แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ บ้านโคกเหล็กพอเพียงหลีกเลียงสารเคมี (ต่อยอด ) ”

บ้านโคกเหล็ก หมู่ 9 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัด นครศรีธรรมราช

หัวหน้าโครงการ
นาย ธีระชัย ช่วยชู

ชื่อโครงการ บ้านโคกเหล็กพอเพียงหลีกเลียงสารเคมี (ต่อยอด )

ที่อยู่ บ้านโคกเหล็ก หมู่ 9 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัด นครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 57-01532 เลขที่ข้อตกลง 57-00-1024

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มิถุนายน 2557 ถึง 10 กรกฎาคม 2558


กิตติกรรมประกาศ

"บ้านโคกเหล็กพอเพียงหลีกเลียงสารเคมี (ต่อยอด ) จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านโคกเหล็ก หมู่ 9 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัด นครศรีธรรมราช

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
บ้านโคกเหล็กพอเพียงหลีกเลียงสารเคมี (ต่อยอด )



บทคัดย่อ

โครงการ " บ้านโคกเหล็กพอเพียงหลีกเลียงสารเคมี (ต่อยอด ) " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านโคกเหล็ก หมู่ 9 ตำบลไทยบุรี อำเภอท่าศาลา จังหวัด นครศรีธรรมราช รหัสโครงการ 57-01532 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มิถุนายน 2557 - 10 กรกฎาคม 2558 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 196,200.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมเรื่องการจัดการขยะให้เป็นสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ โดยใช้กติกา "บ้านพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี"
  2. เพื่อพัฒนาฐานเรียนรู้ "บ้านพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี" ให้เป็นฐานของการเพิ่มรายได้ลดรายจ่าย ลดสารเคมี ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่ดีเพื่อสุขภาพให้กับเด็กและเยาวชนสืบทอดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
  3. เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศโครงการ

    วันที่ 14 มิถุนายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเข้าร่วมปฐมนิเทศโครงการเเพื่อทำความเข้าใจการดำเนินงานโครงการและระบบรายงานผ่านเว็ปไซต์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการเข้าใจและได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการทำงานกับพี่เลี้ยงและ สจรส.มอ.ในเรื่องการบริหารจัดการโครงการ

     

    2 2

    2. ประชุมทีมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2557 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะทำงานที่มาจากคณะกรรมการ และตัวแทนกลุ่มบ้าน รวม 20 คน ได้วางแผนร่วมกัน โดยแบ่งพื้นที่รับผิดชอบเป็น 10 กลุ่ม แต่ละกลุ่มดูแลพื้นที่ของตัวเอง และให้ไปหาสมาชิกที่เข้าร่วมและทำจริง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะทำงาน 20 คนได้เข้าใจในโครงการ และวิธีการดำเนินงาน ว่าในเขตต่อไปจะทำอย่างไร และหาวิธี รณรงค์ให้ชาวบ้านเข้าร่วม เพื่อประโยชน์ของชวนบ้านเอง และประโยชน์ของชุมชน เพื่อให้เข้ากับแผน พัฒนาหมูบ้านซึ้งเป็นปรัชญาในหลวงของเศษฐกิจพอเพียงซึ้งใด้บรรจุ ใว่ในแผนพัฒนาหมูบ้านแล้ว

     

    20 23

    3. ประชุมชี้แจงโครงการ

    วันที่ 23 กรกฎาคม 2557 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีคณะกรรมการตัวแทนกลุ่มบ้านและชาวบ้าน 80 คนร้วมประชุมชี้แจงโครงการให้ข้อมูลเรื่องการจัดการขยะในครัวเรือนและพิษจากสารเคมีและแนวทางจัดการโดยใช้สมุดบันทึกการเรียนรู้ เพือปรับเปลี่ยนขยะในครัวเรือน มาปรับเป็น วัตสดุ ในการปลูกผัก ในครัวเรือน โดยการใช้มูลสัตว์ มาเป็นปุ๋ย และใด้ตรวจสารเคมีในเลือดให้กับชาวบ้าน โดย อสม. ประจำหมู่บ้าน โดยวันนี้ อบต. ไทยบุรีใด้สมทบทุนในโครงการ 15000บาท เพื่อซือเมล็ดผัก และร่วมทำแปลงผักปรอดสารพิษ ใน บริเวณ ศาลาประชาคมประจำหมู่บ้านเพือเป็นแปลงสาธิตและแปลงเพราะชำให้กับชาวบ้านและชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร้วมกิจกรรม ซักถามขั้นตอนการปฏิบัติ และข้อกำหนดแต่ละบ้าน จัดการขยะในครัวเรือนและใด้บอกแนวทางการบันทึก กิจกรรม ให้ถูกต้องโดยมีผู้เข้าร้วม 80 คน ร้วมกันแจกเมล็ดพันธ์ุผัก ให้กับผู้เข้าร้วมโครงการโดย อบต. ไทยบุรี ให้งบประมาณมา 15000 บาท ซื้อเมล็ดพันธ์ุผัก ที่เหลือ ร่วมกันทำแปลงผักปรอดสารพิษ เเละเเปรงเพราะชำและแปรงสาธิต ใว้ในบริเวรศาลาประชาคม ประจำหมู่บ้าน

     

    80 82

    4. ประชุมทีมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2

    วันที่ 10 สิงหาคม 2557 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีผู้รับผิดชอบโครงการ และกรรมการกลุ่ม และหัวหน้ากลุ่ม  20 คนพร้อมกับชาวบ้าน 30 คน มาร่วมกันประชุม ว่าในครั้งต่อไป จะทำอย่างไรกันบ้าง และมอบหม่ายหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละคนและใด้แจกเม็ลดพันธุ์ผัก ให้กับผู้เข้าร้วมโครงการเพื่อเอาไปปลูก ในบ้านของตนเอง และในวัสดุที่เหลือใช้จากขยะในครัวเรือนมาปรับเป็นวัสดุในการปลูกผักและให้ใช้มูลสัตว์เป็นปุ้ย และร้วมกันทำแปลงผักปลอดสารพิษเพือให้เส็จ ให้ทันในครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กรรมการเข้าใจการทำกิจกรรมในครั้งต่อไป ว่าจะทำอย่างไรและชาวบ้านก็เข้าใจร่วมกันว่าให้เอาเม็ลดผักไปปลูกที่บ้าน จะมีคณะกรรมการออกตรวจและจดบันทึกด้วยทุกครัวเรือนที่เข้าร้วมกิจกรรม

     

    20 50

    5. ปฎิบัติการจัดการขยะเป็นปุ๋ย

    วันที่ 23 สิงหาคม 2557 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 1  มีชาวบ้านร่วมกับ คณะกรรมการตัวแทนกลุ่มบ้านและชาวบ้าน 80 คนร่วมกันเอา มูลหมู มูลวัว และขยะที่ทำปุ๋ยได้มารวมกันที่ศาลาหมู่บ้านและฟังคำบรรยายเรื่องผลประโยชน์ของปู๋ยหมัก และวิธีใช้จากอาจารย์ วิทยาโชติกะเป็นอาจารย์จาก กศน. ตำบลไทยบุรีและได้ร่วมกันทำปุ๋ยหมักเพื่อเอาไปใว้ไช้ในการปลูกผักสวนครัวในชุมชนด้วย

    วันที่ 2  มีชาวบ้านร่วมกับกรรมการกลุ่มตัวแทนกลุ่ม และผู้ใหญ่บ้าน รวม 80 คนได้ร่วมกันฟังคำบรรยายเรื่องการเตรียมดินเพาะปลูกผักสวนครัว และเอาขยะเหลือใช้มาเป็นประโยชน์ในการปลูกและวิธีการทำน้ำหมักชีวภาพและน้ำยาไล่ เเมลง จากนายวิจิตร ชำนาญ หมอดินอาสาประจำหมู่ บ้านด้วย และได้ร่วมกันทำกิจกรรมคือน้ำหมัคชีวภาพเพื่อเอาไว้ใช้และได้ร่วมกันทำ แปลงผักสาทิตปรอดสารพิษไว้ในบริเวณศาลาหมู่บ้านเพื่อเป็นแปลงเพราะชำและเป็นศูนย์เรียนรู้ให้กับชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ชาวบ้านได้เรียนรู้เรื่องการทำปู๋ยหมักชีวภาพและได้เรียนรู้เรื่องประโยชน์ของปุ๋ยหมักและวิธีใช้
    2. ชาวบ้านได้เรียนรู้เรื่องวิธีการทำน้ำหมักชีวภาพและน้ำยาไล่เเมลงและประโยชน์ที่จะได้รับ
    3. ชาวบ้านได้ ร่วมกันทำกิจกรรม ในหมู่บ้านและได้เพิ่มความสามัคคีและได้ร่วมกันทำแปลงผักปลอดสารพิษไว้ให้ในบริเวณศาลาประจำหมู่บ้านเพื่อเป็นแปลงเพาะชำและเพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้ให้กับชุมชน
    4. ชาวบ้านได้เห็นผลประโยชน์ของขยะด้วย

     

    80 80

    6. ประชุมทีมคณะกรรมการ ครั้งที่ 3

    วันที่ 10 กันยายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีผู้รับผิดชอบโครงการ ประชุมทีมกรรมการ และ มอบหมายหน้าที่ให้คณะกรรมการ และหัวหน้ากลุ่มบ้าน รับผิดชอบงานในครังต่อไป และให้ชาวบ้าน นำวัสดุเหลือใช้ ที่เป็นวัสดุปลูกผักใด้ ให้เอามาร่วมทำกิจกรรมที่ศาลาหมู่บ้านในครั้งต่อไป และกิจกรรมในวันนี้มี กศน. อำเภอท่าศาลาใด้ให้งบประมาณ มาซื้อพันธุ์ไม้ไผ่หวาน 450 กิ่ง เป็นจำนวนเงิน 19000 บาทร่วมกันแจกให้ชาวบ้านเพื่อสนับสนุนโครงการ บ้านพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการใด้เข้าใจในกิจกรรมครั้งต่อไป ว่าจะทำอะไรกันบ้าง และชาวบ้านใด้รับพันธุ์ไม้ไผ่หวานเพื่อนเอาไปปลูก เกือบทุกครัวเรือนและใด้เข้าใจเรื่องประโยชน์ของผักปรอดสารพิษ และการกำจัดขยะ เพิ่มมากขึ้น

     

    20 40

    7. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ปลูกผัก

    วันที่ 24 กันยายน 2557 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ใด้ฟังคำบรรยายจากพี่เลี้ยงโครงการ เรื่องผลประโยชน์ของผักปรอดสารพิษ และสารตกค้าง ที่เกิดจาก ยาฆ่าแมลงและปุ๋ยเคมีย์ และการนำขยะรีไซเคิลร์ มาใช้ประโยชน์ในการปลุกผักข้างบ้าน และ ครู กศน. ประจำตำบลไทยบุรี อธิบาย เรื่องวิธีการเอาปุ๋ยหมักชีวภาพไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และถูกวิธี คือให้เปิดกระสอบทิ้งไว้กอน 15 วัน เพราะ ฉนั้นถ้าเอาไปใช้เลยผักหรือต้นไม้จะตายหมด และผู้รับผิดชอบโครงการ ใด้อธิบายเรื่องโครงการ และให้ชาวบา้นช่วยกันทำกิจกรรมเพราะเป็นประโยชของตัวท่านเอง และชาวบ้านใด้ร่วมเสดงความคิดเห็น ในการปลูกผักในหน้าฝนนี้ ว่าจะปลูกอย่างไรให้ใด้รับผล โดยสรุปว่าต้องมุงหลังคา ก่อน และวันนี้ ชาวบ้านใด้ร่วมกันปลูกผักในแปรงสาทิต ที่อยูในศาลาหมู่บ้าน และใด้ร่วมกัน นำปุ๋ยหมักที่ทำเส็จแล้วในครั้งก่อน กลับบ้านไปใช้ใส่ผักเพื่อเป็นปุ๋ยอินทรีย์ต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1 ชาวบ้านใด้เรืยนรู้เรื่องขยะรี ไซเคิลร์ หรือวัสดุเหลือใช้ นำมาทำประโยชน์
    2 ชาวบ้านใด้ร่วมกันทดลองปลูกผักในแปรงสาทิตที่อยุ่ในบริเวรศาลาหมูบ้านร่วมกัน
    3 ชาวบ้านใด้แลกเปรี่ยนเรียนรู้เรื่องการปลูกผักโดยไม่ใส่ปุ๋ยเคมีย์ และวิธีใช้ 4 ชาวบ้านใด้ร่วมกันนำปุ๋ยหมักที่ทำเส็จแล้วนำไปใช้ที่บ้าน เพื่อนเอาไปใส่ผักที่ปลูกไว้ในบ้าน

     

    80 83

    8. ประชุมทีมคณะกรรมการ ครั้งที่ 4

    วันที่ 10 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1 ชี้แจงเรื่องปลุกผัก สวนครัว โดยใช้ วัสดุเหลือใช้ เช่นการเตรียมกระถางธรรมชาติ และการเตรียมดิน และวิธีปลูกใน ฤดูฝน
    2 ใด้ร่วมกันวางแผนแบ่งงานมอบหมายหน้าที่ ของคณะกรรมการในกิจการต่อไป ว่าใครรับผิดชอบตรงไหนบ้าง 3 ผู้รับผิดชอบโครงการใด้พูดเรื่อการเตรียมผักปรอดสารพิษเข้าประกวดในอีก 2 เดือนข้างหน้า

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1 คณะกรรมการใด้รู้วิธีการ ทำงานในกิจกรรมต่อไป ว่าไครรับผิดชอบส่วนไหนบ้าง
    2 ใด้เข้าใจเรื่องการปลูกผักในกระถาง และการเตรียมปุ๋ยเตรียมดินเพือเอาไปถ่ายทอดให้เยาวชนในกลุ่มบ้านต่อไป

     

    20 22

    9. มาร่วมประชุมเวทีเรียนรู้

    วันที่ 18 ตุลาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมปะชุมสรุปโครงการใน 4 ข้ันตอน ดังนี้ 1.สรุปเอกสารงายงานเป็นรายคร้ังที่่ทำกิจกรรม 2. บันทึกกิจกรรมวันนี้ 3.นำเอกสารให้พี่เลี้ยงโครงการเสนอแนะ 4.นำเอสารสรุผลงานงวดกับอาจารย์ กำไล  สมรักษ์ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการท้ัง 3 คน ได้สรุปรายงานการทำกิจกรรมข้ันตอนที่ 1- 3 เสนออาจารย์กำไล  สมรักษ์ ให้คำแนะนำเพื่อจะได้นำไปปฏิบัติในข้ันตอนต่อไป สรุปผลงานในงวดแรกได้ผลดี คือ คนมาร่วมเพิ่ม มาเรียนรู้เรื่องการปลุกผัก การทำปุ๋ยชีวภาพ และพูดคุยในวันประชุมทุกครั้งเรื่องการทำโครงการอย่างต่อเนื่อง มีผู้ใหญ่ มีเกษตร มีหมอดินอาสา และมีคณะกรรมการช่วยเพิ่มเติม จนได้มีการติดตามตามบ้าน แล้วมานำเสนอกัน มีพี่เลี้ยงลงมาติดตามเพื่อให้การดำเนนิโครงการได้ตามวัตถุประสงค์ มีการประเมินความพึงพอใจของสมาชิกของโครงการ ทุกคนพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า ดีมาก ต้องช่วยกัน เพื่อลดการใช้สารเคมี ให้บ้านที่เป็นต้นแบบมาทำต มาสอน แล้วขยายผผลไปเรื่อยๆ นอกจากนี้และ้วยังมีหน่วยงานมาช่วย ได้แก่ กศน. เกษตร พัฒนาชุมชนได้ปุ๋ยหมักชีวภาพไปใช้ และมีการติดตามผลการใช้

     

    3 3

    10. ลงแขกเตรียมพื้นที่วัสดุ ปลูกผักปลอดสารพิษ

    วันที่ 23 ตุลาคม 2557 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    โดยคณะกรรมการทั้ง 10 กลุ่มบ้านรวม 10 คน และตัวแทนกลุ่มบ้าน ทั้ง 10 คนและผู้ช่วยผู้ใหญบ้าน ใด้ร่วมกับชาวบ้าน และเยาวชน แต่ละกลุ่มบ้านลงพื้นที่ อบรมเยาวชนและร่วมกันช่วยเตรียมวัสดุ ขยะเหลือใช้ ในการปลูกผัก ร่วมกับชาวบ้าน ของแต่ละกลุ่ม ทั้งหมด 10 กลุ่มบ้าน และใด้อบรมเยาวชนในพื้นที่ให้เข้าใจปัญหา ของขยะในหมู่บ้านและการเปลียนขยะมาเป็นวัสดุ ในการปลูกผักปรอดสารพิษ และรวมถึงการใชปุ๋ยคอกปุ๋ยหมัก และ ประโยชน์ที่ใด้รับจากการปลูกผักกินเอง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1 ใด้มีการแลกเปรียนเรียนรู้ของแต่ละกลุ่มบ้าน 2 ใด้เเสดงความสามัคคีภายในกลุ่มบ้านและหมู่บ้าน 3 ใด้เป้็นวิทยากรพร้อมฝึกเยาวชนให้เข้าใจปัญหาขยะและเข้าใจประโยชของผัปรอดสารพืษ 4 ใด้เห็นการปลูกฝักจริงของชาวบ้านที่เข้าร่วมโครงการ
    5 ใด้นำวัสดุขยะมาเป็นวัสดุในการปลูกผัก รายละเอียดตามกลุ่มบา้น 1 บ้านนางศศิวรรณ จันทร์สอน มีจุดเด่นเรื่องการปลูกบวบ ทำเป็ค้าง ผักสวนครัวมีครบ กลุ่มบ้านเลขที่2 นางศิรินันท์ ไชยยัง
    ไปที่บ้านาง อารี เชาวลิต ปลูกพริกขี้หนู น้ำเต้า และผักสวนครัวอื่นๆ  กลุ่มที่3 นางเบญจวรรณ เมฆยงค์ ได้ปลูกถั่วฝักยาวในร่องสวน และผักสวนครัวอื่นๆ กลุ่มบ้านที่4 นายสมพงศ์ เชาวลิต
    ไปบ้าน นางหนูจิน เพ็ญพงศ์ ปลูกตะไคร้ มะเขือ พริกเป็นต้น กลุ่มที่5 นายศรายุทร สั่งสอน ไปบ้านนางสมบูรณ์ คุ้มเดช ปลูกไส้ซิ้ม ผักกาด มะเขือเทศ พริก ไว้ในวัสดุเหลือใช้ กลุ่มที่6 นางหนูวร การะนัด ไปบ้าน นายสมทัศน์ สมสั่งข์ ปลูกพริกและผักสวนครัวไว้ในกระถาง กลุ่มบ้านที่7 นางจุรี เพ็ญพงศ์ ไปบ้าน น.ส จารี พรมจันทร์ ซึ่งได้ปลูกตะไคร้ ไว้ในร่องสวนยาง และปลูกผักสวนครัวไว้ในกระถาง กลุ่มบ้านที่8 นางหนูเวียง ศักดิ์ศรี ไปบ้าน นางชำเลือง ขวัญสง และบ้านนาง วรรณณา สุรพจน์ สองบ้านนี้ปลูกผักในกระถาง กลุ่มบ้านที่9 นางวิเชียร คงศรี ไปบ้าน นายวิจิตร ชำนาญ ได้ปลูกพริกขี้หนูหลังบ้าน และปลูกผักสวนครัวไว้ในกระถางด้วย กลุ่มบ้านที่10 นางหนูวร พูลใหญ่ ไปบ้าน นางอิ่ม นาคปน ปลูกผักสวนครัวไว้ในกระถาง และปลูกพริกไว้ในบริเวณบ้านด้วย

     

    80 92

    11. ติดตามผลผลตามกลุ่มบ้าน 10 กลุ่มบ้านครั้งที่ 1

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการ 10 คนและตัวแนกลุ่มบ้าน 10 คน ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน ใด้ลงพืนที่สำหรวดกลุ่มบ้านที่ 1 กลุ่มนาง ศริวรรน จันทร์สอน ใด้จดบันทึกไว้ และใด้ปลูกผักไว้ในกระถาง และ ไม่ใช้สารเคมี กลุ่มที่ 2 กลุ่มนาง ศรินันท์ ไชยัง  ใด้ปลูกพริกน้ำเต้าขมิ้นเป็นต้น กลุ่มี่ 3 กลุ่มนาง เบนจวรรน เมฆยงค์ ใด้ปลูกถั่ว ฝักยาว และปลูกผักใว้ในกระถาง กลุ่มที่ 4 กลุ่มบ้านนาย สมพงค์ เชาวลิต ใด้ปลูกผักหลังบ้านมีขมิ้นมะเขือ พริกขี้หนูเ ป็นต้น กลุ่มที่ 5 กลุ่มนาย สรายุท สั่งสอน ปลูกผักในกระถางเช่นผักกาดผักขน้า ใว้ในกระถาง กลุ่มที่ 6 กลุ่มบ้านนาง  หนูวอน การะนัด ใด้ปลูกผักใว้ในร่อง และปลูกผักกาดในกระถางหน้าบ้าน กลุ่มที่ 7 กลุ่มบ้าน นาง จุรี เพ็ญพงค์ กลุ่มนี้ปลูกพริกขี้หนู ไว้ บริเวณบ้าน และใด้ปลูกผักกาด ไซซิ้ม ผักขน้า ไว้ในกระถางด้วย กลุ่มที่ 8 กลุ่มบ้านนางหนูเวียง ศักดิ์ศรี กลุ่มนี้ปลูกพริกขี้หนูใว้หลังบ้านและปลูกผักไว้ในกระถางด้วยกลุ่มที่ 9 กลุ่มบ้านของ นาง วิเชียร คงศรี กลุ่มนี้ปลุกผักกาดผักขน้าไว้ในกระถางกลุ่มที่ 10 กลุ่มของนางหนูวร พูลให่ญ กลุ่มนี้ปลูกพริกขี้หนูไว้หน้าบ้านและปลูกผักกาดผักขน้าพริกไทยไว้ในกระถางด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1 ใด้รับรู้ และเรียนรู้ ของชาวบ้าน เมื่อลงพื้นที่รู้สึกว่าชาวบ้านให้ความสนใจและร่วมมือกันดี และปฏิบัติจริงดว้ย 2 ใด้รณรงค์ให้ชาวบ้านใด้ตื่นตัวอยู่เสมอ ว่าต้องปลูกผักกินเองอย่างต่อเนื่อง 3 ใด้ให้ความรู้กับชาวบ้านและเยาวชนเรื่องผลของการปลูกผักปรอดสารพิษ และการลดขยะในครัวเรือน

     

    80 80

    12. ประชุมทีมคณะกรรมการ ครั้งที่ 5

    วันที่ 10 พฤศจิกายน 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการใด้คุยเรื่อง บ้านพอเพียหลีกเลี่ยงสารเคมี เรื่องการประกวดผักปรอดสารพิษในกิจกรรมต่อไปในเดือน ธันวาคม โดยมอบหมายให้คณะกรรมการของแต่ละกลุ่มบ้านรับผิดชอบนำผักแต่ละกลุ่มบ้าน มาตรวจสารพิษในผักโดยมีรางวัล ปรอบใจเล็กน้อยจาก อบต. และคณะกรรมการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ใด้ทำความเข้าใจกับคณะกรรมการ และตัวแทนกลุ่มบ้าน มอบหมายหน้าที่แบ่งงานกันทำ ในกิจกรรมต่อไป 

     

    20 20

    13. ประชุมทีมคณะกรรมการ ครั้งที่ 6

    วันที่ 10 ธันวาคม 2557 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 20 คน รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม มีคณะกรรมการ 10 คน ตัวแทนกลุ่มบ้าน 10 คน ผู้ใหญ่บ้าน 1 คน  ประชุม ปรึกษาหารือ เรื่องกิจกรรมต่อไป ในการเอาผักมาตรวจสารพิษ และมอบหมายให้คณะกรรมการของแต่ละกลุ่มนำผักมาตรวจสารพิษ และในกิจกรรตอ่ไป จะมีการตรวจสารพิษในเลือด ด้วย และจะมีการประกวดบา้นพอเพียงด้วย และจะมอบหมายให้แต่ละคนรับผิดชอบ ขอแต่ละกลุ่มบ้าน จะมีรางวัลปลอบใจ จากกรรมมการและ อ.บ.ต.ด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ใด้ทำความเข้าใจกับคณะกรรมการ และตัวแทนกลุ่มบ้าน มอบหมายหน้าที่แบ่งงานกันทำ ในกิจกรรมต่อไป

     

    20 20

    14. ตรวจสารเคมีในผัก

    วันที่ 28 ธันวาคม 2557 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีผู้ใหญ่บ้านซึ้งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการใด้ให้คณะกรรมการ คัดเลือบ้านที่ส่งเข้าประกวด ซึ้งใด้พิจรณา จากการลงพื้นที่ตรวจ ซึ้งผลปรากฎว่า กรรมการได้ให้ อันดับ 1 คือ บ้าน นาง อิ่ม นาคปน ลำดับที่ 2 คือ บ้าน นาง ศศิวรรน จันทร์สอน ลำดับที่ 3 คือ บ้านนาง เอิบ สมสังข์ ซึ้งทั้ง 3 หลังนี้ ใด้รับรางวัล จาก คณะกรรมการ เมื่อใด้แล้วหลังจากนั้นใด้ให้ นาง อิ่ม นาคปน เล่าถึงการปลูกผักสวนครัวทำอย่างไร นางอิ่มใด้บอกถึงวิธีการเตรียมดินเตรียมปุ๋ยคอก และเตรียมเม็ลดพันธุ์ผัก เป็นต้น คนที่ 2 นาง ศศิรวรรน จันทร์สอน ใด้บอกวิธีที่ทำให้การปลูกผักประสพความสำเร็จ คือต้องเอาใจใส่ดูแล สมำเสมอ ไ่มให้ขาดน้ำ และต้องพรวนดินใสปุ๋ยคอกอยู่บอ่ยๆ คนที่ 3 นาง เอิบ สมสังข์ ใด้เล่าถึงการปลูกผัก ต้องเตรียมดินเตรียมปุ๋ยและเพื่อต้องการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยช และใด้กินผักที่ปลูกเองไม่ตอ้งซื้อจากตลาดและปราษจากสารเคมี โดยไม้ต้องซื้อ จะใด้ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนไปอีกทางหนึ่ง หลังจากนั้น คุณหมอที่มาจาก ร.พ.ส.ต. บ้านหาร ใด้ตรวจสารเคมีในเลือด ให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม และใด้ตรวดสารเคมีในผักด้วย และ ต่อมาก็ใด้ร่วมกันทำอาหารกินกันเอง เมื่อเส็รจกิจกรรมก็ใด้ร่วมกัน แลกของขวัญเนื่องในวันปีให่มด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านใด้รับผลเรียนรู้เกี่ยวกับการปลูกผักและการเตรียมดินเทคนิคของการปลูกผักและประโยชที่ใด้รับสู่ครัวเรือน และใด้เชื่อมความสามคีภายในหมู่บ้านและช่วยรณรงค์ให้ชาวบ้านในหมู่บ้าน หันมาปลูกผักกินกันเอง ให้ใด้ ร้อยละเก้าสิบเปอเซ็นต์ และใด้ตรวจสารเคมีในเลือด และ ตรวจสารเคมีในผักดว้ย พรอ้มกันนี้ ได้สืบสาน วัฒนธรรม ประเพณีด้วย

     

    80 80

    15. ประชุมทีมคณะกรรมการ ครั้งที่ 7

    วันที่ 10 มกราคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 21 คน รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม มีคณะกรรมการ 10 คน ตัวแทนกลุ่มบ้าน 10 คน ผู้ใหญ่บ้าน 1 คน  ประชุม ปรึกษาหารือ เรื่องกิจกรรมต่อไป กิจกรรม ต่อไปคือ การขยายแก็สชีวมวลเพิ่มเติม โดยมอบหมายให้คณะกรรมการ หาผู้เข้ารว่มโครงการทำแกสชีวมวลเพื่มเติม อีก 4 บ้านและมอบหมายให้คณะกรรมการ ของบประมาณสนับสนุน จากกองทุนหมูบ้านซื้อเม็ลดพันธุ์ผักมาแจกชาวบ้านในวันที่ 23 มกราคม พ.ศ 2558 ด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ทำความเข้าใจกับคณะกรรมการ และตัวแทนกลุ่มบ้าน มอบหมายหน้าที่แบ่งงานกันทำ ในกิจกรรมต่อไป

     

    20 21

    16. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และขยายผลการทำแก็สชีวมวล

    วันที่ 23 มกราคม 2558 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้เข้ารวมรับผิดชอบโครงการ และคณะกรรมการกลุ่มใด้ร่วมกันแจกเม็ลดพันธุ์ผักให้กับผู้เข้าร้วมโครงการ และใด้ช่วยกันจัดทำแปลงผักสาธิต ไว้ในศาลาหมู่บ้าน เพื่อเป็นศูนย์เรีนรู้ให้กับชุมชน
    กิจกรรมที่ 2 นางศศิวรรณ จันทร์สอนใด้เป็นวิทยากร สอนบรรยายและสาธิตเรื่องการใช้แก็สชีวมวลและประโยชน์ของแก็สชีวมวลให้กับชาวบ้านและนักศึกษาของ ม.วลัยลักษณ์รับฟังเกี่ยวกับประโยชน์ประยัด ปลอดภัย และกิจกรรมในครั้งนี้ ใด้ขยายใด้ 2 บ้านคือบ้าน นาย ธีระชัย ช่วยชู และบ้าน นาง กิ้มเพลียง ชำนาน โดยทั้ง 2 บ้านนี้เป็นบ้านเพื่มเติมปี 2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลที่ใด้รับคือการเข้าใจการลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนคือ การปลูกผักกินเอง และปราษจากสารพิษ และลดการใช้จ่ายในครัวเรือน และ ลดค่าใช้จ่ายในเรื่องแก็สหุงต้ม และใด้ใช้ขยะให้เกิดประโยชน์ และลดสารพิษในแก็สหุงต้มในครัวเรือน และปลอดภัย

     

    80 80

    17. ติดตามผลผลตามกลุ่มบ้าน 10 กลุ่มบ้านครั้งที่ 2

    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เมื่อที่ประชุมพร้อมผู้รับผิดชอบโครงการของแต่ละกลุ่มบ้านเล่าถึงการเตรียมดินปลูกผักของแต่ละคนว่าทำอย่างไร เพราะเมื่อเดือนที่แล้ว คณะกรรมการได้แจกเมล็ดพันธุ์ผักให้กับผู้เข้าร่วมโครงการทุกคน เพื่อเอาไปปลูก และวิธีเอาขยะเหลือใช้มาเป็นกระถางมาปลูกผักสวนครัว และทางคณะกรรมการได้รวมกลุ่มตรวจพื้นที่ของแต่ละกลุ่มบ้าน เช่น 1.บ้านนางอิ่ม นาคปน ได้ลงแปลผักไว้แล้วและได้ใช้เศษขยะเหลือใช้มาเพาะพันธุ์ผัก 2.บ้านนางศศิวรรณ จันทร์สอน ได้เพาะเห็นางฟ้าปลอดสารพิษไว้กินเองและจำหน่าย 3.บ้านนางลำเอียง ภักดี ได้ปลูกถั่วฝักยาวพร้อมแปลงผัก เช่น แตงกวา บวบ พริก เป็นต้น 4.บ้านนางพวงทิพย์ บุญเกิด ซึ่งได้ปลูกผักไว้ป็นแปลงในบริเวณหน้าบ้าน 5.บ้านนางเบญจวรรณ เมฆยงค์ ได้ปลูกถั่วฝักยาวไว้เป็นร่องสวน 6.บ้านนาเจริ สุขประจันทร์ ได้ปลูกผักสวนครัวไว้บริเวณบ้านหลายอย่าง 7.บ้านนางวรรดี การะเกด ได้ปลูกผักสวนครัวไว้ในบริเวณบ้าน 8.บ้านนางเอิบ สมสังข์ ได้ปลูกผักสวนครัวไว้ในกระถางเศษขยะเหลือใช้หลายชนิดพันธุ์ผักและลงพริงบริเวณรอบบ้านด้วย 9.บ้านนางวราพร คุ้มเดช ได้ปลูกผักสวนครัวไว้ในกระถางหลาชนิดพันธุ์ผัก 10.บ้านนายวิจิตร ชำนาญ ทำแปลงปลูกผักกาดไว้ในบริเวณบ้านและได้ปลูกผักไว้ในกระถางบริเวณบ้านด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดความรู้ใหม่ๆ เรื่องการลดขยะ เพื่อลดใช้สารเคมีเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มบ้านและหมู่บ้านใกล้เคียงและได้เรียนรู้เรื่องการพึ่งตนเองให้เป็นฐานของการเพิ่มรายได้ลดรายจ่าย ลดสารเคมี ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่ดีเพื่อสุขภาพ

     

    80 80

    18. ประชุมทีมคณะกรรมการ ครั้งที่ 8

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 20 คน รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม มีคณะกรรมการ 10 คน ตัวแทนกลุ่มบ้าน 10 คน ผู้ใหญ่บ้าน 1 คน  ประชุม ปรึกษาหารือ เรื่องกิจกรรมต่อไป กิจกรรม ต่อไปคือ ทำเกี่ยวกับหลุม เก็บขยะมีพิษเพิ่มเติมเลยมอมหมาย หน้าที่ให้คณะกรรมการทั้ง 10 กลุ่มบา้นบอกสมาชิกในกลุ่มให้นำ ขยะมีพิษมาที่ ที่ศาลาหมู่บ้านเพื่อเก็บใว้ในหลุมขยะมีพิษให้มิดชิดเพื่อปอ้งกันอันตราย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ทำความเข้าใจกับคณะกรรมการ และตัวแทนกลุ่มบ้าน มอบหมายหน้าที่แบ่งงานกันทำ ในกิจกรรมต่อไป

     

    20 20

    19. ขยายผลการทำหลุมขยะจัดเก็บขยะมีพิษเพิ่มเติม

    วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีคณะกรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนกลุ่มบ้านและตัวแทนเจ้าของบ้านนำขยะมีพิษ มาจากบ้าน มาเก็บไว้ในที่จัดเก็บ ที่บริเวณ ศาลาหมู่บ้าน เส้จแล้วผู้รับผิดชอบโครงการ ใด้เปิดประชุม และ ใด้ให้ คุณหมอ ศุภกิจ กลับช่วย ซื่งเป็นวิทยากรในวันนี้ ใด้อธิบาย ถึงพิษภัยของขยะมีพิษให้ผู้เข้าร่วมโครงการ ใด้รู้ถึงพิษภัยและวิธีจัดเก็บ และ อันตรายที่มาจากขยะ เมื่อเส็จแล้ว ผู้รับผิดชอบโครงการใด้เชิญ วิทยากร คนที่ 2 คือ อาจารย์วิทยาโชติกะ อาจารย์ กศน ประจำตำบลไทยบุรีใด้ อธิบายเรื่อง เศฐกิจพอเพียงให้ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจ เรื่อง แนวทางเศฐกิจพอเพียง เมื่อจบแล้ว  ใด้ให้ผู้เข้าร่วมโครงการ เอาขยะ มีพิษ ไปเก็บไวในหลุ่มเก็บ ให้มิดชิด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านใด้ช่วยกันเก้บขยะมีพิษ ที่อยู่ที่บ้าน มาเก็บไว้ในที่ปรอดภัยและใด้เข้าใจถึง พิษภัยของขยะมีพิษและใด้ช่วยกันกำจัดขยะในบ้าน และใด้เรียนรู้ เรื่องหลักเศฐกิจพอเพียงอย่างเข้าใจ จากวิทยากรทั้ง 2 ท่าน

     

    80 80

    20. ประชุมทีมคณะกรรมการ ครั้งที่ 9

    วันที่ 10 มีนาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีคณะกรรมการ 10คน ตัวแทนกลุ่มบ้าน 10 คนผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน ปรึกศาหารือคัดเลอืกบ้านตัวอย่าง 3 หลังมาเป็นตัวแทน เพือให้เยาวชน เลือกบ้านที่ทำดีมาเป็นฐานเรียนรู้ฝึกวิชาเยาวชนให้ สามารกถ่ายทอดภูมิปัญญาบ้านพอเพียงหลีกเลียงสารเคมีใด้เชิญนักเรียนครู วัดโคกเหล็กมาเรียนรู้ที่บ้านตวอย่างและให้เด็กบันทึกผลการเรียนรู้ส่งกรรมการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ทำความเข้าใจกับคณะกรรมการ และตัวแทนกลุ่มบ้าน มอบหมายหน้าที่แบ่งงานกันทำ ในกิจกรรมต่อไปคณะกรรมการตัวแทนกลุ่มบ้าน และตัวแทนเจ้าของบ้านตามกลุ่มบ้านเพิ่มเติม

     

    20 20

    21. เลือกที่ ทำดีมาเป็นฐานเรียนรู้

    วันที่ 23 มีนาคม 2558 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ใด้เลือกบ้านที่ทำดีมาเป็นฐานเรียนรู้ จำ นวน 3 บ้านคือ 1 บ้าน นาง ศศิวรรณ จันทร์สอน  2 บ้านนาง อิ๋ม นาคปน 3 บ้านนาย หนูน้อย เจ้ยน้อย โดยมีเจ้าของบ้านแต่ะหลังมาเป็นวิทยากรให้ด้วยและ มีท่าน ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดโคกเหล็ก ร่วมบรรนยายเรื่องเศฐกิจพอเพียงปรัชญา ของ พระ บาทสมเด็จพระเจ้าอยูหัวให้ผู้เข้าร่วมโครงการและนักเรีน  โรงเรียน วัดโคกเหล็กรับฟังและ นาง ศศิวรรณ จันทร์สอน เจ้าของบ้านตัวอย่างมาสอนวิธีการปลูกผักปรอดสารพิษและการเพาะเห็ดฟางเห็ดหูหนูและใด้ร่วมกับอาจารย์ ลงดูงานการปฏิบัติ ทั้ง 3 บ้าน โดยมีท่าน ผอ. ร.ร. วัดโคกเหล็กและอาจารย์ ร.ร. วัดโคกเหล็กพร้อมนักเรียนร่วมด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ใด้เกิดฐานเรียนรู้้ให้กับเด็กและเยาวชนสืบทอดภูมิปัญญาและกล้า แสดงออกใน ร.ร. เพื่อถ่ายทอดให้เพื่อนๆ และใด้ รณรงค์ให้ชาวบ้านใด้ร่วมกันปลูกผักปรอดสารพิษเพื่อสุขภาพของตนเอง และลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน

     

    80 80

    22. ประชุมทีมคณะกรรมการ ครั้งที่ 10

    วันที่ 10 เมษายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมทีมคณะกรรมการก่อนทำกิจกรรมในวันที่ 23 เมษายนเพื่อมอบหมายหน้าที่ให้คณะกรรมการจำนวล 20 คน ให้นำบุตรหลานมาอบรมเรียนรู้ และ ร่วมกันลง แขกตามกลุ่มบ้านเพื่อให้เด็กและเยาวชน ช่วยขยายผลสืบทอดภูมิปัญญานี้ และ ให้คณะกรรมการ นำเยาวชนจากกลุ่มบ้านมาอบรมเพิ่อมเติมเพราะช่วงนี้ โรงเรียนปิดเทอม ให้ใด้อย่างน้อย 30 คนมาอบรม จำนวล 5 ครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ทำความเข้าใจกับคณะกรรมการ และตัวแทนกลุ่มบ้าน มอบหมายหน้าที่แบ่งงานกันทำ ในกิจกรรมต่อไปคณะกรรมการตัวแทนกลุ่มบ้าน และตัวแทนเจ้าของบ้านตามกลุ่มบ้านเพิ่มเติม

     

    20 20

    23. เวทีเรียนรู้ตามกลุ่มบ้าน

    วันที่ 23 เมษายน 2558 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 23 ใด้อบรมลงพื้นที่ บ้านนาง ศศิวรรณ จันทร์สอน ใด้ดูงานเรื่องผักปรอด สารพิษ และการ เพราะ เห็ดฟางเห็ดหูหนูและให้เด็กจนบันทึก และให้ออกมาบรรยาย ที่ละคน
    วันที่ 24 ใด้ลงพื้นที่ บ้านนาง เบญจวรรณ เมฆยงค์ ใด้ให้เด็กลงพื้นที่ร่วมกันลงแขก ปลูกถัวนแปลงที่ ทำไว้ พร้อมให้อธิบายเรื่องขั้นตอนวิธีทำ
    วันที่ 25 ใด้ลงพื้นที่บ้านนาง ศิรีนันท์ ไชยัง ใด้อบรมเรื่องแปลงปลูกผักปรอดสารพิษพร้อมกับอธิบายขั้นตอนการปลูกการใสปุ๋ยธรรมชาติ และการทำน้ำยาไล่แมลง วันที่ 26 ใด้ลงพื้นที่บ้าน นาย สรายุท สั่งสอน ใด้ดูแปรงสาทิต การปลูกถั่วฝักยาว พร้อม กับอบ รมและอธิบายเรื่องการเพราะปลูกและการใสปุ๋ยธรรมชาติ วันที่ 27 ใด้ลงพื้นที่บ้าน นาง หนูวร พูนใหญ่  ใด้ดูงานและอบรมเรื่องผักในกระถางโดย การใช้วัสดุที่เหลือใช้ มาเป็น กระถางในการปลูกผักสวนครัว วันที่ 28 ใด้ลงพื้นที่บ้านนาง หนูวร การะนัด ใด้เีรียนรู้เรื่องการปลูกผักในกระถางโดยใช้ ปล้องบ่อซีเมนต์เป็นวัสดุในการปลูกผักสวนครัวโดยใช้ปุ๋ยธรรมชาติ พร้อมให้เด็กอธิบายวิธีทำและขั้นตอน การเพราะปลูก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เด็กและเยาวชนใด้เรียนรู้ และสามารถสืบทอดภูมิปัญญาใด้และกล้าเสดงออกใน โรงเรียนเพื่อถ่ายทอดให้ครูและเพื่อนๆรู้ และใด้อธิบาย ให้ผู้ปกครองใด้รู้เรื่องวิธีการปลูกผักปรอดสารพิษและวิธีการช่วยเหลือกันโดยการลงแขก และใด้ความสามัคคี ในกลุ่มบ้าน และใด้ให้เด็กเรียนรู้ในเรื่องวิธีการปลูกผักในชนิดต่างๆ และ การเลี้ยงสัตว์พร้อมกันไปด้วยเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน

     

    130 150

    24. ติดตามกลุ่มบ้าน

    วันที่ 5 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เมื่อที่ประชุมพร้อมผู้รับผิดชอบโครงการของแต่ละกลุ่มบ้านเล่าถึงการเตรียมดินปลูกผักของแต่ละคนว่าทำอย่างไร และเมือประชุมเสร็จใด้ลงพื้นที่ บ้านนางศศรีวรรณ จันทร์สอน ดูแปรงผักและการเลียงไข่ใก่ และการเพราะเห็ดฟาง บ้าน หลังที่ 2 บ้านนางเบ็ญจวรรณ เมฆยงฆ์ ไม่ตรวจเรื่องการปลูกถัวฝักยาว แล้วปลูก ฟัก หลังที่ 3 บ้าน นาย หนูน้อย เจ้ยน้อย ไปดูแผลงฝักปรอดสารพิษ โดยปลูกผักใว้ในกระถาง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดความรู้ใหม่ๆ เรื่องการลดขยะ เพื่อลดใช้สารเคมีเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของแต่ละกลุ่มบ้านและหมู่บ้านใกล้เคียงและได้เรียนรู้เรื่องการพึ่งตนเองให้เป็นฐานของการเพิ่มรายได้ลดรายจ่าย ลดสารเคมี ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่ดีเพื่อสุขภาพ

     

    80 60

    25. ถอดบทเรียนการดำเนินการ

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จำนวนคน/ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจริง 20 คน รายละเอียดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม มีคณะกรรมการ 10 คน ตัวแทนกลุ่มบ้าน 10 คน ผู้ใหญ่บ้าน 1 คน เเละตัวแทนกลุ่มบ้านร่วม 40 คน ประชุม ปรึกษาหารือ เพื่อถอดบทเรียนสรุปผลดีผลเสียและเรื่องความภูมิใจ ปัญหาอุปสัก และความสำเร็จในโครงการส่ง สสส. ให้ถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เกิดขบวนการเรียนรู้จากการถอดบทเรียนใด้ให้คณะกรรมการเข้าใจถึงผลดีที่เกิดขึ้นตามโครงการที่วางไว้ และใด้ประสพความสำเร็จพอสมควร ข้อสรุปได้ว่า ชาวบ้านพูดเรื่องผลดีและผลเสียที่ททำมาทั้งปี ผลดี คือ ชาวบ้านได้ปลูกผักกินเอง ได้เรียนรู้ ได้ความสามัคคี ได้ช่วยเหลือกัน ได้ลดการใช้สารเคมี ลูกหลานได้ดูเป็นแบบอย่าง และบางบ้านเด็กได้เรียนรู้ช่วยงานได้ รู้จักวิธีการทำปุ๋ย ทำแก็สชีวมวล ทำแปลงผักข้างบ้าน ส่วนผลเสียไม่มี เพราะชาวบ้านร่วมใจทำ ให้ความร่วมมือ สาารถไปต่อยดได้หลายบ้าน เช่น บ้านพี่น้อย ได้เพิ่มการปลูกเองมากขึ้น ทำเต็มน้าบ้าน บ้านน้าแป้น บ้านพี่อู่ บ้านพี่น้อย จากเดิมก็สามารถนำไปทำต่อที่า้ได้ไม่ได้ทำ ในโครงการได้เรียนรู้แล้วทำได้มาก มาศึกษาดูงานได้ที่บ้านน้าแป้น มีครบทุกอย่าง เห็ด ไก่ ผักในครัว และอย่างอื่นครบ ทำเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนได้ เด็กลงพื้นที่พาเด็กไปเรียนได้ ได้พาพ่อแม่พ้อมเด็กในช่วงปิดเทอมไปร่วกันปลูกถั่ว มาช่วยทำแล้วก็นำไปทำต่อที่บ้านได้

     

    60 60

    26. สรุปโครงการ

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    มีผู้เข้าร่วมโครงการ และคณะกรรมการ พร้อมพี่เลี้ยง ช่วยกันสรุปโครงการ และจัดทำเอกสารแต่ยังไม่สมบูรณ์เลยขอทำวันที่ 24 พ.ค.อีก 1 วันเพือให้เส็จสมบูรณ์และในวันนี้ นาง เบญจวรรณ เมฆ ยงค์ 1 ในคณะกรรมการ ใด้ เสนอ จัดซือเม็ลด พันธุ์ผักอีก 1 รอบ 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ใด้เอกสาร สรุปการดำเนินงาน

     

    40 41

    27. สรุปโครงการเพิ่มเติม

    วันที่ 24 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ใด้สรุปโครงการจัดเอกสารประกอบเพิ่มเติม โดยให้เยาวชนร่วมกันสรุปการดูงานของแต่ละกลุ่ม กลุ่มที่ 1  บ้านนางเบ็ญจวรรณ เมฆยงค์ใด้ดูวิธีเรียนรู้เรืองการปลูกถั่วผักยาว กลุ่มที่ 2 บ้านนางศศิวรรรณ จันทร์สอน ใด้เรียนรู้เรื่องการเพราะเห็นฟาง กลุ่มที่ 3 บ้านนางอิ่ม นาคปน ใด้อบรมเรียนรู้เรื่องการปลูกพริกและวิธีการเตรียมดินเพาะ ปลูก กลุ่มที่ 4 ใด้การเรรียนรู้เรื่องการปลูกผักในกระถางกลุ่มนี้ใด้ลงพื้นที่บ้าน นาง ฉลาด เจ้ยน้อยกลุ่มที่ 5 ใด้ลงพื้นที่บ้านนางอารมณ์ รัฒนานุพงค์ กลุ่มนี้ใด้ศึกษาเรื่องการปลูกมะนาวในปล่องบ่อซีเมนต์ กล่มที่ 6 ใด้ลงพื้นที่ บ้านนาย สมทัศน์ สมสังข์ใด้เรียนรู้เรื่องการปลูกผักส่วนครัวเรื่องการเพาะปลูกกลุ่มที่ 7 บ้านนาย วิจิต ชำนาน ใด้เรียนรู้เรื่องการปลูกผักสวนครัวแบบ ผสมผสาน  คือปลูกหลายๆอย่างนแปลงเดียวกัน กลุ่มที่ 8 ใด้เรียนรู้เรื่องการคัดแยกขยะ มีพิษ และรีไซเคิ่ลร์ กลุ่มนี้ลงบ้านนางวรรดี การะเกตุ กลุ่มที่ 9 บ้านนาง หนูจิน เพ็ญพงค์ ใด้ให้เยาวชนเรียนรู้เรื่องการเพราะปลูกผักสวนครัวหลายๆอย่างร่วมกัน กลุ่มที่ 10 บ้านนาย สมพงค์ เชาวลิต กลุ่มนี้เรียนรู้เรื่อง การปลูกชะอม ไว้บนคันนา โดยปลาษจากสารพิษ ตกค้าง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เยาวชนตามกลุ่มบ้าน ใด้เรียนรู้ เรื่องการปลูกผัก แบบ พอเพียง และไปเล่าให้คนที่บ้านฟัง เพือสืบสาร การปลูกผักปลอดสารเคมีและการคัดแยกขยะและใด้เรียนรู้ เรื่องการใส่ปุ๋ยตามธรรรมชาติ

     

    125 125

    28. บรรยายสรุปโครงการ

    วันที่ 30 พฤษภาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมเสวนาพูดคุย เเสดงความคิดเห็น ถึงผลดีผลเสีย ที่เกิดขึ้นกับโครงการ ผลดีคือ
    1 กลุ่มเป้าหมายใด้ทำกิจกรรมร่วมกันเกียวกับผักปรอดสารพิษ 2 ใด้รูถึงพิษภัยของสารเคมี
    3 เกิดศุูญเรียนรู้บ้านตัวอย่างพอเพียง  เพพืออให้คนในหมู่บ้าน และนักเรียนใด้ไปศึกษาดูงาน 4 ใด้เกิดบ้านต้นแบบ พอเพียงหลีกเลียงสารเคมี
    5 ใด้เรียนรู้เรื่องการคัดแยกขยะ มีพิษและรีไซเคิลคัดแยกออกจากกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านตามกลุ่มบบ้านใด้รวมกลุ่มกันปลูกผักปรอดสารพิษ และ เด็กเยาวชนใด้เกิดการเรียนรู้ ตามบ้นต้นแบบ เศฐกิจพอเพียง

     

    85 85

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมเรื่องการจัดการขยะให้เป็นสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ โดยใช้กติกา "บ้านพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี"
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการปฏิบัติตามกติกากลุ่ม 7 ข้อ ร้อยละ 80 2. ผลการตรวจสารเคมีในเลือดของกลุ่มเป้าหมายลดลง ร้อยละ 60 3. เกิดฐานเรียนรู้ "บ้านพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี" 10 บ้าน เชิงคุณภาพ มีการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างเป็นระบบ จากการติดตามของคณะกรรมการกลุ่มบ้าน ในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ "บ้านพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี" ฐานเรียนรู้มีความพร้อมให้เพื่อบ้านใกล้เคียงและหมู่บ้านใกล้เคียงมาเรียนรู้ได้
    1. ผู้เข้าร่วมโครงการปฏิบัติตามกติกากลุ่ม 7 ข้อ ร้อยละ 80
    2. ผลการตรวจสารเคมีในเลือดของกลุ่มเป้าหมายลดลง ร้อยละ 60
    3. เกิดฐานเรียนรู้ "บ้านพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี" 10 บ้าน

    ชุมชนได้มีการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างเป็นระบบเกิดบ้านพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี จำนวน 10 บ้าน บ้านนางศศิวรรณ จันทร์สอน เป็นฐานเรียนรู้ได้

    2 เพื่อพัฒนาฐานเรียนรู้ "บ้านพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี" ให้เป็นฐานของการเพิ่มรายได้ลดรายจ่าย ลดสารเคมี ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่ดีเพื่อสุขภาพให้กับเด็กและเยาวชนสืบทอดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ 1. มีเด็กและเยาวชนร่วมเป็นวิทยากรในฐานเรียนรู้ "บ้านพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี" ของกลุ่มบ้าน 10 บ้าน 2. เด็กและเยาวชนเป็นวิทยากรร่วมในการจัดกิจกรรมเรียนรู้ตามกลุ่มบ้าน ใช้เป็นกลไกกระตุ้นการทำงานของคณะทำงานและกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 5 คน เชิงคุณภาพ พัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ และเป็นทีมดำเนินการ ได้ฝึกปฏิบัติการจัดการขยะที่ดีในครัวเรือน สามารถสืบทอดวิธีการปรับเปลี่ยนคนและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพจากกติกาของ "บ้านพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี"
    1. มีเด็กและเยาวชนร่วมเป็นวิทยากรในฐานเรียนรู้ "บ้านพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี" ของกลุ่มบ้าน 10 บ้าน
    2. เด็กและเยาวชนเป็นวิทยากรร่วมในการจัดกิจกรรมเรียนรู้ตามกลุ่มบ้าน ใช้เป็นกลไกกระตุ้นการทำงานของคณะทำงานและกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 5 คน

    เด็กและเยาวชนเป็นทีมดำเนินการ เด็กและผู้ใหญ่ในชุมชนได้ฝึกปฏิบัติการจัดการขยะที่ดีในครัวเรือน เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนให้ร่วมกันพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพมากขึ้น ดังนี้ 1) ใช้ทรัพยากรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ โดยปราชญ์ชุมชน และครู กศน. เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้เรื่องการทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ การทำน้ำยาไล่แมลง การเพาะปลูก การเตรียมดิน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเกษตร โดยที่ ทุกคนได้นำมูลวัว และเศษวัสดุที่มาสามรถทำเป็นวัตถุดิบในการทำปุ๋ยมาจากบ้าน มาฝึกปฏิบัติพร้อมกันที่ศาลาหมู่บ้าน 2) ขณะดำเนินการได้มีวิธีที่ดี ต่อยอดความคิดเดิมเพิ่มความคิดใหม่ ร่วมกันปรับเปลี่ยนพื้นที่ว่างข้างศาลาเป็นแปลงสาธิตของหมู่บ้าน เป็นแปลงเพราะชำและเป็นศูนย์เรียนรู้ให้กับชุมชน 3) นำกิจกรรมในโครงการเข้าแผนตำบล เรื่องของการพัฒนาหมูบ้านตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4) ผลการตรวจสารเคมีในเลือด พบว่า มีความเสี่ยงลดลง ร้อยละ 605) เกิดบ้านตัวอย่างการทำแก็สชีวมวล 4 ครัวเรือน 6) มีหลุมเก็บขยะอันตราย จำนวน 2 หลุม 7) เกิดกลไกการติดตามผลและกระตุ้นการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องจากคณะกรรมการและปราชญ์ในชุมชน 8)ได้รับการสนับสนุนวัสดุและอุปกรณ์เพื่อส่งเสริมการทำเกษตรลดสารเคมีเพิ่มจาก อบต. และ กศน. เป็นต้น

    3 เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ
    ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งในการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สสส. หรือ สจรส.

    ไม่ได้เข้าร่วมการประชุมกับสสส. หรือสจรส.ม.อ. ในการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อปิดงวดโครงการเพียงครั้งเดียวส่วนครั้งอื่น ๆ ได้เข้าร่วมกิจกรรมครบทุกครั้ง

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมเรื่องการจัดการขยะให้เป็นสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ โดยใช้กติกา "บ้านพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี" (2) เพื่อพัฒนาฐานเรียนรู้ "บ้านพอเพียงหลีกเลี่ยงสารเคมี" ให้เป็นฐานของการเพิ่มรายได้ลดรายจ่าย ลดสารเคมี ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่ดีเพื่อสุขภาพให้กับเด็กและเยาวชนสืบทอดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อบริหารจัดการและติดตามผลการดำเนินงานโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ บ้านโคกเหล็กพอเพียงหลีกเลียงสารเคมี (ต่อยอด )

    รหัสโครงการ 57-01532 รหัสสัญญา 57-00-1024 ระยะเวลาโครงการ 10 มิถุนายน 2557 - 10 กรกฎาคม 2558

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    การทำแก็สชีวมวลจากมูลสัตว์

    บ้านนางศศิวรรณ จันทร์สอน

    ขยายผลความรู้ให้เพื่อนบ้านได้จัดทำแก็สชีวมวลมากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    ขณะดำเนินการได้มีวิธีที่ดี ต่อยอดความคิดเดิมเพิ่มความคิดใหม่ ร่วมกันปรับเปลี่ยนพื้นที่ว่างข้างศาลาเป็นแปลงสาธิตของหมู่บ้าน เป็นแปลงเพราะชำและเป็นศูนย์เรียนรู้ให้กับชุมชน

    ศูนย์เรียนรู้ชุมชน

    ให้เด็กนักเรียนโรงเรียนวัดโคกเหล็กได้เข้ามามีส่วนร่วม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    บ้านพอเพียง 10 บ้าน

    บ้านพอเพียง 10 บ้าน ในเอกสารสรุปผลโครงการ

    ขยายผลบ้านเพิ่มเติมให้ครอบคลุมทั้งหมู่บ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    บ้านพอเพียง และศูนย์เรียนรู้หมู่บ้าน

    เอกสารสรุปโครงการ

    ให้เด็กนักเรียนและชุมชนเข้ามาเรียนรู้และมีส่วนร่วมพัฒนาต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    บริโภคพืชผักปลอดสารพิษที่ผลิตขึ้นเอง

    บ้านพอเพียง

    พัฒนาพื้นที่ปลูกผักเพิ่มเติม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    ใช้ทรัพยากรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ โดยปราชญ์ชุมชน และครู กศน. เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้เรื่องการทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ การทำน้ำยาไล่แมลง การเพาะปลูก การเตรียมดิน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเกษตร โดยที่ ทุกคนได้นำมูลวัว และเศษวัสดุที่มาสามรถทำเป็นวัตถุดิบในการทำปุ๋ยมาจากบ้าน มาฝึกปฏิบัติพร้อมกันที่ศาลาหมู่บ้าน

    เอกสารสรุปโครงการ

    พัฒนาศาลาหมู่บ้านเป็นแหล่งเรียนรู้

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    ใช้ทรัพยากรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ โดยปราชญ์ชุมชน และครู กศน. เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้เรื่องการทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ การทำน้ำยาไล่แมลง การเพาะปลูก การเตรียมดิน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเกษตร โดยที่ ทุกคนได้นำมูลวัว และเศษวัสดุที่มาสามรถทำเป็นวัตถุดิบในการทำปุ๋ยมาจากบ้าน มาฝึกปฏิบัติพร้อมกันที่ศาลาหมู่บ้าน

    เอกสารสรุปโครงการ

    พัฒนาพื้นที่ว่างเปล่ามาทำเกษตรอินทรีย์เพิ่มเติม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    ใช้การประชุมประจำเดือนเป็นการติดตามการดำเนนิงาน และติดตามการปฏิบัติตามกติกากลุ่ม เพื่อลดการใช้สารเคมีในการทำเกษตรและการใช้ในชีวิตประจำวัน

    บันทึกประชุมประจำเดือน

    นำข้อมูลจากการติดตามประจำเดือนมาพัฒนาต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    นำกิจกรรมในโครงการเข้าแผนตำบล เรื่องของการพัฒนาหมูบ้านตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

    แผนชุมชนปี 2558

    ดำเนินงานตามแผนชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    ใช้ทรัพยากรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ โดยปราชญ์ชุมชน และครู กศน. เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้เรื่องการทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ การทำน้ำยาไล่แมลง การเพาะปลูก การเตรียมดิน เพื่อลดการใช้สารเคมีในการเกษตร โดยที่ ทุกคนได้นำมูลวัว และเศษวัสดุที่มาสามรถทำเป็นวัตถุดิบในการทำปุ๋ยมาจากบ้าน มาฝึกปฏิบัติพร้อมกันที่ศาลาหมู่บ้าน

    บันทึกการดำเนนิงาน

    ค้นหสทุนเพิ่มและชวนมาร่วมดำเนินการต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    บ้านนางศศิวรรณ จันทร์สอน เป็นฐานเรียนรู้ได้ เด็กและเยาวชนเป็นทีมดำเนินการ เด็กและผู้ใหญ่ในชุมชนได้ฝึกปฏิบัติการจัดการขยะที่ดีในครัวเรือน เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนให้ร่วมกันพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพมากขึ้น

    บ้านนางศศิวรรณ จันทร์สอน

    ขยายผลให้เพื่อนบ้านได้ทำไปพร้อมกันเพิ่มเติมและพัฒนาร่วมกันอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    ทุกคนได้นำมูลวัว และเศษวัสดุที่มาสามรถทำเป็นวัตถุดิบในการทำปุ๋ยมาจากบ้าน มาฝึกปฏิบัติพร้อมกันที่ศาลาหมู่บ้าน และร่วมกันดำเนินการทุกกิจกรรม ติดตามเยี่ยมตามบา้นกันอย่างใกล้ชิด

    เอกสารรายงานการประชุมประจำเดือน และรายงานโครงการ

    คงไว้ซึ่งกิจกรรมการช่วยเหลือกันเองในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    บ้านโคกเหล็กพอเพียงหลีกเลียงสารเคมี (ต่อยอด ) จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ 57-01532

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นาย ธีระชัย ช่วยชู )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด