directions_run

ชุมชนฝาละมีเข้มแข้งครอบครัวอบอุ่นด้วยวิถีพอเพียง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ชุมชนฝาละมีเข้มแข้งครอบครัวอบอุ่นด้วยวิถีพอเพียง ”

บ้านฝาละมี หมู่ที่ 1 ต.ฝาละมี อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นส. นิยม ณ พัทลุง

ชื่อโครงการ ชุมชนฝาละมีเข้มแข้งครอบครัวอบอุ่นด้วยวิถีพอเพียง

ที่อยู่ บ้านฝาละมี หมู่ที่ 1 ต.ฝาละมี อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 58-03979 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2240

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2558 ถึง 15 ตุลาคม 2559


กิตติกรรมประกาศ

"ชุมชนฝาละมีเข้มแข้งครอบครัวอบอุ่นด้วยวิถีพอเพียง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านฝาละมี หมู่ที่ 1 ต.ฝาละมี อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชุมชนฝาละมีเข้มแข้งครอบครัวอบอุ่นด้วยวิถีพอเพียง



บทคัดย่อ

โครงการ " ชุมชนฝาละมีเข้มแข้งครอบครัวอบอุ่นด้วยวิถีพอเพียง " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านฝาละมี หมู่ที่ 1 ต.ฝาละมี อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง รหัสโครงการ 58-03979 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 178,700.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 400 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ด้วยวิถีเกษตรพอเพียง
  2. เพื่อให้ประชาชนและกลุ่มอาชีพได้รับการพัฒนาตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถลดรายจ่ายภายในครัวเรือน
  3. เพื่อสนับสนุนปฏิบัติการสร้างเกษตรตามเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน
  4. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้นำ เกิดสภาผู้นำที่เข้มแข็งในชุมชน
  5. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. เข้าร่วมประชุมปฐมนิเทศโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภายใต้ ปี 2558

    วันที่ 29 กันยายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมประชุมปฐมนิเทศโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภายใต้ ปี 2558

    • การบันทึกข้อมูลตามแผนการดำเนินงาน
    • การจัดทำรายงานทางการเงิน
    • การรายงานผลการดำเนินงาน
    • ความก้าวหน้าการจัดทำแผนโครงการ สสส.
    • การจัดทำปฏิทินการทำงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดวามรู้ความเข้าใจเรื่องการบริหารจัดการโครงการ สามารถวางแผนกำหนดปฏิทินโครงการได้ มีความรู้ในเรื่องการใช้เวบไซต์คนใต้สร้างสุข กรอกข้อมูลรายละเอียดโครงการได้เสร็จ และเข้าใจเรื่องการจัดการเอกสารการเงิน รวมทั้งการรายงานกิจกรรมทุกครั้งที่มีการทำกิจกรรม

     

    2 3

    2. ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่

    วันที่ 5 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • การจัดทำป้าย เขตปลอดบุหรี นำไปติดตั้ง และประชาสัมพันธ์ สถานที่เขตปลอดบุหรี่และแอลกอฮอล์ในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีป้ายสถานทีปลอดบุหรี่ จำนวน2ป้าย ติดไว้ที่ศาลาประชาคมของหมู่บ้าน ประชาชนทั่วไปได้รู้และรับทราบสถานที่เขตปลอดบุหรี่และแอลกอฮอล์

     

    5 2

    3. จัดประชุมเปิดตัวโครงการ

    วันที่ 5 ตุลาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เวทีชี้แจงและสร้างความเข้าใจโครงการแก่คณะกรรมการ และประชาชนในชุมชน นำเสนอที่มาของการทำโครงการ ชี้แจงวัตถุประสงค์และกิจกรรมในโครงการ โดยผู้รับผิดชอบโครงการ
    2. ร่วมชี้แจงและสร้างความใจ โครงการจากพี่เลี้ยงโครงการ คุณประเทือง อมรวิริยะชัย
    3. กำหนดขั้นตอน แนวทาง การดำเนินโครงการ ต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีคณะกรรมการ และประชาชนในชุมชนเข้าร่วมเวที ประชุมชี้แจงและสร้างความเข้าใจโครงการจำนวน92คน
    2. ชาวบ้านในพื้นที่รับทราบว่ามีการทำโครงการส่งเสริมสุขภาพที่ได้รับทุนจาก สสส.ต่างให้ความสนใจและยินดีให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
    3. มีการจัดตั้งคณะกรรมการสภาผู้นำจำนวน 25 คน

     

    80 80

    4. ประชุมสภาผู้นำชุมชนครั้งที่ 1

    วันที่ 26 ตุลาคม 2558 เวลา 13:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ชี้แจงรายละเอียดโครงการ โดยผู้รับผิดชอบโครงการในเรื่อง
    • กิจกรรมโครงการ
    • งบประมาณ
    • กลุ่มเป้าหมาย
    • วัตถุประสงค์
    • การประเมินผลโครงการ

    2.กิจกรรม ที่จะดำเนินการ ต่อไปตามแผนปฏิบัติการ

    3.การสมัครครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานตามโครงการ มีผู้สนใจที่จะเข้าร่วมโครงการแต่ยังไม่สามารถระบุจำนวนได้
    • จากการจัดตั้งทีมสภาผู้นำทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมตามโครงการ แต่ยังไม่มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ ในวันนี้ทีมสภาผู้นำได้รับรู้กระบวนการทำโครงการ และจะนัดประชุมทุกเดือนเพื่อรายงานผลการทำกิจกรรม

     

    30 26

    5. ถอนเงินค่าเปิดบัญชี

    วันที่ 27 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอนเงินค่าเปิดบัญชีจำนวน 500 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เข้าใจระบบการทำบัญชี และการเขียนเอกสารการเงินในเรื่องการขอคืนเงินเปิดบัญชี ว่า ต้องทำเป็นกิจกรรมในรายงานโครงการ และจะทำให้ยอดเงินรายรับถูกต้อง

     

    2 2

    6. ประชุมสภาผู้นำชุมชนครั้งที่ 2

    วันที่ 12 พฤศจิกายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมชี้แจงกิจกรรมต่างๆ  ในโครงการ
    • ชี้แจงปฏิทิน โครงการ
    • กิจกรรม ที่จะดำเนินการต่อไป
    • การรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ และเงื่อนไข ข้อตกลงผู้เข้าร่วมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน  63  คน
    ผู้เข้าร่วมประชุม มีความรู้ เข้าใจ การเข้าร่วมโครงการ
    มีผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ  จำนวน  84  คน มีการหารือ  วันเวลา สถานที่ จะจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับชุมชนต้นแบบ

     

    30 63

    7. อบรมการเขียนรายงานและการจัดการเอกสารทางการเงิน

    วันที่ 22 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • แจ้งกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุม ตรวจสอบการบันทึกกิจกรรม การจัดทำรายงานต่างๆ นัดหมาย การไปร่วมปประชุม เข้าร่วมประชุมในวันที่ 22 พฤศจิกายน 2558 ณ วิทยาลัยภูมิปัญญา มหาวิทยาลัยทักษิณ
    • อ.ไพฑูรย์ ทองสม ให้ความรู้เรื่องการเขียนรายงานและการจัดทำเอกสารการเงินโครงการ
    • ทีม สจรส.ม.อ.ให้ความรู้และชี้แจงเรื่องการหักภาษี ณ ที่จ่าย
    • ทีม สจรส.ม.อ.ตรวจสอบเอกสารการเงินที่ทำมาในช่วงเดือนตุลาคม 2558

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน  3  คน  ผู้เข้าร่วมประชุม มีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดทำรายงานต่างๆ  เช่น การบันทึกกิจกรรม การจัดทำรายงานทางการเงิน การนำส่งหักภาษี ณ ที่จ่าย  การปรับปรุงแผนปฏิบัติการ และสอบถามปัญหาต่างๆ  การดำเนินงานตามโครงการ

     

    2 3

    8. การออกการสำรวจข้อมูลชุมชน /หนี้สินครัวเรือน

    วันที่ 4 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. รับสมัครแกนนำ สำรวจข้อมูลชุมชน /หนี้สินครัวเรือน
    2. ประชุม ระดมความร่วมมือ ในการออกแบบการสำรวจข้อมูลครอบครัวภาวะหนี้สินของครัวเรือน
    3. ประชุมชี้แจงขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูล ครัวเรือนโดยใช้แบบการจัดเก็บข้อมูล
    4. มอบหมาย หน้าที่ เป้าหมาย ให้ผู้จัดเก็บข้อมูลครัวเรือน
    5. ซักถาม เสนอแนะ แนวทางดำเดินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. อสม. คณะกรรมการหมู่บ้านจำนวน45คนได้เข้าร่วมประชุม ระดมความคิดเห็นในการออกแบบการสำรวจข้อมูลครัวเรือน และหนี้สินครัวเรือน
    2. ได้แบบสำรวจข้อมูลครัวเรือน และหนี้สินครัวเรือน จำนวน 1 ชุด

    ผลลัพท์

    1. ผู้เข้าร่วมมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดทำแบบสำรวจข้อมูลครัวเรือน และหนี้สินครัวเรือน

     

    30 45

    9. ศึกษาดูงานชุมชนต้นแบบ

    วันที่ 17 ธันวาคม 2558 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ติดต่อประสานงานแหล่ง สถานที่ศึกษาดูงาน และ วัตถุประสงค์การศึกษาดูงาน
    2. แจ้งผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้สนใจ สมัครไปศึกษาดูงาน
    3. ติดต่อประงานกับผู้เกี่ยวข้องในเรื่ีอง พาหนะเดินทางอาหารค่าใช้จ่ายต่างๆ
    4. จัดกิจกรรมศึกษาดูงาน ณ ศูนย์ปราชญ์หมู่บ้านโงกน้ำ ต.นาขยาด อ.ควนขนุน จ.พัทลุง และบ้านครอบครัวตัวอย่าง จำนวน 3 ที่
    5. จัดกิจกรรมศึกษาดูงาน ณ บ้านนางผ่องศรี สุขรุ่ง เกษตรกรดีเด่น ณ บ้านใสหลวงอ.ควนขนุน จ.พัทลุง
    6. สรุปบทเรียน และสิ่งที่ได้จากการศึกษาดูงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. มีตัวแทนครอบครัว คณะกรรมการสภาชุมชนผู้รับผิดชอบโครงการ และตัวแทนครู นักเรียน เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน
    2. ได้มีการศึกษาดูงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับครอบครัว และชุมชน ต้นแบบ จำนวน 2 ชุมชน 3 ครอบครัว

    ผลลัพท์

    1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ ความเข้าใจ ในแนวทางการดำเนินเศรษฐกิจพอเพียง
    2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับครอบครัว และชุมชน ต้นแบบ
    3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้แนวคิด แนวทาง ในการดำเนินงานพัฒนาครอบครัว และชุมชน เพื่อเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย
    4. ได้ร่วมกันกำหนดกิจกรรม ที่จะดำเนินการต่อไปในชุมชน โรงเรียน
    5. ชุมชน ได้เครือข่าย ในการขอรับการช่วยเหลือ ปรึกษาหารือ ในการดำเนินงานตามโครงการ

     

    40 50

    10. เก็บข้อมูลสภาวะเศรษฐกิจครัวเรือน

    วันที่ 18 ธันวาคม 2558 เวลา 08:30 - 17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ออกแบบสำรวจ ข้อมูลเศรษฐกิจ ครัวเรือน
    2. จัดทำแบบสำรวจ ข้อมูลเศรษฐกิจ ครัวเรือน
    3. ประชุมชี้แจง การสำรวจ ข้อมูลเศรษฐกิจ ครัวเรือน
    4. ดำเนินจัดเก็บข้อมูลเศรษฐกิจ ครัวเรือน
    5. รวบรวมแบบสำรวจ ข้อมูลเศรษฐกิจ ครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. ได้แบบสำรวจ ข้อมูลเศรษฐกิจ ครัวเรือน จำนวน 1 ชุด
    2. ประชุมชี้แจง การสำรวจ ข้อมูลเศรษฐกิจ ครัวเรือน จำนวน 1 ครั้ง 30 คน
    3. จัดเก็บข้อมูลเศรษฐกิจ ครัวเรือน จำนวน368ครัวเรือน
    4. รวบรวมแบบสำรวจ ข้อมูลเศรษฐกิจ ครัวเรือน จำนวน 368 ครัวเรือน

     

    30 30

    11. เรียนรู้การเพาะเห็ดฟางและเห็ดนางฟ้า

    วันที่ 28 ธันวาคม 2558 เวลา 13:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชาสัมพันธ์ ให้ผู้สนใจ ได้รับทราบ
    2. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเช่นโรงเรียนเกษตรอำเภอพัฒนาชุมชนวิทยากร
    3. จัดหา วัสดุ อุปกรณ์ ในการเรียน สาธิต การเพาะเห็ด
    4. ให้ความรู้ สาธิต การเพาะเห็ดฟางเห็ดนางฟ้า พร้อมการดูแลรักษา
    5. แจกจ่ายก้อนพันธุ์เห็ดนางฟ้า เห็ดฟาง ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ไป ดูแลที่บ้าน
    6. ติดตาม ดูแลผลผลิต

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ให้ความรู้สาธิต การเพาะเห็ด จำนวน44คน
    2. แจกจ่ายก้อนพันธุ์เห้ดนางฟ้า เห็ดฟาง ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ไป ดูแลที่บ้าน จำนวน45ครัวเรือน
    3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจ ในการเพาะเห็ด

    ผลลัพท์

    1. ครัวเรือนลดรายจ่าย ในการบริโภค
    2. มีกิจกรรม ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
    3. บางครัวเรือน ขยายการเพาะเห็ดเพื่อจำหน่าย สร้างรายได้ให้ครอบครัว

     

    50 44

    12. วิเคราะห์ข้อมูลสภาวะเศรษฐกิจครัวเรือน

    วันที่ 18 มกราคม 2559 เวลา 09.00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชาสัมพันธ์ การประชุม
    2. แจ้งหนังสือ แก่ กลุ่มเป้าหมายการประชุม
    3. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    4. นำเสนอข้อมูล จากการสำรวจ
    5. วิเคราะห์ข้อมูล ในประเด็นต่างๆ
    6. สรุปปัญหา ประเด็นด้านเศรษฐกิจของชุมชน และแนวทางแก้ปัญหา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. คณะทำงาน ได้ร่วมประชุม และรับรู้สภาวะเศรษฐกิจครัวเรือน/ชุมชน จำนวน 25 คน

    2. มีการสำรวจข้อมูลจำนวน386ครัวเรือน

    3. ได้ชุดข้อมูล ชุมชนจำนวน 1ชุด ทำให้ทราบว่าคนในชุมชนส่วนใหญ่มีรายจ่ายมากกว่ารายได้ เกิดหนี้สิน และแก้ไขปัญหาด้วยการหาอาชีพเสริม และประหยัดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น

    4. มีข้อมูลที่ได้เพื่อประกอบการจัดทำแผนชุมชน เรื่องการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจชุมชน คือ การเลี้ยงปลา การทำปุ๋ยหมัก การปลูกผักสวนครัวผักปลอดสารพิษ และการจัดทำบัญชีครัวเรือน

     

    30 25

    13. ส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์เพื่อการบริโภค

    วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา 13.00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชาสัมพันธ์กิจกรรม
    2. รับสมัครกลุ่มเป้าหมาย เลี้ยงสัตว์ ที่สนใจ  และกลุ่มเลี้ยงสัตว์เดิม
    3. จัดอบรม ให้ ความรู้ พูดคุย ปัญหา ความต้องการ การเลี้ยงสัตว์ ประเภทต่างๆ  เช่น  ไก่ไข่  ปลาในกระจัง  หมู
    4. จัดหาวัสดุ การผลิตอาหารสัตว์
    5. จัดหารพันธุ์สัตว์  อาหารสัตว์ แจกจ่ายสมาชิก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.มีประชาชน ผู้สนใจ เลี้ยงสัตว์ไว้บริโภคในครัวเรือน 50 ครัวเรือน โดยได้แจกพันธุ์ปลาดุก ปลานิล และปลาทับทิม ได้เดินชมบ่อปลาและสถานที่เลี้ยงปลาในครัวเรือนที่สนใจ และร่วมกันวางแผนจัดหาวัตถุดิบในท้องถิ่นที่สามารถนำมาผลิตเป็นอาหารสัตว์ได้

     

    50 46

    14. เรียนรู้วิธีการทำน้ำหมักชีวภาพ

    วันที่ 28 มกราคม 2559 เวลา 13:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชาสัมพันธ์โครงการ
    2. ประสานงานวิทยากรและฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
    3. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์การอบรม สาธิต
    4. จัดอบรม สาธิต การทำน้ำหมักชีวภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้ และทักษะในการผลิตน้ำหมักชีวภาพ ได้ถูกต้อง ลดรายจ่าย จากการซื้อปุ๋ย

     

    40 50

    15. ส่งเสริมการปลูกผักอินทรีย์ในโรงเรียน

    วันที่ 29 มกราคม 2559 เวลา 13:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประสานกับโรงเรียน  นัดกลุ่มเป้าหมาย จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ การเรียน การสอน สาธิต จับอบรมให้ความรู้ สาธิต การผลิตน้ำหมักชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    • จัดอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน เรื่องการปลูกผัก ปลอดสารพิษการผลิตปุ๋ย น้ำหมักชีวภาพ จำนวน 55คน

    ผลลัพท์

    • นักเรียน มีความรู้ และสามารถผลิตปุ๋ย น้ำหมักชีวภาพได้
    • ลดรายจ่าย การซื้อปุ๋ย และการปลูกพืช ไว้บริโภคในโรงเรียน

     

    50 55

    16. เรียนรู้การปลูกผักอินทรีย์ และการทำน้ำหมักชีวภาพ

    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 - 16.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชาสัมพันธ์ กิจกรรม
    2. แจ้งกลุ่มเป้าหมาย ทราบเพื่อเข้าร่วมกิจกรรม
    3. ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง
    4. จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ การจัดกิจกรรม
    5. จัดอบรมให้ความรู้  สาธิตการผลิตน้ำหมักชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ การปลูกพืชปลอดสารพิษ
    6. แจกจ่าย น้ำหมักชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ ให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 70 คน มีความรู้และสามารถผลิตปุ๋ย น้ำหมักชีวภาพได้

    ผลลัพท์

    1. ลดค่าใช้จ่าย ในการปลูกผักปลอดสารพิษ
    2. ลดการเจ็บป่วยจากโรค ที่เกิดจากการใช้สารเคมี
    3. ประชาชน ลดการใช้สารเคมี มีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อม

     

    70 70

    17. เรียนรู้ เรื่องการทำบัญชีครัวเรือน

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 13:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชาสัมพันธ์ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ประสานงานวิทยากร จัดหาคู่มือ เอกสาร การจัดทำบัญชีครัวเรือน ประชุมชี้แจง ซักถาม ปัญหา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    • จัดประชุม จำนวน 1 ครั้งมีผู้เข้าร่วมประชุม 77 คน

    ผลลัพท์

    • ผู้เข้าร่วมประชุม มีความรู้ ทักษะ การจัดทำบัญชีครัวเรือน ได้ถูกต้อง และให้ความร่วมมือในการจัดทำบัญชีครัวเรือน เพื่อที่จะได้รับรู้ว่ามีรายจ่่าย รายรับเท่าไรในแต่ละเดือน อันจะนำไปสู่การลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็นลงได้

     

    70 77

    18. จัดเวทีประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนฉบับปฏิบัติการ

    วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09.00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชาสัมพันธ์ นัดหมาย ผู้เข้าร่วมประชุม
    2. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    3. จัดเตรียมข้อมูล ชุมชน นำเสนอที่ประชุม
    4. จัดประชุม นำเสนอข้อมูล สภาวะเศรษฐกิจชุมชน ปัญหาของชุม วิเคราะห์ปัญหา แนวทางแก้ไข จัดทำแผนงาน แก้ปัญหา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. จัดประชุม การจัดทำแผนชุมชน1ครั้งมีัผู้เข้าร่วมประชุม 77 คน
    2. ชุมชน มีแผนปฏิบัติการแก้ปัญหาเศรษฐกิจของชุมชน จำนวน1ชุด

    ผลลัพท์

    1. ชุมชน มีแผนปฏิบัติการแก้ไขซึ่งเป็นแผนที่ทำร่วมกับ อบต.ฝาละมี ที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของชุมชน
    2. ชุมชน มีความรักสามัคคี มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาของชุมชน

     

    50 77

    19. ประชุมสภาผู้นำชุมชนครั้งที่ 3

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 13:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชาสัมพันธ์ทางเสียงตามสาย ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง ประชุมนำเสนอผลการดำเนินงานที่ผ่านมา วางแผนกิจกรรมที่จะดำเนินการ ต่อไป พูดคุยถึงปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานช่วงที่ 1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้นำเสนอให้กรรมการสภาชุมชนรับทราบว่าจะทำการส่งรายงานงวดที่ 1 ให้ สสส.เพื่อเบิกเงินงวดที่ 2 มาดำเนินกิจกรรมต่อ แต่ตอนนี้ยังไม่เข้าใจเรื่องการจัดทำเอกสารการเงิน และได้นำเสนอค่าใช้จ่ายกิจกรรมที่ผ่านมาให้ทีมคณะกรรมการทราบ ซึ่งจะรีบจัดทำรายงานโดยส่งให้พี่เลี้ยงช่วยเพิ่มเติมและให้คำแนะนำในการทำรายงาน

     

    30 42

    20. การจัดทำรายงานงวดที่ 1

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 - 16.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประสานงานผู้เข้าร่วมประชุม รวบรวม เอกสาร ทางการเงิน และผลการดำเนินงาน ตรวจสอบเอกสารทางการเงิน รายงาน ง ๑ ส.๑

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    คณะกรรมการโครงการ จำนวน 2 คน ร่วมแลกปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียน ผลการถอดบทเรียนของพื้นที่ มีการเปลี่ยนแปลงคือ คน มีการทำงานเป็นทีม เข้าใจปัญหาของตนเอง ร่วมทำแผน ร่วมเรียนรู้ ร่วมทำกิจกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อสุขภาพ เช่น การใช้สารเคมีลดลง หันมาใช้สารชีวภาพแทน ถ้าจำเป็นต้องใช้มีการป้องกันโดยใส่ผ้าปิดปากปิดจมูก ใส่ถุงมือ ใส่รองเท้าบูทในส่วนสภาพแวดล้อม เกิดพื้นที่เขตปลอดบุหรี่ในสถานที่จัดกิจกรรม ในส่วนของกระบวน มีการประชุมสภาผู้นำทุกเดือนมีกติกา การใช้สารเคมี ของชุมชนคณะกรรมการ มีความเข้าใจในการลงรายงาน

    ผลลัพธ์

    คณะกรรมการสามารถเข้าใจวิธีการถอดบทเรียน และสรุปผลการจัดกิจกรรมได้ สามารถปิดงวด1 ภายในสิ้นเดือน กุมภาพันธ์ 2559 สรุปผลตามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

    • มีการจัดทำรายงานทางการเงิน จำนวน 1 ชุด มีการสรุปผลการดำเนินงาน1 ชุด มีการตรวจสอบเอกสารทางการเงิน1ครั้ง ผู้รับผิดชอบมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดทำรายงานทางการเงินเพิ่มมากขึ้น รายงาน เอกสารทางการเงินมีความถูกต้อง ครบถ้วน

     

    2 3

    21. ประชุมสภาผู้นำชุมชนครั้งที่ 4

    วันที่ 12 มีนาคม 2559 เวลา 13:00- น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชาสัมพันธ์ การประชุม ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง จัดประชุม นำเสนอผลการดำเนินงานที่ผ่านมา กำหนดวางแผน กำหนดกิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผุ้เข้าร่วมประชุม ได้รับทราบผลการดำเนินงานที่ผ่านมา วางแผนการดำเนินงานร่วมกัน แลกเปลี่ยนปัญหาอุปสรรค การดำเนินงาน พูดคุยประเด็นอื่นๆ ในการพัฒนาชุมชน

     

    30 40

    22. ประชุมสภาผู้นำชุมชนครั้งที่ 5

    วันที่ 12 เมษายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แจ้ง ประชาสัมพันธ์การประชุม จัดประชุม
    ชี้แจง กิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    คณะกรรมการสภาผู้นำชุมชน จำนวน 30 คน ร่วมพูดคุย ผลการจัดกิจกรรมที่ผ่านมา ซึ่งพบปัญหา ในเรื่องการลงทะเบียนและจัดเก็บเอกสารหลักฐานและเก็บภาพ ช่วยกันตรวจสอบเอกสารและหลักฐานในกิจกรรมต่างๆจนครบ และเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

    ผู้เข้าร่วมประชุม มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินชีวิต ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมากขึ้น

    มีการรวมกลุ่มกัน เลี้ยงสัตว์ปลุกผักทำปุ๋ยหมักชีวภาพ มากขึ้น

    ผลลัพท์

    ประชาชน มีรายได้เพิ่มมากขึ้น

    มีการรวมกลุ่ม มีความรักสามัคคีเพิ่มมากขึ้น

     

    30 54

    23. ประชุมสภาผู้นำชุมชนครั้งที่ 6

    วันที่ 12 พฤษภาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    แจ้งผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม ชี้แจงผลการดำเนินที่ผ่านมา สอบถามปัญหาอุปสรรคการจัดกิจกรรม ชี้แจงกิจกรรมที่ จะดำเนินการต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน35คน ผุ้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจ ในกิจกรรมตามโครงการ ได้แนวทาง การดำเนินงาน ต่อไป

    ผลลัพธ์ คณะกรรมการมีความพร้อมที่จะจัดกิจกรรม ตามแผนที่วางไว้

     

    30 35

    24. การประกวดบุคคลต้นแบบฯและครอบครัวต้นแบบฯ

    วันที่ 10 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประชาสัมพันธ์กิจกรรม 2. สมัครผู้สนใจ เข้าประเมินครอบครัวต้นแบบ 3. จัดทำเกณฑ์ประเมิน 4. จัดตั้งคณะกรรมการ ประเมินครอบครัว ต้นแบบ 5. ประเมินครอบครัวต้นแบบ 6. ประกาศผลการประเมินครอบครัวต้นแบบ ึ7. มอบของขวัญรางวัล  ครอบครัวต้นแบบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1. มีประชาชนเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน  70  ครัวเรือน 2. มีการประเมินครอบครัวที่ เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน  1  ครั้ง 3.  มีครอบครัวต้นแบบ เศรษฐกิจพอเพียง  จำนวน  30  ครัวเรือน ผลลัพธ์ 1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ความเข้าใจ การดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง 2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม รับทราบถึงผลที่ได้รับจากการร่วมกิจกรรม 3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม สามารถลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ มากขึ้น

     

    70 70

    25. ประชุมสภาผู้นำชุมชนครั้งที่ 7

    วันที่ 12 มิถุนายน 2559 เวลา 13:00 - 16.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประสานงานกลุ่มเป้าหมาย
    2. จัดประชุม
    3. สรุปผลการประชุม
    4. รายงานผล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1 มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน30คน 2. ผู้เข้าร่วมประชุม มีส่วนร่วมในการติดตาม การดำเนินงานตามโครงการ 3. ที่ประชุม กำหนดกิจกรรมที่จะดำเนินการใน ครั้งต่อไป เรื่อง - การประกวดบุคคล และครอบครัวต้นแบบ - การจัดงานมหกรรมสุขภาพเศรษฐกิจพอเพียง

    ผลลัพท์ 1 . ผู้เข้าร่วมประชุม มีความรู้ความเข้าใจการดำเนินงาน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีการกำหนดแผน และกิจกรรม ที่จะดำเนินการต่อไป

     

    30 35

    26. ติดตามหนุนเสริมการดำเนินงานโครงการร่วมกับพี่เลี้ยง

    วันที่ 23 มิถุนายน 2559 เวลา 13.00 น.- 16.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประสานงานการร่วมกิจกรรม สรุปบทเรียนที่ได้จากการดำเนินงาน นำเสนอแก่ผู้เกี่ยวข้อง ทำการสัมภาษณ์โดยคุณถนอม ขุนเพ็ชร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้สรุปบทเรียน ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ เพื่อนำไปจัดทำเป็นหนังสือเผยแพร่อีกครั้ง

     

    2 3

    27. ร่วมประชุมวิชาการยกระดับความรู้สู่การพัฒนาและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมภาคใต้

    วันที่ 27 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รับแจ้งจาก พี่เลี้ยงโครงการ เพื่อเชิญเข้าร่วมการประชุม ติดต่อ ประสานงานกับสมาชิก ร่วมกิจกรรมประชุมวิชาการยกระดับความรู้สู่การพัฒนาและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมภาคใต้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้มีมีโอกาส แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับโครงการอื่นๆ จำนวน  1  ครั้ง ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้รับประสบการณ์ ความรู้ เพิ่มมากขึ้น

     

    10 12

    28. ประชุมสภาผู้นำชุมชนครั้งที่ 8

    วันที่ 12 กรกฎาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชาสัมพันธ์ แจ้งกลุ่มเป้าหมายทราย ประชุมชี้แจงผลการดำเนินงาน หารือ วางแผนการดำเนินงาน กิจกรรมต่อไป สรุปปัญหาอุปสรรค

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 40  คน ผู้เข้าร่วมประชุม ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน ได้แนวทางการจัดกิจกรรม มหกรรมสุขภาพชุมชน

     

    30 40

    29. จัดกิจกรรมมหกรรม ครัวเป็นสุข ตามวิถีพอเพียงในชุมชน

    วันที่ 8 สิงหาคม 2559 เวลา 08:00 - 16.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ประชาสัมพันธ์โครงการ ทางเสียงตามเสียง ป้ายประชาสัมพันธ์ การประชุม หมู่บ้าน
    2. ประสานงานกับบุคคล ฝ่ายต่าง และส่วนราชการในพื้นที่
    3. จัดบู๊ท นิทรรศการเศรษฐกิจพอเพียง
    4. นำเสนอบุคคลต้นแบบ
    5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การดำเนินงาน บุคคลต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง
    6. จำหน่าย แลกเปลี่ยน ผลิตภัณฑ์ในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    คณะกรรมการผู้นำชุมชน ตัวแทนครัวเรือน ร่วมกิจกรรมในงานจัดมหกรรม ผักปลอดสารพิษในชุมชน เปิดงานการจัดมหกรรมภายในงานมีการนำสินค้าของคนในชุมชนมาจัดวางโชว์เช่น ผักปลอดสารพิษ มีการจัดนิทรรศการ การจัดกิจกรรมของชุมชนมีการถามตอบ ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ มีการตรวจสุขภาพเบื้องต้น

    1 มีการจัดกิจกรรม มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 116คน

    1. การจัดบู๊ท นิทรรศการ จำนวน 6 กลุ่ม

    - กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ - กลุ่มเสี้ยงสัตว์ - กลุ่มเพาะเห็ด - กลุ่มออมทรัพย์ ทำบัญชีครัวเรือน - กลุ่มปุ๋ยหมักชีวภาพ และน้ำหมักชีวภาพ - กลุ่มอืนๆ

    1. การนำเสนอ แลกเปลี่ยนเรียนกับบุคคลต้นแบบ ด้านเศรษฐกิจพอเพียงจำนวน10ท่าน

    ผลลัพท์

    1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ได้พัฒนาทักษะ ความรู้ การดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

    2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เกิดความตระหนัก และเหนความสำคัญการดำเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงมากขึ้น

    3. บุคคล ครอบครัวต้นแบบเกิดความภาคภูมิใจ

     

    200 116

    30. ประชุมสภาผู้นำชุมชนครั้งที่ 9 (ประชุมสรุปผลโครงการ)

    วันที่ 12 สิงหาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรม นำเสนอผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ร่วมกันวิเคราะห์ปัจจัย ปัญหาอุปสรรค การดำเนินงาน การวางแผนการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผลผลิต คณะกรรมการตัวแทนครัวเรือน จำนวน 40 คน ร่วมกิจกรรมสรุปผลและถอดบทเรียน การดำเนินงานตามโครงการ หัวหน้าโครงการชี้แจงการจัดกิจกรรมสรุปผลและถอดบทเรียน การดำเนินงานตามโครงการร่วมกันเสนอผลการจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมตลอดโครงการว่าเกิดอะไรขึ้นบ้างมีอะไรเปลี่ยนแปลงหลังจากการจักกิจกรรมในทุกด้าน เลขาสรุปผลการจัดกิจกรรมพร้อมชี้แจงงบประมาณ รายจ่าย ให้ชุมชนรับทราบผู้ใหญ่เน้นย้ำกิจกรรมทุกกิจกรรมที่ต้องดำเนินการอย่างเนื่องและมาตราการต่างๆที่ร่วมกันวางไว้ ยังคงใช้ต่อไปและขอบคุณทุกครัวเรือนที่ร่วมกันทำกิจกรรมเพื่อชุมชนสามารถจัดการตัวเองได้

    • ผลลัพธ์ การดำเนินกิจกรรมในแต่ละกิจกรรมผ่านตามตัวชี้วัดดังนี้ 1.ครัวเรือนสามารถลดรายจ่ายเพิ่มรายได้จากการทำอาชีพเสริมจำนวน74 ครัวเรือน

    2.จำนวน 40 ของครัวเรือน ที่เข้าร่วมโครงการมีการจัดทำบัญชีครัวเรือน และเป็นสมาชิกกลุ่มสัจจะออมทรัพย์

    1. ครัวเรือนลดเลิกการสูบบุหรี่ เพื่อลดรายจ่าย จำนวน 20 ครัวเรือน

    4.ชุมชนมีกลุ่มอาชีพเสริมตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 4 กลุ่มได้แก่
    - ผักปลอดสารพิษเพื่อปลูกผักใช้ประกอบอาหารสำหรับกินเองในครัวเรือนจำนวน 74 ครัวเรือน - กลุ่มเพาะเห็ดเพื่อใช้ประกอบอาหารสำหรับกินเองในครัวเรือน จำนวน 50 ครัวเรือน - กลุ่มเลี้ยงสัตว์(ไก่ไข่ /เลี้ยงปลา/เลี้ยงกบ)ในครัวเรือนเพื่อใช้ประกอบอาหารสำหรับกินเองในครัวเรือนจำนวน 50 ครัวเรือน - กลุ่มออมทรัพย์เพื่อส่งเสริมการออมทรัพย์ในครัวเรือน จำนวน 70 ครัวเรือน
    5.ประชาชนทุกคนที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ในหลักเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อลดปัญหาหนี้สินในครัวเรือน

    6.ทุกครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับการพัฒนาศักยภาพการประกอบอาชีพเสริม

    7.ทุกครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรม มีการปลูกพืชสวนครัว สมุนไพร บริเวณบ้านและริมรั้ว

    8.เด็กและเยาวชน จำนวน 50 คน เกิดกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับการทำเกษตรปลอดสารพิษควบคู่กับการใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

    9.ทุกคนในครัวเรือน ที่เข้าร่วมโครงการ ได้บริโภคอาหารที่ปลอดสารพิษ

    10.เกษตรกรสามารถผลิต/ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการเกษตรกรรม จำนวน 74 ครัวเรือน

    11.ครัวเรือนมีรายจ่ายในการซื้อสารเคมีลดลง

    12.มีครอบครัวต้นแบบในการปรับเปลี่ยนทำเกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียง จำนวน30 ครัวเรือน

    1. เกิดกลไกโครงสร้างสภาชุมชนบ้านบ้านฝาละมี ขับเคลื่อนการดำเนินงานกิจกรรมโครงการและกิจกรรมของชุนอย่างต่อเนื่องการเกิดสภาพแวดล้อมหรือปัจจัยทางสังคมที่เอื้อต่อสุขภาวะของคน องค์กร ชุมชน ในพื้นที่ จำนวน1 แห่ง

    2. สภาชุมชนบ้านฝาละมี เกิดจากกลุ่มเป้าหมายคณะกรรมการหมู่บ้านเดิมที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพให้เป็นแกนนำ มาเป็นคณะกรรมการสภาชุมชน จำนวน 30 คน และเกิดการทำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในพื้นที่

     

    40 40

    31. ประชุมติดตามรายงาน

    วันที่ 22 กันยายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุม ทบทวนวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัดโครงการ สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ สรุปค่าใช้จ่ายโครงการ ร่วมกันประเมินคุณค่าโครงการ อภิปรายปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ปัญหา ต่อไป กิจกรรมที่จะดำเนินการต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลลัพท์ สมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการ มีส่วนร่วมในการจัดกรรมกรรม ตั้งแต่ การค้นหาปัญหา การวางแผน การจัดกิจกรรม การประเมินผล และการร่วมรับผลประโยชน์ ชุมชน มีความรักสามัคคีเพิ่มมากขึ้นทุก กลุ่ม องค์ เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาชุมชน มีกรรมการขับเคลื่อนการจัดกิจกรรมในชุมชน

     

    23 23

    32. การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม

    วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. เข้าร่วมประชุม
    2. เข้าร่วมประชุมตาราง ห้อง ที่สนใจ
    3. ร่วมเวที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพื้นที่ ชุมชน โครงการอื่นๆ
    4. นำเสนอผลการประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับสมาชิก ในชุมชนทราบ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ • พิธีเปิด การแสดงโขนโดยศูนย์ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครรินทร์ร่วมกันร้องเพลงชาติไทย • กล่าวต้อนรับโดยนายทรงพล สวาสดิ์ธรรม ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา • กล่าวเปิดโดย นายแพทย์วีระพันธ์สุพรรณไชยมาตร์ รองประธานคณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ • ปาฐกถา เรื่อง บทบาทของประเทศไทยในการเป็นผู้นำการพัฒนานวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพในภูมิภาคอาเซียน โดย นายอภิสิทธ์เวชชาชีวะ • รายงานสุขภาวะคนใต้และสรุปภาพรวมการดำเนินงานสร้างสุขภาคใต้ปีที่ผ่านมาบทบาทศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพ ในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาคคนใต้ โดย ผศ.ดร.ภก.พงศ์เทพ สุธีรวุฒิ ผู้อำนวยการ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ภาคใต้ -เสวนา มุมมองใหม่ในการพัฒนาระบบสุขภาพในอนาคต โดยผศ.ดร.อิสมาอีลลุตฟิจะปะกียานายพงษ์ศักดิ์ยิ่งชนม์เจริญ นายทวีวัตร เครือสาย นายแพทย์ยอร์น จิระนคร ดำเนินรายการเสวนาโดย นายแพทย์ บัญชา พงษ์พานิช • ลานปัญญาสร้างสุข แลกเปลี่ยนความรู้ นวัตกรรม โดย นายอานนท์ มีศรี และนายฮารีส มาศชาย วันที่ 4 ตุลาคม 2559 • ลานสร้างสุขแลกเปลี่ยนความรู้ นวัตกรรม • ประชุมห้องย่อย เข้าห้องประเด็นชุมชนน่าอยู่ เสวนาเรื่อง สานพลังชุมชนน่าอยู่สู่นโยบายสาธารณะ โครงการสร้างคนรักษ์สิ่งแวดล้อมที่บ้านทุ่งยาว ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุงโดย คุณมนูญ สุขรัตน์ ผู้ใหย่บ้านทุ่งยาว คูณวิศิษฐ ชูสง นายกเทศมนตรีตำบลโคกม่วงคูณจำเรียง นิธิกรกุลนักวิชาการปฏิรูปที่ดินชำนาญการ สำนักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัดพัทลุงดำเนินการเสวนาโดย คูทวีชัย อ่อนนวน การแสดงโขนคน ตอน เชิดพระอิศวรนำเสนอกรณีศึกษา ประเด็นการจัดการขยะโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่บ้านห้วยลึกจัดการขยะชุมชน ตำบลทรายขาว อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ โดยคุณ สมยศบรรดา และทีมงานโครงการ นำเสนอ กรณีศึกษา ประเด็นเด็กและเยาวชน โครงการปันตงสร้างสุขบ้านสี่แยกวัดโหนด ตำบลโพธิ์ทอง อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช โดย คุณ วณิชญา ฉันสำราญ และทีมงานโครงการ นำเสนอกรณีศึกษาประเด็น เศรษฐกิจพอเพียง โครงการแหลมยางนาพึ่งพาเศรษฐกิจ ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพรนำเสนอกรณีศึกษาประเด็นการจัดการทรัพยากรและการท่องเที่ยวโครงการจัดการท่องเที่ยววิถีชุมชนบ้านท่าฉัตรไชย ตำบลไม้ขาว อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต โดยคุณสมพร แทนสกุล และทีมงาน นำเสนอกรณีศึกษา ประเด็นการจัดการสุขภาพและอาหารปลอดภัยโครงการชุมชนหูยานบ้านน่าอยู่สู่การจัดการตนเอง ตำบลนาท่อม อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง โดยนายอนุชาเฉลาชัย และทีมงาน ผู้ทรงคูณวุฒิให้คำแนะนำการขับเคลื่อนชุมชน สู่ข้อเสนอเชิงนโยบาบโดย คุณสุริยายีขุน นายกเทศมนตรีตำบลปลีก คุณสัมฤทธิ์เลียงประสิทธิ์นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูลนายแพทย์ไพศาลเกื้ออรุณ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดกระบี่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การขับเคลื่อนงานชุมชนน่าอยู่สู่การยกระดับเชิงนโยบาย โดยคุณ กำไลสมรักษ์ สำนักวิชาการพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ • ลานปัญญาเสวนา • ลานสื่อ นำเสนอผลงานวิชาการของชุมชน เรื่องเล่า เร้าพลัง วันที่ 5 ตุลาคม 2559 • ลานสร้างสุข แลกเปลี่ยนความรู้นวัตกรรม • กิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสานพลังเครือข่าย • เสวนาเรื่อง การขับเคลื่อนระบบสุขภาพของประเทศไทยสู่การเป็นผู้นำภูมิภาคอาเซี่ยน โดย นายแพทย์ภักดิ์ชัยกาญจนวัฒนา รักษาการเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ดร. สุปรีดา อดุยยานนท์ ผู้จัดการกองทุนสำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ นายพลากร วงศ์กองแก้ว ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน นายแพทย์พลเดช ปิ่นประทีป เลขาธิการคณะกรรมการสุภาพแห่งชาติ รศ.ดร.วิลาสินี พิพิธกุล รองผู้อำนวยการสถานีโทรศัศน์ ไทย พี บี เอส ดำเนินการอภิปราย คุณณาตยา แวววีรคุปต์ • พิธีปิด โดยผู้ร่วมเสวนาทุกท่านและผู้เข้าร่วมทุกคน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้เข้าร่วมประชุม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้ทราบแนวคิดการดำเนินงานกับชุมชนต้นแบบดีเด่น
    2. ผู้เข้าร่วมประชุม ได้แนวคิดเพื่อนำไปพัฒนา ต่อยอดการดำเนินกิจกรรมโครงการต่อไป
    3. ได้เพิ่มเครือข่ายการดำเนินงานชุมชนต้นแบบด้านเศรษฐกิจพอเพียง
    4. ส่งเสริม สนับสนุน การดำเนินงานสร้างสุขคนใต้ • ผลผลิต เจ้าของโครงการคณะกรรมการจำนวน 3 คน ร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ร่วมรับฟังปาฐกถา เรื่อง บทบาทของประเทศไทยในการเป็นผู้นำการพัฒนานวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพในภูมิภาคอาเซียน โดย นายอภิสิทธ์เวชชาชีวะ รับฟังรายงานสุขภาวะคนใต้และสรุปภาพรวมการดำเนินงานสร้างสุขภาคใต้ปีที่ผ่านมาบทบาทศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพ ในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาคคนใต้ โดย ผศ.ดร.ภก.พงศ์เทพ สุธีรวุฒิ ผู้อำนวยการ สถาบันการจัดการระบบสุขภาพ ภาคใต้ฟังการเสวนาเรื่อง สานพลังชุมชนน่าอยู่สู่นโยบายสาธารณะ โครงการสร้างคนรักษ์สิ่งแวดล้อมที่บ้านทุ่งยาว ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ฟังเสนอกรณีศึกษา ประเด็นการจัดการขยะโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่บ้านดอนประดู่การจัดการขยะชุมชน ตำบลดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง  กรณีศึกษา ประเด็นเด็กและเยาวชน โครงการปันตงสร้างสุขบ้านสี่แยกวัดโหนด ตำบลโพธิ์ทอง อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช กรณีศึกษาประเด็น เศรษฐกิจพอเพียง โครงการแหลมยางนาพึ่งพาเศรษฐกิจ ตำบลตะโก อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพรกรณีศึกษาประเด็นการจัดการทรัพยากรและการท่องเที่ยวโครงการจัดการท่องเที่ยววิถีชุมชนบ้านท่าฉัตรไชย ตำบลไม้ขาว อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต กรณีศึกษา ประเด็นการจัดการสุขภาพและอาหารปลอดภัยโครงการชุมชนหูยานบ้านน่าอยู่สู่การจัดการตนเอง ตำบลนาท่อม อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุงผู้ทรงคูณวุฒิให้คำแนะนำการขับเคลื่อนชุมชน สู่ข้อเสนอเชิงนโยบาบโดย คุณสุริยายีขุน นายกเทศมนตรีตำบลปลีก คุณสัมฤทธิ์เลียงประสิทธิ์นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูลนายแพทย์ไพศาลเกื้ออรุณ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดกระบี่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การขับเคลื่อนงานชุมชนน่าอยู่สู่การยกระดับเชิงนโยบาย โดยคุณ กำไลสมรักษ์ สำนักวิชาการพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ลานปัญญาเสวนา ลานสื่อ นำเสนอผลงานวิชาการของชุมชน เรื่องเล่า เร้าพลัง ลานสร้างสุข แลกเปลี่ยนความรู้นวัตกรรมกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสานพลังเครือข่ายเสวนาเรื่อง การขับเคลื่อนระบบสุขภาพของประเทศไทยสู่การเป็นผู้นำภูมิภาคอาเซี่ยน • ผลลัพธ์
    5. ได้รับความรู้ในการทำงานเพื่อสร้างชุมชนให้น่าอยู่ ทั้งด้านแนวคิด และวิธีการ
    6. ได้เรียนรู้นวัตกรรมต่าง ๆ ของโครงการที่มานำเสนอผลงานในรูปแบบนิทรรศการ ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับชุมชนของตนเองได้
    7. ได้เรียนรู้ข้อมูลต่าง ๆ ของหน่วยงานในภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการสร้างชุมชนให้น่าอยู่ เช่น สสส./ สช./ สปสช. เป็นต้น
    8. เกิดเครือข่ายในการทำงานเพื่อส่วนรวม สนับสนุนให้เกิดการรวมกลุ่ม เกิดการแบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ และกำลังใจให้แก่กันเมื่อเกิดอุปสรรคและปัญหา
    9. มีความรู้สึกภาคภูมิใจ และมีกำลังใจในการพัฒนาชุมชนของตนเองให้น่าอยู่ต่อไป
    10. เกิดสายสัมพันธ์ที่ดีระหว่างทีมพี่เลี้ยงของโครงการ และทีมงานในการจัดงานสร้างสุขภาคใต้

     

    3 3

    33. ถ่ายภาพิจกรรม

    วันที่ 8 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รวบรวมภาพกิจกรรมตามโครงการทั้งหมด คัดเลือกภาพกิจกรรม ที่จะนำเสนอ ให้ครอบคลุมทุกกิจกรรม นำไฟล์ภาพ กิจกรรมไปล้างรูป จัดส่งภาพ ให้ผู้เกี่ยวข้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีการรวบรวม และคัดเลือกภาพกิจกรรม จำนวน 1ชุด

     

    5 1

    34. ประชุมติดตามและจัดทำรายงาน

    วันที่ 14 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.ประสานงานกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง

    2.รวบรวมผลการดำเนินงานตามโครงการ

    3.ตรวจสอบความเรียบร้อย ของเอกสารทางการเงิน

    4.จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงาน

    5.นำเสนอให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผลผลิตมีการจัดทำเอกสารสรุปผลการปฏิบัติงาน จำนวน1 ชุด • ผลลัพธ์ สามารถทำกิจกรรมได้ครบทุกกิจกรรมตามแผน และบรรลุตามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดที่วางไว้

     

    5 5

    35. จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    วันที่ 15 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประสานงานผู้รับผิดชอบโครงการ ตรวจสอบเอกสารการดำเนินงานโครงการ  เอกสารทางการเงิน บันทึกผลการดำเนินงานในโปรแกรม รับการตรวจสอบจากเจ้าหน้าที่โครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้จัดทำสรุปผลการดำเนินงานโครงการ จำนวน 1ครั้ง รายงานมีความถูกต้อง สามารถจัดส่งรายงานให้ สสส.ได้ในเวลา

     

    3 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ด้วยวิถีเกษตรพอเพียง
    ตัวชี้วัด : 1. ครัวเรือนสามารถลดรายจ่ายเพิ่มรายได้จากการทำอาชีพเสริม ประมาณ ร้อยละ 20 (70 ครัวเรือน จาก 368 ครัวเรือน) 2. ร้อยละ100 ของครัวเรือน ที่เข้าร่วมโครงการมีการจัดทำบัญชีครัวเรือน และเป็นสมาชิกกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ 3. ครัวเรือนลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ เพื่อ ลดรายจ่าย มากกว่า 20 ครัวเรือน

    เกิดแกนนำการเปลี่ยนแปลงด้านการสร้างเสริมสุขภาพในประเด็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ จำนวน 1 คน โดยมีการปลูกและรับประทานผักปลอดสารพิษ

    2 เพื่อให้ประชาชนและกลุ่มอาชีพได้รับการพัฒนาตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถลดรายจ่ายภายในครัวเรือน
    ตัวชี้วัด : 1. ชุมชนมีกลุ่มอาชีพเสริมตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 5 กลุ่มได้แก่ - ผักปลอดสารพิษเพื่อปลูกผักใช้ประกอบอาหารสำหรับกินเองในครัวเรือนจำนวน 70 ครัวเรือน - กลุ่มเพาะเห็ดเพื่อใช้ประกอบอาหารสำหรับกินเองในครัวเรือนจำนวน 50 ครัวเรือน - กลุ่มเลี้ยงสัตว์(ไก่ไข่ /เลี้ยงปลา/เลี้ยงกบ)ในครัวเรือนเพื่อใช้ประกอบอาหารสำหรับกินเองในครัวเรือนจำนวน 50 ครัวเรือน - กลุ่มออมทรัพย์เพื่อส่งเสริมการออมทรัพย์ในครัวเรือน จำนวน 50 ครัวเรือน - กลุ่มผลิตภัณฑ์สินค้าทดแทนใช้เองในครัวเรือน เพื่อลดรายจ่าย เช่น สบู่,ยาสระผม,น้ำยาล้างจาน,น้ำยาซักผ้า,น้ำยาปรับผ้านุ่มจำนวน 40 ครัวเรือน 2. ประชาชนมีความรู้ในหลักเศรษฐกิจพอเพียง ร้อยละ 80 และสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อลดปัญหาหนี้สินในครัวเรือน 3. ร้อยละ70 ของครัวเรือน ของแต่ละกลุ่มอาชีพได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ 4. ร้อยละ100 ของครัวเรือน ที่เข้าร่วมกิจกรรมมีการจัดทำบัญชีครัวเรือนและเป็นสมาชิกกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ 5. ร้อยละ 80 ของครัวเรือนปลูกพืชสวนครัว สมุนไพร บริเวณบ้านและริมรั้ว

    ประชาชนได้เรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน/เศรษฐกิจพอเพียง จำนวน70 ครัวเรือน และยังได้ความรู้และนำไปปรับใช้ในการทำเกษตรอินทรีย์และมีผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน ได้นำวัสดุที่เหลือใช้ในชุมชมมาเพิ่มคุณค่า ลดต้นทุนการทำปุ๋ยหมัก เกษตรกรกลุ่มปุ๋ยหมักสามารถทำปุ๋ยหมักใช้ในการทำใช้ในสวนยางและแปลงผักได้

    3 เพื่อสนับสนุนปฏิบัติการสร้างเกษตรตามเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1.เด็กและเยาวชน จำนวน 50 คน เกิดกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับการทำเกษตรปลอดสารพิษควบคู่กับการใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.ทุกคนในครัวเรือน ที่เข้าร่วมโครงการ ได้บริโภคอาหารที่ปลอดสารพิษ ร้อยละ 80 3.เกษตรกรสามารถผลิต/ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการเกษตรกรรม ร้อยละ50 ของครัวเรือน 4.ครัวเรือนมีรายจ่ายในการซื้อสารเคมีลดลง ร้อยละ 20 5.มีครอบครัวต้นแบบในการปรับเปลี่ยนทำเกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียงอย่างน้อย 20 ครัวเรือน

    มีครอบครัวต้นแบบ เศรษฐกิจพอเพียงจำนวน 30 ครัวเรือน

    4 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้นำ เกิดสภาผู้นำที่เข้มแข็งในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1.เกิดคณะกรรมการสภาชุมชน จำนวน 1 ชุด มีการประชุม อย่างน้อยเดือนละ 1ครั้งจำนวน 10ครั้ง 2.มีสภาชุมชน ที่ประกอบด้วยคณะกรรมการหมู่บ้าน คณะกรรมการชุมชนและตัวแทนจากกลุ่ม องค์กรต่างๆในชุมชน และเข้าร่วมประชุม อย่างน้อย ร้อยละ 80 ของจำนวนสมาชิกสภาชุมชน 3 กลุ่มสภาผู้นำมีการทบทวน ติดตาม ประเมินผล และร่วมพัฒนากิจกรรมในโครงการอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยเดือนละ 1ครั้งจำนวน 10ครั้ง 4.ชุมชนมีแผนปฏิบัติการของชุมชน และใช้แผนชุมชน นำมาแก้ปัญหาได้ ตรงกับความต้องการของชุมชนตามแนวคิด สุขภาพดี วิถีพอเพียง 1 แผนงาน

    เกิดทีมสภาผู้นำ 1 กลุ่ม มีสมาชิกจำนวน 40 คน มีการประชุมทุกเดือน แต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมจำนวน 40 คน มีการทบทวน ติดตาม ประเมินผล และร่วมพัฒนากิจกรรมในโครงการอย่างต่อเนื่อง แผนปฏิบัติการของชุมชน และใช้แผนชุมชน นำมาแก้ปัญหาได้ตรงกับความต้องการของชุมชนตามแนวคิด สุขภาพดี วิถีพอเพียง 1 แผนงาน มีครอบครัวต้นแบบ เศรษฐกิจพอเพียงจำนวน 30 ครัวเรือน

    5 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
    ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
    • เข้าร่วมประชุมกับพี่เลี้ยง และ สจรส.ม.อ.ทุกครั้ง ร้อยละ 100
    • มีป้ายปลอดบุหรี่จำนวน 1 ป้าย และรายงานฉบับสมบูรณ์ จำนวน 1 เล่ม พร้อมรูปภาพ
    • สามารถส่งรายงานให้ สสส.ได้ทันในเวลา และได้ประชาสัมพันธ์งดสูบบุหรี่ในชุมชน

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ด้วยวิถีเกษตรพอเพียง (2) เพื่อให้ประชาชนและกลุ่มอาชีพได้รับการพัฒนาตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถลดรายจ่ายภายในครัวเรือน (3) เพื่อสนับสนุนปฏิบัติการสร้างเกษตรตามเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน (4) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้นำ เกิดสภาผู้นำที่เข้มแข็งในชุมชน (5) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ชุมชนฝาละมีเข้มแข้งครอบครัวอบอุ่นด้วยวิถีพอเพียง

    รหัสโครงการ 58-03979 รหัสสัญญา 58-00-2240 ระยะเวลาโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    การดำรงชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

    เอกสารบันทึกการประชุม

    ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนในพื้นที่ให้มีการดำรงชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    ใช้ข้อมูลของชุมชนมาใช้ในการแก้ปัญหาชุมชน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม

    เอกสารบันทึกการประชุม

    สำรวจและคืนข้อมูลข้อมูลสุขภาพให้แก่ชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    ใช้ข้อมูลของชุมชนมาใช้ในการแก้ปัญหาชุมชน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม

    แผนพัฒนาชุมชน

    สำรวจและคืนข้อมูลข้อมูลสุขภาพให้แก่ชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เกิดสภาชุมชนเป็นแกนนำในการพัฒนาชุมชน

    บันทึกการประชุม

    ให้มีการประชุมหมู่บ้านทุกเดือน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    ศูนย์การเรียนรู้การประกอบอาชีพ

     

    จัดตั้งศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    การตรวจสุขภาพหาสารเคมี เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ

    บันทึกผู้มารับบริการ

    ส่งเสริมให้ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    การปลูกและรับประทานผักปลอดสารพิษ

    ภาพกิจกรรม

    การจัดทำแปลงผักรวม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

    การส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน

    ภาพกิจกรรม

    การจัดหาสถานที่ อุปกรณ์การออกกำลังกายในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    ส่งเสริมสนับสนุนการการลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    บันทึกผู้เข้าร่วมกิจกรรม

    รณรงค์การลด ละ เลิก อบายมุข ในเทศกาลสำคัญๆ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    การร่วมกิจกรรมส่วนร่วมในชุมชน ลดภาวะความเครียด

    บันทึกผู้รับบริการ

    จัดกิจกรรมการออกกำลังกาย งานประเพณีท้องถิ่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    ส่งเสริมสนับสนุนการดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    บันทึกผู้รับบริการ

    ส่งเสริมการใช้แพทย์แผนไทย และสมุนไพร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    การจัดกิจกรรมร่วมกันในครอบครัว

    บันทึกกิจกรรม

    ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ

    ภาพกิจกรรม

    การคัดแยกขยะ การดูแลความสะอาดของลำคลองฝาละมี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    จัดให้มีพื้นที่ ที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชนโดยมีการใช้ศาสนา / ประเพณีในชุมชน เป็นฐานการพัฒนา

    บันทึกผู้เข้าร่วมกิจกรรม

    รณรงค์การขับขี่ปลอดภัย จัดหาพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเด็กและเยาวชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนมีอาชีพเสริม เช่น ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ และมีการออมทรัพย์

    บันทึกผู้เข้าร่วมกิจกรรม

    ส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนประกอบอาชีพเสริม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    ส่งเสริมให้ประชาชน ปลูกและใช้สมุนไพรในชุมชน การนวดแผนไทย แพทย์ทางเลือก

    ทะเบียนผู้รับบริการ

    ส่งเสริมการใช้แพทย์แผนไทย และสมุนไพร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    ให้สิทธิผู้เข้าร่วมกิจกรรมของชุม เป็นพิเศษ

    บันทึกการประชุม

    ย้ำเตือนกติกาชุมชนอย่างสม่ำเสมอ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    ให้ตัวแทนของครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน มากกว่าร้อยละ 80

     

    ย้ำเตือนกติกาชุมชนอย่างสม่ำเสมอ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีการแลกเปลี่ยนเรียนกับหมู่บ้านและชุมชนต้นแบบ

    ภาพกิจกรรม

    การแลกเปลี่ยนเรียนกับชุมชนต้นแบบด้านต่างๆ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    ส่งเสริมให้ชุมชน วิเคราะห์ปัญหา การวางแผนการดำเนินการแก้ปัญหา และการประเมินผลการดำเนินงาน โดย

    แผนพัฒนาชุมชน

    ส่งเสริมให้หมู่บ้าน และ อปท.ใช้แผนแม่บทชุมชนในการพัฒนาหมู่บ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

    ทะเบียนสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์

    ส่งเสริมให้ทุกคนมีการออมทรัพย์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    มีการประชุม นำเสนอ ติดตามการดำเนินงานโครงการอย่างต่อเนื่อง

    บันทึกการจัดกิจกรรม

    ส่งเสริมให้หมู่บ้าน และ อปท.ใช้แผนแม่บทชุมชนในการพัฒนาหมู่บ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    เกิดบุคคลต้นแบบ ปราชญ์ของชุมชน

    ภาพกิจกรรม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    การใช้ข้อมูลในการวางแผนการดำเนินงานแก้ปัญหาของชุมชน

    แผนพัฒนาชุมชน

    ส่งเสริมให้หมู่บ้าน และ อปท.ใช้แผนแม่บทชุมชนในการพัฒนาหมู่บ้าน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    เป็นตัวแทนของจังหวัดในการนำเสนอผลการดำเนินงานให้กับชุมชนอื่นๆ

    ภาพกิจกรรม

    เชิดชูเกียรติบุคคลต้นแบบ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    มีการระดมทุน และผลิตภัณฑ์ของครัวเรือน ในกิจกรรมของชุมชน วัด โรงเรียน

    ภาพกิจกรรม

    ส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์ในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    ทุกครัวเรือนมีกิจกรรมลดรายจ่าย เพิ่มรายได้

    บัญชีครัวเรือน

    ส่งเสริมให้ทุกคนในชุมชนมีการออมทรัพย์

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    มีการแลกเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ระหว่างครัวเรือนและระหว่างชุมชน

    ภาพกิจกรรม

    จัดให้มีตลาดนัดของชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    มีการแก้ปัญหาโดยใช้ข้อมูล โดยกระบวนการมีส่วนร่วม

    แผนชุมชน

    เชิดชูเกียรติบุคคลต้นแบบ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ชุมชนฝาละมีเข้มแข้งครอบครัวอบอุ่นด้วยวิถีพอเพียง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 58-03979

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นส. นิยม ณ พัทลุง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด