผลจากการทำกิจกรรมการปรัปเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค

    วันที่ 3 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

            จากการทำกิจกรรม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  เป็นกิจกรรมที่ หมอที่มาให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ดี และการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง  ซึ่งการทำกิจกรรมในวันนั้นผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความสนใจเป็นอย่างดี  และเป็นเรื่องที่ดีที่ทุกคนควรรู้และควรปฎิบัติตาม เพราะบางคนยังขาดความรู้และความรู้เท่าไม่ถึงการณ์           จึงมาร่วมกันสรุปจากข้อมูลของกิจกรรมได้ว่า  อาหารที่เรารับประทานทุกวันเป็นอาหารที่เราไม่ควรรับประทานเป็นประจำ เพราะอาจจะเสี่ยงต่อโรคได้โดยที่เราไม่รู้   

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการคัดเลือกต้นแบบของแต่ละตระกูล ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีของชุมชนและประกาศยกย่องครอบครัวตัวอย่าง  ( มีรางวัล )
    - ได้รู้ถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคต่าง ๆ ว่าเกิดจากสาเหตุใด เพราะอะไรคนในชุมชนถึงได้เป็นโรค
    - ได้แลกเปลียนความรู้ เช่น ตอนนี้ ใคร เป็นโรคอะไร เป็นอย่างไร สาเหตุที่เป็น  และควรปฎิบัติแก่ตนเองอย่างไรเพื่อให้หายจากโรคที่เป็น หรือทำอย่างไรเพื่อให้ร่างกายดีขึ้น

    • คนที่เป็นโรค เบาหวาน ควรกิน หรือลดอาหารประเภทไหนบ้าง  เพราะโรคเบาหวานเป็นโรคที่รักษาไม่หาย แต่เราสามารถลดการเสี่ยงของการเป็นโรคนี้ได้

    • ได้รู้วิธีการออกกำลังกายเบื้องต้น ที่คนทุกวัยสามารถทำได้ในชีวิตประจำวัน

    • คนมีความรู้ และสามารถดูแลตนเองและญาติพี่น้องของตัวเองได้อย่างถูกต้อง และถูกวิธี

    • สามารถปฎิบัติและดูแลญาติพี่น้องได้ถูกต้องและผู้ป่วยทั้ง 14 ตระกูลได้ รวมถึงคนในชุมชน หมู่ 2 ด้วย

     

    2 3

    20. ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 6 เพื่อสรุปผลจากเวทีพัฒนาศักยภาพและวางแผนการทำงานเรื่องอื่นๆ

    วันที่ 10 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ในการประชุมครั้งนี้  เป็นการประชุมเพื่อต้องการ ให้โครงการได้เกิดสภาในชุมชน ซึ่งได้มีการประสานงานระหว่างฝ่ายผู้นำชุมชนรวมถึงคณะทำงานที่เป็นแกนนำได้เข้าร่วมประชุมเพื่อต้องการให้ผู้นำได้เข้าร่วมและมาช่วยกันคิดและช่วยกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของเรา ว่ามีปัญาอะไรบ้าง และต้องการให้สภาอยู่ใรูปแบบไหน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • หลังจากที่ได้นั่งคุยและปรึกษาหารือเพื่อช่วยกันหาวิธีการที่จะแก้ไขปัญหาของคนในชุมชนร่วมกันและเพื่อนำไปสู่การเกิดสภา  ผลที่ได้ก็คือ  ยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน เพราะหมู่  2  เป็นชุมชนที่มีขนาดใหญ่จึงทำให้เป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาก แต่สำหรับวนนี้สิ่งที่เกิดขึ้นและเห็นแล้วว่า  ผู้นำในชุมชนที่มาเข้าร่วมได้รับรู้ถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในหมู่  2  เช่น  สมมติว่า  แพะมากินต้นไม้ หรือทำให้คนในหมู่บ้านเกิดความเดือดร้อน ถ้าหากเป็นอย่างนั้นเราควรทำอย่างไร และมีข้อตกลงกับคนในชุมชนอย่างชัดเจน โดยมีมติร่วมกันและสถานที่ที่รับร้องเรียน ที่ไหน  ใครเป็นคนดูแลและรับผิดชอบ  และนำปัญหานั้นมาร่วมกันแก้ไข  โดยต้องเริ่มแต่งตั้งหัวหน้า แต่ละแผนก และแบ่งหน้าที่ ว่า ใคร ทำอะไ ทำอย่างไร จากการประชุมในครั้งนี้ยังหาข้อสรุปที่ได้ยังไม่ชัดเจนจึงจำเป็นต้องมีการประชุมในครั้งต่อไป เพื่อให้โครงการนี้ได้มีการเกิดสภาขึ้น  จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการประชุมอย่างต่อเนื่อง

     

    50 29

    21. ปรึกษาหารือเพื่อการวางแผนการจัดงานกีฬาสัมพันธ์พื้นบ้าน

    วันที่ 14 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เดินทางพบพี่เลี้ยงปรึกษา เรื่อง
    • มีการแบ่งกลุ่ม  7  กลุ่ม
    • แต่ละกลุ่มช่วยกันคิด กีฬาพื้นบ้าน
    • การแข่งขันกีฬาโดยแต่ละกลุ่ม  ทั้ง  7  กลุ่ม
    • ช่างน้ำหนักและวัดรอบเอว ทั้ง  14  คน
    • มีการจับของขวัญเล็กๆ น้อยๆ เพื่อปลอบใจสำหรับคนที่มาเข้าร่วม  ( จับทุกคน )

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้กีฬา  5  อย่าง
    • การแข่งกีฬาสามารถทำให้คนในหมู่บ้านมีความสนิทสนมกันมากขึ้น  (คนต่างวัย)
    • แต่ละคนสามารถจัดการตนเองได้
    • มีความรู้และสามารถนำไปปฎิบัติต่อญาติของตัวเองได้อย่างยั่งยืน
    • มีความรู้สึกรักและมีความสามัคคีเพิ่มมากขึ้น

     

    3 3

    22. ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 7 เพื่อวางแผนการจัดงานกีฬาสัมพันธ์พื้นบ้าน ม.2 ตำบลละงู

    วันที่ 22 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • มีผู้เข้าร่วมประชุม  จำนวน  30  คน  มาประชุมร่วมกันเพื่อปรึกษาการจัดงานกีฬาสัมพันธ์พื้นบ้าน

    • ผู้เข้าร่วมประชุมได้เสนอกีฬาเพื่อมาแลกเปลี่ยนและวิเคราะห์ว่า กีฬาประเภทไหนบ้างที่สามารถเล่นร่วมกันได้ทุกวัย

    • ทั้ง  7  กลุ่มต้องหากลุ่มเป้าหมายที่เป็นเด็กและเยาวชน  เพิ่ม อย่างน้อย กลุ่มละ  10-15 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -  มีการนำเสนอการรณรงค์ของแต่ละกลุ่ม

    -  ได้กีฬา ทั้งหมด  5  อย่าง คือ

                  1.      ตีกบมะเขือ

                  2.      วิ่งซุปเปอร์แมน

                  3.      ตักน้ำใส่ขวด

                  4.      อุ้มลูกตามผัว

                  5.      ส่งบอลด้วยหัว           โดยกีฬาแต่ละอย่าง จะมีกฏกติกา  ซึ่งจะอธิบายในวันทำกิจกรรม -          มีกรรมการตัดสินกีฬา  จำนวน  10 คน

    -          มีผู้ดำเนินกิจกรรมการแข่งขันกีฬา  จำนวน  2  คน

                * การตัดสินกีฬาแต่ละอย่าง  จะตัดสินแบบ นับคะแนนรวมเป็นทีม 3  ทีมแรกที่ชนะ  จะได้รางวัลตามลำดับ

     

    50 22

    23. จัดงานเพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ 13 ตระกูลด้วยกีฬาวัฒนธรรมพื้นบ้าน

    วันที่ 28 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • มีผู้มาเข้าร่วมกิจกรรม  จำนวน  150  คน  มีทั้งกลุ่มแกนนำชุมชน กลุ่มเด็กและกลุ่มแกนนำเยาวชน  กิจกรรมที่ทำวันนี้ก็คือ ให้กลุ่ม  ทั้ง  7  กลุ่ม  นั่งกันเป็นกลุ่มๆ และร่วมกันคิดเกี่ยวกับการรณรงค์กีฬาพื้นบ้านโดยให้แต่ละกลุ่มช่วยกันคิดวิธีรณรงค์ และแต่ละกลุ่มจะต้องไม่เหมือนกันและ ออกมานำเสนอแลกเปลี่ยนกันของแต่ละกลุ่ม

    • จัดกิจกรรมโดยเน้นกีฬาพื้นบ้านการละเล่นต่างๆ  โดย  14  ตระกูลเป็นหลัก  หรือแบ่งแล้ว  คือ  7  กลุ่ม  แต่ละกลุ่มมีคนในชุมชนที่ เพิ่มจำนวนกลุ่มละ  10- 15 คน

    • ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนในการแข่งขันกีฬาแต่ละอย่าง  แต่ชื่อต้องไม่ซ้ำ ในการลงแข่งขันกีฬาทุกประเภท

    • ทั้ง  7  กลุ่ม จะใส่เสื้อ  7  สี  จะไม่เหมือนกัน  (จับฉลากสีเสื้อวันประชุม)  มี สีส้ม    สีเหลือง    สีชมพู    สีแดง      สีน้ำเงิน      สีเขียว        สีม่วง    สีละ  15  คน

    • กรรมการใส่ สีฟ้า  จำนวน  10  คน และกีฬาที่ใช้ในการสร้างความสัมพันธ์ประกอบด้วย

    1. ตีกบมะเขือ ทีมละ    2  คน

    2. ตักน้ำใส่ขวด ทีมละ    5  คน

    3. อุ้มลูกตามผัว ทีมละ    5  คน

    4. วิ่งซุปเปอร์แมน ทีมละ  5  คน

    5. ส่งบอลด้วยหัว  ทีมละ  4  คน

    - หลังจากแข่งขัน  ได้มีการแข่งขันลดน้ำหนักจากเวทีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  มีการช่างน้ำหนัก และวัดรอบเอวเหมือนเดิม  รางวัลจะได้  3  คนแรกที่มีการปรับเปลี่ยน และกิจกรรมสุดท้ายเป็นการจับของขวัญ  ( จับทุกคน )

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • หลังจากการแข่งขันกีฬา ทั้ง 7กลุ่ม สรุปการแข่งขันกีฬาทุกประเภท สรุปว่า สีส้ม สีแดง และสีเหลือง ตามลำดับ      ชนะ ในการแข่งขันจะสรุปแบบ กลุมไหนที่ชนะการแข่งขันมากกว่า ชนะ และ ได้รางวัล 1,2,3, และมีรางวัลชมเชย     ส่วนเรื่องที่ ทำกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จะมีการชั่งน้ำหนัก และวัดรอบเอว 3 คนแรกจะได้รางวัล เพราะเขามีการปรับเปลี่ยนและมีความพยายาม คนที่ 1. คือ นางรอกีฉ๊ะ ม้องพร้า 2.เสานีย์ 3.วิจิตรา ซึงจาการดำเนินกิจกรรมกีฬาสร้างความสัมพันธ์นี้ทำให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและมีความสัมพันธืกันในชุมชนมากขึ้น

     

    150 150

    24. สรุปผลหลังจากการจัดงานกีฬาสัมพันธ์พื้นบ้าน

    วันที่ 30 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

        นั่งคุยกับพี่เลี้ยงเรื่องการจัดกีฬา โดยมีผลสรุปที่ได้ก็คือ กิจกรรมการจัดกีฬาวัฒนธรรมพื้นบ้านทำให้คนในหมู่บ้าน มีความรักและความสามัคคี และจัดการญาติของตังเองได้ดีขึ้น ตามลำดับ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.  ได้จัดกีฬาเชื่อมความสัมพันธ์ของ 14  ตระกูล

          2.  คณะทำงานมีความสามัคคีกันมากขึ้น

          3.  คนแต่ละตระกูลรู้จักดูแลและจัดการญาติของตนเองมากขึ้น

          4.  คนในหมู่บ้านมีความรู้และสามารถจัดการตนเองเรื่องสุขภาพและการดูแลญาติของตนเองได้

     

    2 3

    25. ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 8 สรุปผลจากการจัดงานกีฬาสัมพันธ์ 13 ตระกูลด้วยกีฬาวัฒนธรรมพื้นบ้าน

    วันที่ 31 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประสานคณะทำงานและกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 30 คน

    • มีคณะทำงานและแกนนำชุมชนมาเข้าร่วมประชุม โดยในวาระการประชุมครั้งนี้เป็นการประชุมเกี่ยวกับเรื่องของการทำสภาหมู่บ้านและความคาดหวังในชุมชน

    • มีการวางแผนร่วมกันในการจัดตั้งสภาหมู่บ้าน

    • มีข้อตกลงร่วมกันในการจัดตั้งกลุ่มเล็กๆ ของแต่ละด้านในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ความคาดหวังของสภาหมู่บ้าน

    1.เกิดผู้นำร่วมและผู้นำแกนนำร่วมกัน

    2.เรื่องสุขภาพดี

    3.เรื่องความสะอาด

    4.ความร่วมมือ

    5.มีทุนที่เป็นเยาวชน และชรบ.

    6.มีการประชุมอย่างต่อเนื่อง

    และมีกลุ่มแกนนำ 7 ด้าน คือ

    1.ด้านความมั่นคง/สังคม

    2.ด้านสุขภาพ

    3.ด้านสิ่งแวดล้อม

    4.ด้านเยาวชน

    5.ด้านเศรษฐกิจ/อาชีพ

    6.ด้านศิลปะ/วัฒนธรรม/ภูมิปัญญา

    7.ด้านกีฬา

     

    50 30

    26. ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 9 เป็นการประชุมประจำเดือนของคณะทำงานในการขับเคลี่ยนของพื้นที่

    วันที่ 1 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เป็นการประชุมการจัดแต่งตั้งสภาหมู่บ้าน ครั้งที่ 1

    • มีการแต่งตั้งประธาน และคณะกรรมการของแต่ละด้าน

    • มีการปรึกษาถึงบทบาทและหน้าที่ของแต่ละด้าน

    • ปรึกษาถึงปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกันของแต่ละด้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีประธาน และเลขานุการของแต่ละด้านและคณะกรรมการทั้ง 7 ด้าน

    • คณะทำงานแต่ละด้านรู้ถึงปัญหาและผลกระทบที่เป็นปัญหาร่วมในหมู่บ้าน

    • ได้ข้อมูลที่เป็นปัญหาร่วมที่ด้านความมั่นคง/สังคม จะต้องให้ความร่วมมือแก้ปัญหาร่วมกันกับด้านสิ่งแวดล้อม

     

    50 30

    27. ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 10 ประชุมเตรียมงานถอดบทเรียนโครงการ

    วันที่ 5 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประสานงานสภาทั้ง 7 ด้าน

    • จัดกลุ่มแต่ละด้านเพื่อถ่ายรูปทั้ง 7 ทีม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีคณะสภาทั้ง 7 ทีม เข้าร่วมประชุมสภา

    • มีรูปทีมสภาทั้ง 7 ทีม

     

    50 30

    28. ปรึกษาการวางแผนการจัดเวทีถอดบทเรียน

    วันที่ 17 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ช่วยกันปรึกษาและตั้งคำถามในเวทีถอดบทเรียน

    2. ปรึกษาเรื่องสถานที่ที่เหมาะสมและสะดวกในการเดินทาง

    3. ปรึกษาหารือเรื่องของกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมในเวทีถอดบทเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีคำถามในกิจกรรมถอดบทเรียนและทุกคนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมร่วมกัน

    2. ได้สถานที่ที่เหมาะสม

    3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจะเป็น

    • ทีมเด็กและเยาวชน

    • กลุ่มแกนนำอสม.

    • ทีมแกนนำคณะที่ลงเยี่ยมผู้ป่วย

    และทีมคณะทำงานชุดเก่า

     

    3 3

    29. ปรึกษาหารือเกี่ยวกับการจัดตั้งสภาหมู่บ้าน

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • หาข้อมูลแกนนำชุมชนในหมู่บ้านทุกภาคส่วน

    • รู้ว่าในชุมชนมีปัญหาอะไรบ้าง

    • ปรึกษาเพื่อหาข้อมูลต่างๆและวิธีแก้ไขปัญหา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -  มีข้อมูลโครงสร้างของหมู่บ้าน ทั้ง 7 ด้าน  คือ

    1.  ด้านความมั่นคง/สังคม

    2.  ด้านสิ่งแวดล้อม

    3.  ด้านเศรษฐกิ/อาชีพ

    4.  ด้านเยาวชน

    5.  ด้านศิลปะ/วัฒนธรรม/ภูมิปัญญาชาวบ้าน

    6.  ด้านกีฬา

    7.  ด้านสุขภาพ

     

    3 3

    30. ปรึกษาเกี่ยวกับการทำกิจกรรมถอดบทเรียน

    วันที่ 10 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • หาข้อมูลเกียวกับสถานที่ที่เหมาะสม และคณะทำงานเดินทางได้สะดวกและปลอดภัย

    • พูดคุยกับคณะทำงานและทบทวนเนื้อหาหรือกิจกรรมที่ทำมาทั้งหมด

    • จัดให้มีกิจกรรมสันทนาการเพื่อเป็นการผ่อนคลายและให้คณะทำงานได้มีความสนิทสนมระหว่างเยาวชนที่เป็นเด็กและผู้ใหญ่ให้มากกว่าเดิม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีสถานที่ที่เหมาะสมและปลอดภัยสำหรับเด็กและผู้ใหญ่

    • ได้เนื้อหาของการทำงานที่ผ่านมาทั้งหมด

    • มีเกมส์สันทนาการสำหรับเวทีถอดบทเรียน

     

    3 3

    31. สรุปผลการดำเนินงานทั้งหมด

    วันที่ 13 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. นำเสอผลการทำงานทั้งหมด

    2. มีการทำงานกันเป็นกลุ่มและชี้แจงเนื้อหาในการทำโครงการต่อยอดปีนี้เพื่อให้รู้ว่าชุมชน ม.2 มีปญหา คือ

    • เรื่องสุขภาพ

    • เรื่องโรคต่างๆทั้ง 14 ตระกูล

    • เรื่องญาติพี่น้องของแต่ละคนแต่ละตระกูล

    • คนในหมู่บ้านขาดความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง

      ซึ่งเป็นปัญหาของ กลุ่ม อสม.มาพูดคุยกัและคิดแก้ปัญหาร่วมกันและได้มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ คือ

    1. กลุ่มแกนนำ อสม.และกลุ่มเยาวชนมีข้อมูลผู้ป่วยและได้ลงไปเยี่ยมผู้ป่วย ทั้ง 14 ตระกูล

    2. ผญ./ผช. ให้ความช่วยเหลือดี

    3. สอ.บต.  ให้ความช่วยเหลือบางครั้ง

    4. คณะกรรมารหมู่บ้าน  ให้คำปรึกษาเป็นอย่างดี

    5. ชรบ.  ช่วยอำนวยความสะดวกรวมถึงความปลอดภัยในชุมชน

    6. เยาวชน  ให้ความร่วมมือดีมาก

    7. ครู  จะช่วยเหลือในเรื่อง สถานที่จัดกิจกรรม

    8. โต๊ะอีหม่าม  ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องของศาสนาและความเหมาะสมในเรื่องๆ

    9. รพ.สต.  ให้ความร่วมมือดีมาก

    10. อบต. ไม่ได้ประสานงาน ทีมไม่ได้เข้าร่วมทั้งหมด( เป็นบางครั้ง )

    11. ปราญ์ชชาวบ้าน  ปรึกษาดีและให้ความรู้เรื่องการดูแลตัวเองว่าควรปฏิบัติอย่างไร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สิ่งที่ได้จากการทำงานทั้งสิ่งที่ดีๆ/สิ่งที่ไมดีรวมถึงความรู้สึกของคณะทำงานทุกคน

    ก่อนมาเข้ารวมทำโครงการ

    • กลัว

    • ไม่กล้าแสดงออก

    • ไม่เข้าใจกระบวนการ ( ปีแรก )

    • ไม่ได้รับความร่วมมือจากแกนนำชุมชน

    • ถ่ายรูปไม่เป็น

    • ไม่กล้าซักถาม

    • กลุ่มเป้าหมายไม่เชื่อถือในตัวโครงการ ว่าเป็นโครงการอะไร ของใคร มาจากไหน

    • โดนบังคับ กังวล เพราะเอาความคิดตนเองเป็นใหญ่

          หลังจากเข้าร่วมโครงการ

      สิ่งที่ดีๆ

    • เข้าใจมากขึ้นและนำข้อผิดพลาดมาพัฒนา ซึ่งได้รับความร่วมมือจากฝ่ายแกนนำหมู่บ้านเป็นอย่างดี

    • ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และรู้ถึงปัญหาต่างๆในชุมชนเรื่องสุขภาพ

    • มีความสามัคคีระหว่างวัยเด็กและผู้ใหญ่และอยากให้เป็นอย่างนี้ตลอดไป

    • ได้ความรู้ และได้สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับคนในหมู่บ้าน

    • ได้ช่วยเหลือผู้ป่วยได้ถูกวิธี

        สิ่งที่ไม่ดี

    • คณะทำงานไม่ตรงต่อเวลา

    • ในการลงไปเยี่ยมผู้ป่วยบางบ้านไม่ค่อยให้ความร่วมมือ

    • คนในชุมชนไม่เห็นถึงความสำคัญในเรื่องสุขภาพของตนเอง และญาติพี่น้อง

    • ด้านสังคมให้ความร่วมมือน้อย

    • มีความคิดที่แตกต่างระหว่างวัย ทำให้มีช่องว่างและมีปากเสียงกัน

        ปัญหา คือ

    • ไม่ตรงต่อเวลาในทีมคณะทำงานและการลงไปเยี่ยมผู้ป่วยบางคนไม่ให้ความร่วมมือ

    • ผู้ป่วยบางคน ถามว่า มีค่าตอบแทนให้เขาบ้างไหม

    • การประสานงานไค่อยทั่วถึง

    • ไม่มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างวัย

        วิธีแก้ไขปัญหา

    • หากิจกรรมที่สามารถให้เด็กและผู้ใหญ่ทำกิจกรรมร่วมกันได้

    • มีการนัดประชุมกันให้ตรงวันหยุดเพื่อมาปรึกษา และวางแผนการทำงานร่วมกัน

    • อาจจะสร้างกลุ่ม ทางอินเตอร์เน็ต เช่น กลุ่ม Line / Face book เพื่อง่ายกับการประสานงานกับ กลุ่มเยาวชน

    • คณะทำงานพูดคุยกับผู้ปาวยให้เข้าใจในแต่ละครั้งที่ลงไปเยี่ยม( มีของให้ เช่น นม และของที่ผู้ป่วยสามารถทานได้ ) เพราะคนที่ลงไปเยี่ยมมีความรู้สึกเป็นห่วงและอยากให้ชุมชนมีสุขภาพจิตและร่างกายที่แข็งแรง

        ข้อเสนอแนะ

    • อยากให้ชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมของ สสส. เพิ่มขึ้น เพราะเป็นโครงการที่ดีกับตนเองและญาติพี่น้อง

    • ควรจะมีการสร้างกลุ่มทาง  Line

    • มีวิทยากรที่สามารถทำกิจกรรมสันทนาการให้เยอะกว่านี้

    • อยากให้มีการทำเสื้อทีม คณะทำงาน (ไม่มีงบประมาณ)

    • อยากให้มีคณะทำงานที่เป็นเยาวชน ชาย ให้เยอะกว่านี้

    • อยากให้มีการศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนระหว่างหมู่บ้านใกล้เคียง

    • อยากให้เพิ่มตระกูลในชุมชน เพราะเป็นชุมชนขนดใหญ่

    • อยากให้มีศูนย์เรียนรู้สุขภาพในชุมชนและมีหน่วยงานต่างๆ เข้ามาช่วยหนุนเสริม

          คำถามที่ถามคณะทำงานทุกๆคน  อยากทำโครงการต่อหรือไม่ ทำอย่างไร

    • โครงการที่ดีๆแบบนี้ควรจะสนับสนุนต่อให้ชัดเจน และเข้มแข็งกว่านี้

    • อยากให้ส่งเสริมผู้สูงอายุให้มีอชีพและรายได้ที่มั่นคงรวมถึงการออกกำลังกายมากขึ้น

      ***ความฝัน ของ คณะทำงาน  ( ฝันนี้คงเป็นจริง หากได้รับการสนัสนุนจาก สสส. ) ขอบคุณค่ะ

     

    50 50

    32. ปรึกษาเพื่อสรุปหลังจากกิจกรรมถอดบทเรียน

    วันที่ 29 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สรุปเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำว่ามีกิจกรรมอะไรบ้าง

    2. ข้อดี และข้อเสีย ของโครงการและแต่ละคนในการทำกิจกรรมาร่วมกัน

    3. มีข้อเสนอแนะอะไรบ้างที่ได้จากการทำกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีการสรุปเนื้อหาที่ผ่านมาทั้งหมดว่า  คณะทำงานได้ความรู้เรื่องของสุขภาพและการดูแลญาติพี่น้องตัวเอง

    2. เด็กและเยาวชนมีความสนใจในตัวโครงการ เพราะเป็นโครงการที่ดีและควรทำต่อ

    3. อยากให้มีตระกูลเพิ่มขึ้นในการทำกิจกรรม

    4. เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

    5. คนในหมู่บ้านมีความรู้และมีความสนิทสนมระหว่างวัยเด็ก และผู้ใหญ่ทำให้ไม่เกิดช่องว่างระหว่าวัย

     

    3 3

    33. ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 11 เพื่อพูดคุยสรุปหลังจากกิจกรรมถอดบทเรียน

    วันที่ 30 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. คณะทำงานได้นั่งคุยหลังจากกลับจากการทำกิจกรรมถอดบทเรียนว่าได้อะไรบ้าง

    2. การทำกิจกรรมถอดบทเรียนทุกคนมีความรู้สึกอย่างไร

    3. ข้อเสนอแนะของแต่ละคน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้ทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างวัยเด็กและผู้ใหญ่และเชื่อมความสัมพันธ์เพิ่มขึ้น

    2. เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

    3. อยากให้การประสานงานดีกว่านี้เกี่ยวกับการเดินทางมาประชุมโดยการประสานงานล่วงหน้าและหาเวลาที่ตรงกันเพราะ ไม่ตรงต่อเวลา

    4. อยากให้โครงการนี้ทำอย่างต่อเนื่อง

    5. เป็นโครงการที่ดีเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตัวเอง และยาติพี่น้อง

     

    30 30

    34. กิจกรรมปิดโครงการงวดที่ 2

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • พี่เลี้ยงจัดเรียบเรียงเอกสารทั้งหมดของโครงการ

    • พี่เลี้ยงจัดทำบัญชีตามกิจกรรมโครงการเกี่ยวกับข้อมูลของแต่ละกิจกรรมที่ทำมาทั้งหมด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • พี่เลี้ยงตรวจเอกสารเกี่ยวกับการเงิน

    • ได้ตรวจข้อมูลและเอกสารของโครงการจนสำเร็จ

     

    2 2

    35. ประชุมคณะทำงานโครงการครั้วที่ 12 เป็นการประชุมประจำเดือนของคณะทำงาน(สภาชุมชนหมู่ 2 บ้านปากละงู) เป็นการพูดคุยเพื่อขับเคลี่ยนงานด้านต่างๆในพื้นที่หมู่2 บ้านปากละงู

    วันที่ 3 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานและกลุ่มสภานั่งพูดคุยและปรึกษาหารือร่วมกันว่า ตอนนี้ หมู่ 2 บ้านปากละงู
    มีปัญหาเรื่องอะไรบ้างที่ กลุ่มสภาแต่ละฝ่ายจะต้องเข้ามาช่วยเหลือและแก้ปัญหาเพื่อหาวิธีแก้ไขปัญหาได้ และมีการแบ่งบทบาทและหน้าที่ของกลุ่มสภาแต่ละด้าน คือ ประธาน รองประธาน เลขานุการ
    และกรรมการของแต่ละด้าน เพื่อให้เกิดผลสำเร็จในหน้าที่ที่ตนเองรับผิดชอบ ทำให้หมู่บ้านของเรา มีสภาที่แก้ปัญหาร่วมกันได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ประธาน รองประธาน เลขานุการ และกรรมการของแต่ละฝ่าย ครบทั้ง 7 ฝ่าย

    • สมาชิกทุกคนรู้ถึงบทบาทและหน้าที่ของตนเอง

    • กลุ่มสมาชิกของแต่ละฝ่ายร่วมกันคิดและแก้ปัญหาร่วมกันได้

    • ในทุกๆเดือนหลังจากได้มีวาระการประชุม ผู้ใหญ่บ้านและผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
      จะมีการแจ้งในทุกๆเรื่องกับสภาหมู่บ้านว่า แต่ละเดือนมีการประชุมเรื่องอะไรบ้าง ซึ่งผ/ญ
      จะแจ้งในที่ประชุมสภาหมู่บ้านอย่างต่อเนื่อง

     

    30 25

    36. ล้างอัดขยายภาพ

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • มีการรวบรวมรูปภาพที่ทำมาทั้งหมดทุกกิจกรรมโครงการและนำมาล้างอัดขยายภาพเพื่อให้โครงการที่ทำสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -  ได้ภาพที่ต้องการในการรวบรวมการทำกิจกรรมทุกกิจกรรมเพื่อสรุปและปิดโครงการได้สมบูรณ์และมีเนื้อหาที่ชัดเจนมากขย่งขึ้น

     

    3 3

    37. ถอนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

    วันที่ 6 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ถอนเงินออกจากบัญชีธนาคาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -  ถอนเงินออกจากบัญชีธนาคาร

     

    2 2

    38. สรุปงานจากการปิดกิจกรรมโครงการ

    วันที่ 7 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • มีเอกสารข้อมูลครบทุกกิจกรรม และนำมาแยกเอกสาร แต่ละกิจกรรม

    • พี่เลี้ยงได้ตรวจสอบเอกสารเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายของแต่ละกิจกรรมว่า แต่ละกิจกรรมค่าใช้จ่ายเท่าไหร่

    • จัดรวบรวมเอกสารของกิจกรรมทั้งหมด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีเอกสารครบทุกกิจกรรม

    • ได้เนื้อหาของกิจกรรมที่ทำโครงการ คือ การลงไปเยี่ยมผู้ป่วย ทั้ง 14 ตระกูล ( อาจจะมีตระกูลเพิ่มขึ้นในหมู่บ้านเพิ่มขึ้น )

    • มีเอกสารของกิจกรรมครบถ้วนและสมบูรณ์

     

    5 5

    39. จัดทำรายงานและรวบรวมรายงานฉบับสมบูรณ์ทั้งหมด

    วันที่ 8 กรกฎาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นั่งคุยและปรึกษากับพี่เลี้ยงในกิจกรรมที่ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ และช่วยกันรวบรวมเนื้อหาทั้งหมดจนเสร็จ และรวมถึงการปรึกษาเกี่ยวกับเอกสารการเงินให้ถูกต้องครบถ้วนตามโครงการ แต่ละกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น


    - มีข้อมูลและเนื้อหาแต่ละกิจกรรมทั้งหมดของโครงการครบถ้วนสมบูรณ์

    • มีข้อมูลจิงเกี่ยวกับเอกสารการเงิน

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อเตรียมความพร้อมการดูแลสุขภาพเครือญาติและกลุ่มเยาวชนติดยาเสพติดในชุมชน
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ - ร้อยละ 60 ของคนในชุมชนได้รับข้อมูลด้านสุขภาพและมีความเข้าใจการดูแลสุขภาพ เชิงคุณภาพ - มีความเข้าใจปัญหาสุขภาพและเกิดการดูแลสุขภาพกลุ่มเยาวชนติดยาเสพติด
    • เชิงปริมาณ

    ร้อยละ 60 ของคนทั้ง 14 ตระกูลใหญ่ ในชุมชนหมู่ 2 รับรู้ข้อมูลจากการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพ การกินและการบริโภคอาหารที่ถูกต้องและมีความรู้ความข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเองและญาติพี่น้องได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี

    • เชิงคุณภาพ

    คณะทำงานและกลุ่มแกนนำเยาวชนรู้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วยในชุมชนและสามารถลงไปเยี่ยมผู้ป่วยและให้คำแนะนำในการปฏิบัติต่อผู้ป่วยได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี สามารถนำไปปฏิบัติต่อญาติของตนเองได้

    2 2. เพื่อหนุนเสริมศักยภาพกลไกสุขภาพหมู่บ้าน
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ - ร้อยละ 60 ของคนในชุมชนมีส่วนร่วมจัดการสุขภาพ เชิงคุณภาพ - เกิดการมีส่วนร่วมและเกิดการบูรณาการทำงานร่วมกัน เนื่องจากเห็นแผนงานภาพรวมทั้งหมด - มีกลไกหมู่บ้านสุขภาพ - ชุมชนเกิดการจัดการตนเองในการดูแลสุขภาพ
    • เชิงปริมาณ

    คณะทำงานและกลุ่มแกนนำเยาวชนรวมทั้ง คนในชุมชนทั้ง 14 ตระกูลใหญ่ๆ ในชุมชนหมู่ 2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคต่างๆที่เกิดขึ้นในชุมชน มีการลงไปเยี่ยมผู้ป่วยที่เป็นโรคเรื้อรังและสามารถปฏิบัติและให้คำแนะนำในโรคที่เป็นอยู่ และยังนำไปปฏิบัติต่อญาติของตนเองด้วย

    • เชิงคุณภาพ

    คณะทำงานทั้งรุ่นเก่าและรุ่นใหม่มีการทำงานร่วมกันโดยไม่เกิดการมีช่องว่างระหว่างวัยเด็ก และวัยผู้ใหญ่ สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างดี มีความสนิทสนมและมีความรักและความสามัคคีในการทำงานร่วมกันของทีมคณะทำงานของโครงการ - มีกลไกหมู่บ้านสุขภาพ คือ คณะทำงานและแกนนำเยาวชน รู้จักดูแลสุขภาพของตนเองในเรื่อง การบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ รวมถึงการ ลด อาหารประเภท หวาน มัน เค็ม ซึ่งอาจจะนำไปสู่การเกิดโรคในกลุ่มเสี่ยงที่ยังไม่เกิด และรณรงค์ให้คนออกกำลังกาย โดยจะมีวิธีก็คือ ให้คนในชุมชนจัดการตนเองและญาติของตนเองและนำเอาความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่องเพื่อชุมชนจะได้มีสุขภาพที่ดีอย่างยั่งยืน

    3 เพื่อพัฒนาคนรุ่นใหม่และกลไกสุขภาพหมู่บ้าน
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ - มีทีมแกนนำรุ่นใหม่ (กลุ่มเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและอาสาสมัครเก่า) และมีทีมใหม่รวม 50 คน เชิงคุณภาพ - สามารถเก็บข้อมูล บันทึกข้อมูลและลงเยี่ยมบ้านทำให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีขึ้น - จะมีการเกิดมิติใหม่กับคนรุ่นใหม่ต่อยอดจากงานเก่าและงานใหม่ - ชุมชนได้ข้อมูลคืนจากการทำงานของงานที่ได้ทำทั้งหมด - เกิดอาสาสมัครใหม่ในการดูแลสุขภาพหมู่บ้าน - เยาวชนกลุ่มติดยาเสพติดหันมาสนใจสุขภาพและการดูแลตนเอง

    เชิงปริมาณ

    • มีคณะทำงานรุ่นเก่า 30 คนที่เป็นกลุ่มแกนนำเด็กและเยาวชน และมีทีมใหม่เป็นเด็กและเยาวชน จำนวน 20 คน

    เชิงคุณภาพ

    • มีข้อมูลของผู้ป่วยทั้ง 14 ตระกูล ของคนในชุมชนหมู่ 2 และมีการบันทึกข้อมูลผู้ป่วยในการลงไปเยี่ยม ทั้ง 3 ครั้ง ทำให้เด็กมีจิตอาสาและจิตใจที่อ่อนโยนขึ้นและกล้าทำ กล้าพูด กล้าแสดงออก กับคนระหว่างวัย ทำให้เกิดความสนิทสนมกันมากขึ้น และยังทำให้ผู้ป่วยมีกำลังใจ และทำให้รู้สึกดีใจที่ญาติพี่น้องได้ไปเยี่ยม

    • ทำให้เด็กมีจิตใจที่อ่อนโยน และมีจิตอาสาเพิ่มขึ้น และรู้จักญาติตนเองเพิ่มมากขึ้น เพราะจากการลงไปเยี่ยมผู้ป่วยเด็กและเยาวชนรู้สึกกระตือรือร้นและมีความตั้งใจในการทำงานที่ตนเองได้รับมอบหมายได้สำเร็จ

    • สิ่งที่ได้จากการทำโครงการในครั้งนี้ ทำให้เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง และได้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพของตนเองและญาติของตนเองได้มากขึ้น จึงทำให้กลุ่มเยาวชนที่ยังไม่เข้าร่วมโครงการเกิดความสนใจและอยากเข้าร่วมโครงการด้วย เพราะโครงการนี้เป็นโครงการที่คนทุกๆวัยสามารถมาทำร่วมกันได้ แต่เนื่องด้วย ชุมชนหมู่ 2 เป็นชุมชนขนาดใหญ่จึงทำให้เกิดช่องว่างเพียงเล็กน้อยแต่คนในชุมชนก็สามารถอยู่ร่วมกันได้และยังมีอีกหลายกลุ่มในชุมชนที่สนใจในการเข้าร่วมโครงการนี้และพร้อมที่จะให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี เพราะเป็นโครงการที่ดีและทำให้ชุมชนของเราน่าอยู่มากยิ่งขึ้น หากทุกคนหันมาสนใจในสุขภาพกันมากขึ้นกว่าเดิม

    4 - เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมิณผลโครงการ
    ตัวชี้วัด : - จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมสสส.และสจรส.
    • คณะทำงานให้ความสนใจในเข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้ง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเตรียมความพร้อมการดูแลสุขภาพเครือญาติและกลุ่มเยาวชนติดยาเสพติดในชุมชน (2) 2. เพื่อหนุนเสริมศักยภาพกลไกสุขภาพหมู่บ้าน (3) เพื่อพัฒนาคนรุ่นใหม่และกลไกสุขภาพหมู่บ้าน (4) -  เพื่อการบริหารจัดการและการติดตามประเมิณผลโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ญาติใคร ใครก็รัก ม.2 บ้านปากละงู (ต่อยอด)

    รหัสโครงการ 57-01459 รหัสสัญญา 57-00-0859 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2557 - 30 มิถุนายน 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    กระบวนการเสริมพลังผู้นำ 4 ฝ่าย คือ ฝ่ายปกครอง ฝ่ายศาสนา ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายผู้นำชุมชน

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    ชุมชนได้ใช้กระบวนการสภาชุมชนพูดคุยวางแผนและแก้ปัญหา

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ญาติใคร ใครก็รัก ม.2 บ้านปากละงู (ต่อยอด) จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 57-01459

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางเจ๊ะหวัน บุหลงลี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด