directions_run

รักษ์เกาะสาหร่าย หมู่ที่ 5 ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ รักษ์เกาะสาหร่าย หมู่ที่ 5 ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ”

หมู่ที่ 5 ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาว สะอีดีะ สาดล

ชื่อโครงการ รักษ์เกาะสาหร่าย หมู่ที่ 5 ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

ที่อยู่ หมู่ที่ 5 ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 58-03963 เลขที่ข้อตกลง 58-00-1916

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2558 ถึง 15 ตุลาคม 2559


กิตติกรรมประกาศ

"รักษ์เกาะสาหร่าย หมู่ที่ 5 ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 5 ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รักษ์เกาะสาหร่าย หมู่ที่ 5 ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมือง จังหวัดสตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " รักษ์เกาะสาหร่าย หมู่ที่ 5 ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมือง จังหวัดสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 5 ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมือง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 58-03963 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 210,660.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 235 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับคนในชุมชนในการจัดการขยะ
  2. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้
  3. เพื่อพัฒนายกระดับกลไกการขับเคลื่อนงานของชุมชน
  4. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศโครงการ

    วันที่ 7 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อบรมหัวหน้าโครงการเพื่อทำสัญญาการขอรับเงินสนับสนุนการดำเนินโครงการจาก สสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้รู้แนวทางในอบรม เพื่อจะเอามาใช้ในการดำเนินโครงการตามเป้าหมายที่วางไว้
    • ได้รับความรู้จากการอบรมคีย์ข้อมูลของโครงการ
    • ได้รับความรู้การทำรายรับรายจ่าย ในด้านการเงิน

     

    2 1

    2. ถอนเงินคืนเปิดบัญชีธนาคาร

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ดำเนินการตามแผนงานที่วางไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ทำการดำเนินการตามแผนที่วางไว้แล้ว

     

    3 3

    3. ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่

    วันที่ 9 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ไม่มี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดพื้นที่เขตปลอดบุหรี่ในชุมชน ได้ตระหนักไม่สูบบุหรี่ในพื้นที่ดังกล่าว

     

    2 250

    4. ประชุมคณะทำงานโครงการจำนวน 1 ครั้ง

    วันที่ 13 พฤศจิกายน 2558 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมคณะทำงานโครงการ ม. 5 บ้านเกาะสาหร่าย เริ่มประชุมโดยผู้ประสานงานโครงการนางสาวสะอีด๊ะ ได้ชี้แจงความเป็นมาของโครงการ การเริ่มต้นการทำโครงการของพื้นที่หมู่ 5 เกาะสาหร่ายนั้นมีที่มาจากพี่เลี้ยงโครงการสสัมมาชีพแนะนำเพื่อให้พื้นที่สามารถขับเคลื่อนงานต่อได้จากงานที่มีอยู่แล้วในพื้นที่และจากการวิเคราะห์สถานการณ์พื้นที่พบว่าสถานการณ์ที่เป็นปัญหาของพื้นที่คือปัญหาขยะทะเล ซึ่งคณะทำงานมองว่าถ้าพื้นที่จะทำเรื่องการท่องเที่ยวคนในชุมชนต้องสามารถจัดการเรื่องขยะได้ แต่กว่าจะได้มาของโครงการทางคณะทำงานก็ได้มีการเดินทางไปร่วมกับพี่เลี้ยง สสส.และ สจรส.หลายรอบเนื่องจากต้องผ่านการพัฒนาโครงการของพี่เลี้ยงจนเห็นกระบวนการทำงานโครงการที่ชัดเจนแล้วเข้าพบผู้ทรงคุณวุฒิ
    • คุณกัลยทรรศน์ ความเป็นมาของพี่เลี้ยงโครงการเป็นผู้ประสานงานเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัดสตูล งานหลักประกันสุขภาพภาคประชาชน ภารกิจภายใต้การขับเคลื่อนคือรับเรื่องร้องเรียน ให้คำปรึกษา ประชาสัมพันธ์ และเสริมสร้างความเข้มแข็ง อีกเรื่องคือสมัชชาสุขภาพจังหวัด งานด้านเอดส์ ทั้งงานป้องกัน ฟื้นฟู และงานเยาวชน สุดท้ายคือเป็นพี่เลี้ยงโครงการชุมชนน่าอยู่ (สสส.) ส่วนโครงการที่ม. 5 เกาะสาหร่ายได้รับโครงการครั้งนี้ก็ได้มาค่อนข้างยาก แต่เมื่อมีงบประมาณมาแล้วคณะทำงานต้องดำเนินการตามแผนงานกิจกรรมและสามารถตอบตัวชี้วัดด้วย ภายใต้โครงการชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ได้รับงบประมาณมาจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)สำนัก 6 เป้าประสงค์ของโครงการนี้ต้องการทำให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมและเกิดสภาผู้นำหมู่บ้าน 1 สภา เพื่อมานั่งพูดคุยกันเป็นประจำทุกเดือนในการมานั่งพูดคุยด้วยวาระของหมู่บ้าน และเมื่อเกิดสภาผู้นำหมู่บ้านแล้วก็จะใช้ประเด็นขยะเป็นตัวขับเคลื่อนโดยมีเด็กเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม เพื่อให้ตอบโจทย์สถานการณ์ปัญหาอื่นๆที่มีอยู่ในชุมชนด้วย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานโครงการมีความเข้าใจในการทำงานและมีส่วนร่วมในการวางแผนนำไปสู่การจัดตั้งสภาหมู่บ้านที่ต้องมีการประชุมร่วมกันทุกเดือน แบ่งบทบาทหน้าที่ในการทำงานโครงการ ซึ่งต้องมีฝ่ายบันทึกข้อมูล เจ้าหน้าที่การเงิน ประธานสภาที่สามารถนำกระบวนการพูดคุยได้ กิจกรรมหลักของโครงการคือ การประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านประจำเดือนซึ่งประกอบด้วย คณะกรรมการหมู่บ้านและตัวแทนกลุ่มองค์กรต่างๆที่มีอยู่ในชุมชน กิจกรรมการจัดทำฐานข้อมูลเรื่องขยะ วิเคราะห์ข้อมูล คืนข้อมูลให้ชุมชน พัฒนาศักยภาพสภาผู้นำหมู่บ้าน และสุดท้ายก็มีการสรุปถอดบทเรียนการทำงานโครงการที่นำไปสู่การขยับงานในประเด็นต่างๆของพื้นที่

    • มีความเข้าใจการจัดทำเอกสารทางการเงิน ทาง สสส.สนับสนุนเพิ่มจำนวน 13,000 บาท ซึ่งในการสนับสนุนงบประมาณแบ่งเป็น 3 งวด การเบิกจ่ายงบประมาณพื้นที่สามารถมีเงินสดในมือได้ไม่เกิน 5,000 บาท

     

    20 22

    5. ประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านครั้งที่ 1

    วันที่ 3 ธันวาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประธานโครงการได้ชี้แจง เรื่องการจัดการขยะในชุมชนหมู่ที่ 5 ซึ่งได้รับงบประมาณมาจากโครงการ สสส. เพื่อให้ทุกรับทราบ ชี้แจงรายละเอียด คณะทำงานโครงการ ประมาณ 15 -20 คน รวมทั้งที่ปรึกษาโครงการ คือ นายกอบต.เกาะสาหร่าย ผอ.รร.บ้านเกาะสาหร่าย ผอ.รพ.เกาะสาหร่าย กำนันตำบลเกาะสาหร่าย และโตะอีหม่ามหมู่ที่ 5
    • คณะทำงานโครงการ ร่วมกับที่ปรึกษา หารือพูดคุย เพื่อหาแนวทางในการนำเงินที่ได้รับจากโครงการมาบริหารงานได้อย่างถูกต้องตามแผนงานโครงการ ที่ไ้ด้งบประมาณในครั้งนี้ เพื่อที่จะนำมาดูแลในเรื่องการท่องเที่ยวชุมชนและเชื่อมโยงให้กับเยาวชนในหมู่บ้านได้ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชน
    • กำนันได้พูดคุยเรื่องยาเสพติดในชุมชน เืพ่อให้ผู้ปกครองได้สอดส่องดูแลลูกหลานของท่านในชุมชน เพราะเรื่องยาเสพติดเป็นปัญหาของครอบครัวและเยาวชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนงานของชุมชนอย่างต่อเนื่อง มีแผนปฏิบัติการในการทำงานแต่ล่ะครั้ง
    • มีสภาผู้นำเยาวชน จำนวน 1 สภา และสภาผู้นำ จำนวน 1 สภา

     

    35 30

    6. อบรมการเขียนรายงานและการเงิน

    วันที่ 4 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • การบันทึกกิจกรรมโครงการ
      • ขั้นตอนการปฏิบัติงานตามแผน
    • เอกสารประกอบรายงานการทำกิจกรรม
      • รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
      • ใบสำคัญการรับเงิน
      • สำเนาบัตรผู้รับเหมา
      • เอกสารทางภาษี
    • ภาพถ่ายกิจกรรม
    • รายงานการทำกิจกรรม
    • วิธีคำนวนภาษี
    • ประเภทงบประมาณ
      • ค่าตอบแทน
      • ค่าจ้าง
      • ค่าใช้สอย
      • ค่าวัสดุ
      • ค่าสาธาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    บันทึกรายงานผลการทำกิจกรรมโครงการ เข้าใจการเขียนใบสำคัญรับเงิน การออกใบเสร็จร้านค้าที่ถูกต้อง มีการบริหารวางแผนทำกิจกรรมและเข้าใจเรื่องการเขียนรายงานผลลัพธ์ผลิต

     

    2 0

    7. ประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านครั้งที่2

    วันที่ 30 มกราคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดเวทีครัวเรือน
    • กำหนดสถานที่ดูงานนอกสถานที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จัดเวทีครัวเรือน ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559
    • กำหนดสถานที่ดูงานนอกสถานที่ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2559

     

    35 30

    8. จัดเวทีชี้แจงทำความเข้าใจโครงการให้กับคนในชุมชนได้รับทราบจำนวน 100 คน

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 15:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชี้แจงวิธีการคัดแยกขยะให้กับชาวบ้านที่เข้าร่วม
    • ร่วมกันกำหนดแนวทางการดำเนินกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ชาวบ้านได้เรียนรู้วิธีการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง
      • การวางแนวทางการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เป็นไปในทางเดียวกันกิดขึ้น

     

    100 130

    9. พบพี่เลี้ยง

    วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ตรวจสอบเอกสารการเบิกจ่ายเงินงบประมาณโครงการในแต่ละกิจกรรมเพื่อความถูกต้อง
    • ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการจ่ายเงิน
    • แนะนำวิธีการเปลี่ยนแปลงปฎิทินกิจกรรมโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เข้าใจหลักการในการจัดทำรายงานการดำเนินกิจกรรมโครงการ และการจัดทำเอกสารการเบิกจ่ายงบประมาณมากยิ่งขึ้น

     

    2 2

    10. ประชุมทีมสภาผู้นำในการจัดทำแบบสำรวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะที่มีในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านเกาะสาหร่าย

    วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมทำความเข้าใจเรื่องข้อดีของการได้มาซึ่งข้อมูลและร่วมกันออกแบบ แบบสำรวจที่จะต้องลงเก็บข้อมูล
    • ประสานทีมคณะทำงานวิชาการจำนวน 36 คน
    • ประสานวิทยากรที่จะมาช่วยออกแบบ แบบสำรวจข้อมูลเพื่อสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน
    • จัดเวทีสร้างความเข้าใจและออกแบบสำรวจข้อมูลจำนวน 1 วัน
    • สรุปผลการจัดประชุมพร้อมรายงานผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • นัดทีมคณะทำงานมาหารือตกลงกำหนดวันในการลงเก็บข้อมูลในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2558
    • ได้แบบสำรวจข้อมูลจำนวน 1 ชุด

     

    36 34

    11. ประชุมทีมคณะทำงานลงเก็บข้อมูล

    วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชี้แจงวิธีการเก็บข้อมูลโดยให้แกนนำจับกันเป็นคู่กับเยาชนเพื่อให้เยาวชนได้เข้ากระบวนการทำงานของภาคประชาชนลงพื้นที่สำรวจเก็บข้อมูล
    • นำข้อมูลที่ได้มารวบรวมเพื่อวิเคราะห์ปันหาเรื่องขยะ
    • เก็บข้อมูลเพื่อหาแนวทางแก้ไข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ข้อสรุปกำหนดวันในการลงพื้นที่เก็บข้อมูลเป็นวันที่13 กุมภาพันธ์2558

     

    31 31

    12. พบพี่เลี้ยง

    วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ทำรายงาน ตรวจเอกสารการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ทำรายงาน  ลงข้อมูล  ทำรายงานการเงิน

     

    2 2

    13. กิจกรรมปิดงวดที่1

    วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เพื่อตรวจเอกสารกิจกรรมโครงการ พร้อมกับรายงานการเงิน เพื่อปิดงวดโครงการ ครั้งที่ 1 ณ สจรส.มอ.หาดใหญ่ จำนวน 2 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ตรวจเอกสารกิจกรรมโครงการ พร้อมกับรายงานการเงิน เพื่อปิดงวดโครงการ ครั้งที่ 1

     

    2 2

    14. ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะ จำนวน 10 วัน

    วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เพื่อให้ได้ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะ เช่น จำนวน ชนิด ของขยะที่มีในชุมชน
    • แบ่งทีมลงพื้นที่เก็บข้อมูลตามแบบสำรวจที่ได้ร่วมกันออกแบบ
    • ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลขยะจำนวน 10 วัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะ จำนวน 10 วัน
    • ได้ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาขยะในพื้นที่ที่จะนำไปสู่การจัดการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
    • แยกย้ายลงสำรวจพื้นที่เก็บข้อมูลตามครัวเรือน ในพื้นที่ ม. 5 ต. เกาะสาหร่าย
    • เยาวชนจับคู่กับแกนนำชุมชน
    • เยาวชนกล้าแสดงออกในการทำงานสำรวจข้อมูลในครั้งนี้
    • เยาวชนมีความรับผิดชอบต่อกิจกรรมที่ได้มอบหมายให้
    • เยาวชนได้มีการใช้สื่อในการลงสำรวจข้อมูล
    • แกนนำชุมชนมีความกระตือรือร้นในการทำสำรวจมากขึ้น

     

    30 30

    15. ประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านครั้ง3

    วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • พูดคุยเรื่องปัญหาขยะในชุมชน ในการที่ทีมเก็บข้อมูล ได้เจอปัญหาที่ชาวบ้านได้สะท้อนมา คือปัญหาเรื่องถังขยะไม่เพียงพอ อยากให้อบต.จ้างพนักงานกวาดขยะ ริมถนน เพื่อให้ดุสะอาด มากยิ่งขึ้น อยากให้มีถังขยะแยกประเภท อย่างชัดเจน
    • ทางทีมงานที่ได้สำรวจข้อมูล ให้คำแนะนำกับชาวบ้าน เพื่อสร้างจิตสำนึกในครอบครัวในการแยกขยะให้เป็นระบบ บางสิ่งบางอย่าง เราสามารถที่จะจัดการภายในครัวเรือนเราเองได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานโครงการร่วมกับเยาวชนได้ปรึกษาหารือ วิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลขยะ
    • ได้นัดและกำหนดวันในการสังเคราะห์ข้อมูลในวันที่ 3 มีนาคม 2559 จำนวน 1 วัน ณ มาตาฮารีโฮมเสตย์
    • ได้มีกลุ่มเป้าหมาย วิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลขยะ จำนวน 31 คน พร้อมวิทยากร 1 คน
    • ทีมคณะกรรมการได้จัดรูปแบบในการสังเคราะห์ข้อมูล ร่วมกับเยาวชน

     

    35 30

    16. ประชุมร่วมกับพี่เลี้ยงเคลียร์เอกสารการเงิน

    วันที่ 28 มีนาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ปรึกษาการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เข้าใจการทำการเงิน

     

    2 2

    17. ประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านครั้งที่4

    วันที่ 23 เมษายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • สรุปงานหลังจากปิดงบประมาณงวดที่ 1 หลังจากที่กลับจากศูนย์คุ้มครองผู้บริโภค สรุปค่าใช้จ่ายในการปิดงบได้ไปตามวัตถุประสงค์ ตามโครงการที่ได้วางไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • การสรุปการเงิน สรุปภาพกิจกรรมที่ผ่านมา ตามแผนที่วางไว้ในโครงการ

     

    35 35

    18. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน

    วันที่ 25 เมษายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      - รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน - เก็บกวาดขยะในชุมชนให้เป็นชุมชนที่มีความสะอาดไม่มีขยะตามที่สาธารณะ
    - รณรงค์การใช้ตระกร้าไปจ่ายตลาด
    - รณรงค์การคัดแยกขยะ
    - ร่วมปลูกต้นไม้กินได้ในที่สาธารณะเพื่อเป็นสัญลักษณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      - พนักงานอบต. และประชาชนในชุมชนเกิดความรู้และเข้าใจมากยิ่งขึ้น - มีต้นไม้เพิ่มยิ่งขึ้น

     

    35 35

    19. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      - รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน - เก็บกวาดขยะในชุมชนให้เป็นชุมชนที่มีความสะอาดไม่มีขยะตามที่สาธารณะ
    - รณรงค์การใช้ตระกร้าไปจ่ายตลาด
    - รณรงค์การคัดแยกขยะ
    - ร่วมปลูกต้นไม้ในที่สาธารณะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      - นักเรียนและประชาชนในชุมชนเกิดความรู้มากยิ่งขึ้น - มีต้นไม้เพิ่มมากขี้น  

     

    65 65

    20. ประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านครั้งที่5

    วันที่ 18 พฤษภาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดำเนินการเรื่องรองบประมาณในการดำเนินกิจกรรมที่ทาง สสส. จะโอนให้มา ทาง สสส. ยังไม่ได้จัดสรรงบประมาณให้ทางกลุ่มได้ ทางกลุ่มโครงการรักษ์เกาะสาหร่าย ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมต่อไปได้  ได้นัดประชุมสภาผู้นำได้อย่างเดียว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้เพิ่มเติมเรื่องการจัดการขยะ ในชุมชน โรงเรียน ตามสถานที่ รีสอร์ทต่าง ๆ และที่สาธารณประโยชน์ ริมทะเล ช่วยกันรักษาดูแล เพื่อไม่ให้กระทบต่อชุมชนในการต้อนรับนักท่องเที่ยว และการจัดการขยะให้เป็นระบบ ของชุมชนและอบต.ที่รับผิดชอบในการเก็บขยะ เพื่อทำลายให้ถูกลักษณะและเหมาะสม

     

    35 35

    21. ประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านครั้งที่6

    วันที่ 4 มิถุนายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ได้ดำเนินการเกี่ยวกับกิจกรรมที่ยังไม่ได้ดำเนินกิจกรรม และต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จ ช่วงปลายเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม -กันยายน2559 เวลาในการดำเนินกิจกรรมเหลือน้อย เพื่อให้กิจกรรมได้ทันกับปิดงบประมาณ ในปลายเดือนกันยายน 2559 นี้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ดำเนินการแก้ไขปฏิทินการดำเนินงาน ของแต่ละกิจกรรมและได้วางปฏิทินการดำเนินงานใหม่ ในการดำเนินกิจกรรมโครงการครั้งต่อไป

     

    35 35

    22. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน

    วันที่ 10 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      - รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน - เก็บกวาดขยะในชุมชนให้เป็นชุมชนที่มีความสะอาดไม่มีขยะตามที่สาธารณะ
    - รณรงค์การใช้ตระกร้าไปจ่ายตลาด
    - รณรงค์การคัดแยกขยะ
    - ร่วมปลูกต้นไม้ในที่สาธารณะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      - กลุ่ม อสม. ประชาชนในชุมชน เกิดความรู้เพิ่มมากขึ้น - มีต้นไม้ในที่สาธารณะเพิ่มมากขึ้น

     

    40 40

    23. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน

    วันที่ 8 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      - เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน - เพื่อเก็บกวาดขยะในชุมชนให้เป็นชุมชนที่มีความสะอาดไม่มีขยะตามที่สาธารณะ
    - รณรงค์การใช้ตระกร้าไปจ่ายตลาด
    - รณรงค์การคัดแยกขยะ
    - ร่วมปลูกต้นไม้กินได้ในที่สาธารณะเพื่อเป็นสัญลักษณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      - ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้ เรื่องการจัดการขยะ มากยิ่งขี้น - พัฒนามัสยิดบ้านเกาะยะระโตดใหญ่ ให้ดูสะอาดยิ่งขึ้น - มีต้นไม้ ในที่สาธารณะเพิ่มมากขึ้น 

     

    30 30

    24. ประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านครั้งที่7

    วันที่ 2 สิงหาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนงานของชุมชน
    • มีการประชุมกันอย่างต่อเนื่อง 10 ครั้งต่อปี
    • มีแผนปฏิบัติการในการทำงานแต่ละครั้งที่นำไปสู่การทำงานอย่างมีส่วนร่วมในชุมชน
    • สรุปผลรายงานกิจกรรมแต่ละครั้ง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ความร่วมมือจากคณะทำงานและทีมสภาผู้นำเยาวชน อสม. กลุ่มแม่บ้าน อบต.
      • ได้จัดทำแผนงานกิจกรรมอยา่งต่อเนื่องในชุมชน
      • ได้ข้อมูลเรื่องการจัดการขยะ นำไปสู่ชุมชน เพื่อพัฒนาต่อไปให้ยั่งยืน

     

    39 39

    25. เวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชน จำนวน 100 คน

    วันที่ 4 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ได้เชิญวิทยากรให้ความรู้เวทีคืนข้อมูลขยะ
      • วิทยากรได้ให้ความรู้เรื่องขยะ การคัดแยกขยะ การรีไซเคิล
      • วิทยากรได้นำอุปกรณ์ตัวอย่างเพื่อให้ครัวเรือนอาสาได้ศึกษาเรื่องขยะให้ถูกวิธี เพื่อที่จะปรับใช้ในครัวเรือน
      • วิทยากรได้ให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะให้ถูกวิธี ก่อนที่จะเอาไปทิ้งลงถัง หรือเอาไปทำลาย เพื่อไม่ให้กระทบกับคนในชุมชน
      • วิทยากรถ่ายวีดีโอให้กับเวทีคืนข้อมูล เพื่่อให้ครัวเรือนได้เห็นกระบวนการในการจัดการขยะ ที่ถูกวิธี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ข้อมูล จากการสำรวจขยะ เพื่อเป็นแนวทางในการเปลี่ยนแปลงต่อไป
      • จากการสำรวจข้อมูล สามารถสรุปได้ว่า ขยะส่วนมากมาจากท้องทะเล โดยมากับคลื่นทะเลซัดมา
      • ขยะที่รองลงมาจากท้องทะเล คือ กล่องโฟม กระป๋องนม กิ่งไม้ข้างถนน ขวดแก้วที่ทิ้งลงในทะเล แพมเพิส
      • ครัวเรือนอาสาได้เก็บข้อมูลมาเรื่องขยะ สรุปได้ว่า ขยะที่มีมาก อยู่แถวบริเวณหน้าสะพานหลวง และแถวบ้านแหลมกาหรีม ตามแพปลาในชุมชน
      • บางครัวเรือน ไม่ได้มีการแยกขยะ อย่างถูกต้อง ถูกวิธี ส่วนมากครัวเรือนจะใส่ขยะในถังรวมกัน ไม่ว่าเปียกหรือขยะแห้ง
      • บนเกาะสาหร่าย หมู่ที่ 5 และ 6 จากการสำรวจถังขยะ ทุกครัวเรือน สรุปว่าเยอะกว่าที่อื่น
      • ไม่มีการแยกขยะอันตราย ในครัวเรือน ส่วนมากใส่รวมไปในถัง

     

    120 120

    26. รณรงค์ประชาสัมพันธ์เรื่องการจัดการขยะในชุมชน

    วันที่ 12 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      - เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน - เพื่อเก็บกวาดขยะในชุมชนให้เป็นชุมชนที่มีความสะอาดไม่มีขยะตามที่สาธารณะ
    - รณรงค์การใช้ตระกร้าไปจ่ายตลาด
    - รณรงค์การคัดแยกขยะ
    - ร่วมปลูกต้นไม้กินได้ในที่สาธารณะเพื่อเป็นสัญลักษณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      - ชาวบ้านที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ในการจัดการขยะ - สำนักสงฆ์เกิดความสะอาดมากยิ่งขึ้น - มีต้นไม้ในสาธารณะเพิ่มขึ้น

     

    1 20

    27. ประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านครั้งที่8

    วันที่ 17 สิงหาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      - ประชุมเตรียมทีมงานในการจัดเวทีอบรมพัฒนาศักยภาพทีมทำงาน - ประสานวิทยากรกระบวนการ - เตรียมสถานที่จัดอบรม - สรุปผลการจัดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      - ขบวนการการทำงานของคณะกรรมการทีมสภาเยาวชน กลุ่ม อสม. แม่บ้าน คณะครู ฝ่ายปกครอง - มอบหมายให้รับผิดชอบกิจกรรมที่จะจัดทีมสภาผู้นำหมู่บ้าน ในด้านจิตอาสาต่อชุมชน - ทีมสภาผู้นำเยาวชนได้รู้บทบาทหน้าที่การทำงานต่อชุมชนและเรื่องการทำงานด้านจิตอาสา

     

    35 35

    28. พัฒนาศํกยภาพทีมสภาผู้นำหมู่บ้าน

    วันที่ 20 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      - เรียนรู้ในการพัฒนาศักยภาพในการจัดการขยะ การเปรียบเทียบระหว่างถังขยะกับจิตสำนึกของคนแต่ละประเภท - ได้เรียนรู้เป้าหมายเครือข่ายลำสินธุ์แพรทอง - เรียนรู้เรื่องกำจัดขยะ การรีไซเคิลเพื่อให้เกิดประโยชน์
    - ได้เรียนรู้เรื่องพลังงานแสงอาทิตย์ จากประสบการณ์เครือข่ายลำสินธุ์แพรทอง
    - การเป็นแกนนำ ซึ่งต้องเป็นต้นแบบตัวอย่างที่ดีในการสร้างจิตสำนึกในจิตใจ - สอนเรื่องการจัดการขยะ ซึ่งให้ถูกต้องตามหลักอนามัย เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวเอง - ผู้นำในเครือข่ายแพรทอง ตำบลลำสินธุ์ ได้ทำงานอย่างมีส่วนร่วมและมีจิตอาสาในการพัฒนาชุมชน ได้อย่างต่อเนื่อง - ได้เรียนรู้เรื่องศูนย์ข้อมูล ตำบลลำสินธุ์ ที่ครบทุกหน่วยงานในชุมชน ได้มาเป็นศูนย์เรียนรู้ให้กับคนภายนอกที่มาศึกษาดูงาน ตลอดต่อเนื่อง - คณะกรรมการ ทีมสภาผู้นำหมุ่บ้านได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับคณะทำงาน กับเครือข่าย แพรทอง ตำบลลำสินธุ์ ในการด้านการทำงาน ด้านจิตอาสา ที่ดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน และได้มีศูนย์ในชุมชน จากหน่วยงานภาครัฐที่สนับสนุน ให้จัดตั้ง ศูนย์เรียนรู้ในหมู่บ้านที่เกิดรายได้ให้กับชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      - เรียนรู้เพิ่มเติมเพื่อเป็นแบบอย่าง และสามารถบริหารจัดการในการทำงานในชุมชนต่อไป - ชุมชนตำบลลำสินธุ์มีความเข้มแข็ง ในการทำงาน มีส่วนร่วมในชุมชน - ตำบลลำสินธุ์มีการจัดการในกลุ่มอย่างถูกวิธี - ภาครัฐ หรือ เอกชน และหน่วยงานต่างๆ ได้เข้าไปเก็บข้อมูลในชุมชนทุก ๆ เดือนจากความเข้มแข็งในชุมชน

     

    37 37

    29. ประชุมร่วมกับพี่เลี้ยง ปรึกษาเอกสารการเงิน

    วันที่ 22 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำเอกสารการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เข้าใจการทำการเงิน

     

    2 2

    30. ประชุมครัวเรือนนำร่อง จำนวน 60 ครัวเรือน

    วันที่ 24 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      - วิทยากรได้ให้ความรู้เรื่องการเข้าร่วมโครงการและทำความเข้าใจกฎกติกาของกลุ่ม - วิทยากรได้ให้ความรู้เรื่องขยะเปียก ขยะแห้ง ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย - วิทยากรให้ความรู้จุดปลอดขยะของชุมชน - วิทยากรชี้แนะเรื่องจุดรับซื้อขยะในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      - ครัวเรือนได้ความรู้จากวิทยากร เรื่องการคัดแยกขยะ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ จุดปลอดขยะในชุมชน เกี่ยวกับขยะอันตราย การวางจุดทิ้งขยะให้เป็นระบบ เพื่อความเรียบร้อยในชุมชน และได้มีการแบ่งสีถังขยะได้อย่างชัดเจน

     

    60 62

    31. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่างพื้นที่การจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน

    วันที่ 31 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      - กลุ่มเยาวชนได้ทำบัญชีครัวเรือนเรื่องขยะ - เยาวชนได้มีกิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในชุมชน - ได้เรียนรู้ถึงการแลกเปลี่ยนต่างๆที่อยู่รอบตัวเอง
    - ได้เรียนรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงของผู้นำและชาวบ้าน ให้ความร่วมมืออย่างดี - ภายในหมู่บ้านมีการจัดการขยะอย่างถูกต้องและถูกวิธี เป็นตัวอย่างที่ดีให้กับผู้ที่ไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสามารถนำไปพัฒนาหมู่บ้านได้ - แกนนำ สสส.มีความรู้ในการทำขนม มีความประทับใจในสถานที่และการแลกเปลี่ยนแปลงในด้านการพัฒนาศักยภาพในการเรียนรู้ การเป็นอยู่ การกำจัดอาหาร เอาของที่มีมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด - การกำจัดขยะภายในโรงเรียน มีการกำจัดขะยหลายรูปแบบ มีแนวคิดในการทำเกษตกรในรูปแบบต่างๆ
    - กลุ่มผู้ใหญ่บ้าน มีความประทับใจในการได้มาทำงานร่วมกับเด็กนักเรียน แกนนำต่างๆ มีความสุขในการทำงานดังกล่าว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      - ผู้ทีไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้มีความรู้เพิ่มเติม จากการไปแลกเปลี่ยนในครั้งนี้ และสามารถนำมาพัฒนาหมู่บ้านได้ต่อไป

     

    30 34

    32. อบรมให้ความรู้ครัวเรือนนำร่องเรื่องการจัดการขยะ

    วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 09.00 - 12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ครัวเรือนนำร่องจำนวน 62 ครัวเรือน มีความเข้าใจเรื่องการคัดแยกขยะ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากมูลสัตว์และเศษอาหาร หรือขยะเปียก
      • มีการเปลี่ยนแปลงเอาขยะมารีไซเคิลมาทำปุ๋ยหมัก ขยะที่ขายได้นำไปขาย ขยะอันตรายนำไปแลกเป็นของใช้
      • สร้างจิตสำนึกให้กับทุกคนในเรื่องการจัดการขยะ ลดการใช้ถุงพลาสติก โฟม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ครัวเรือนนำร่อง มีความเข้าใจเรื่องการคัดแยกขยะ การทำทำปุ๋ยหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากมูลสัตว์และเศษอาหาร หรือขยะเปียก
      • มีความรู้เพิ่มเติมการนำขยะมารีไซเคิลมาทำปุ๋ยหมัก ขยะที่ขายได้นำไปขาย ขยะอันตรายนำไปแลกเป็นของใช้
      • สร้างจิตสำนึกให้กับทุกคนในเรื่องการจัดการขยะ ลดการใช้ถุงพลาสติก โฟม

     

    62 62

    33. อบรมให้ความรู้และจัดตั้งธนาคารขยะ

    วันที่ 20 กันยายน 2559 เวลา 13.30 - 16.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • อบรมให้ความรู้ตัวแทนครัวเรือน เกี่ยวกับกระบวนการ ขั้นตอน ของธนาคารขยะ
      • แต่งตั้งคณะกรรมการพร้อมแบ่งหน้าที่ให้กับกรรมการธนาคารขยะ
      • กำหนดวันในการรับฝากขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีการเรียนรู้ขยะอันตราย การดูแลสุขภาพ การประชาคมเรื่องขยะ มีการรับซื้อขยะในชุมชน
    • มีการเรียนรู้ขยะอันตราย การเดินสำรวจขยะอันตรายทุกครัวเรือน
      • ทำประชาคม ธนาคารขยะ แลกไข่มีการวัดความดัน ช่างน้ำหนัก ให้กับชาวบ้านที่มาแลกขยะ เพราะเกี่ยวกับสุขภาพ
      • แต่งตั้งคณะกรรมการพร้อมแบ่งหน้าที่ให้กับกรรมการธนาคารขยะ
      • มีการรับซื้อขยะในชุมชน ทุกวันที่ 5 ของทุกเดือน เริ่มจากเวลา 14.00 น. - 17.00 น.

     

    61 61

    34. ประชุมคณะกรรมการประเมินครัวเรือนต้นแบบจำนวน 15 คน

    วันที่ 24 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      - ประชุมคณะกรรมการประเมินครัวเรือนต้นแบบ 15 คน ในด้านความสะอาด และการคัดแยกขยะ - จะมีกิจกรรมรณรงค์โดยการเดินขบวนพาเลส ร่วมด้วย คณะกรรมการ สสส. และอสม. นักเรียน ม.1 - ม. 3 - การใช้ตะกร้าในการไปซื้อของแทนถุงพลาสติก - ครัวเรือนนำร่องจะต้องรู้จัการคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      - ครัวเรือนมีการวางแผนการคัดแยกขยะ
    - ครัวเรือนมีการทำปุ๋ยหมักจากมูลสัตว์ - ครัวเรือนมีความสะอาด รักสิ่งแวดล้อมในครัวเรือน - ครัวเรือนต้องเป็นต้นแบบให้กับชุมชน

     

    15 15

    35. จัดประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางมาตรการในการลดทางนำขยะในชุมชนและร้านค้า

    วันที่ 26 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • การมองความร่วมมือในการไปซื้อของ ไม่เอาถุงพลาสติก เปลี่ยนเป็นถุงผ้าหรือตะกร้า
      • การแยกขยะเปียก เช่น ปลาเปลือกผลไม้ สามารถนำมาทำปุ๋ยหมัก แล้วนำมาใช้ใส่ต้นไม้
      • ขยะที่ย่อยยากแต่บางอย่างสามารถนำมาใช้ได้อีกคือมีการแยกออกเป็นแต่ละประเภท
      • ขยะอันตราย ต้องการเก็บให้ถูกวิธี
      • การงดใช้โฟมในร้านค้า เพราะมีสารอันตรายต่างๆ
      • น้ำมันให้ใช้แค่ 2 ครั้ง
      • การทำอาหารต้องมีพื้นที่สูง 10 เซนติเมตร
      • ถ้วยชามต้องมีผ้าสีขาวปิดไว้
      • อาหารควรมีการแยก ผักและอาหารสด ถ้ามีเป็นกล่องจะดีมาก
      • ช้อนต้องตั้งให้ถูกต้อง ปลายขึ้นบน
      • ร้านของชำ ชั้นวางของต้องสูง ต้องมีการแยกขนม มีการแนะนำการใช้ถุง ย่าม หรือตะกร้า ควรสำรวจขนมที่ซื้อมาขายให้มีประโยชน์ต่อผู้บริโภค การใส่ผงชูรสไม่ดีต่อสุขภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • การมองความร่วมมือในการไปซื้อของ ไม่เอาถุงพลาสติก เปลี่ยนเป็นถุงผ้าหรือตะกร้า
      • การแยกขยะเปียก เช่น ปลาเปลือกผลไม้ สามารถนำมาทำปุ๋ยหมัก แล้วนำมาใช้ใส่ต้นไม้
      • ขยะที่ย่อยยากแต่บางอย่างสามารถนำมาใช้ได้อีกคือมีการแยกออกเป็นแต่ละประเภท
      • ขยะอันตราย ต้องการเก็บให้ถูกวิธี
      • การงดใช้โฟมในร้านค้า เพราะมีสารอันตรายต่างๆ
      • น้ำมันให้ใช้แค่ 2 ครั้ง
      • การทำอาหารต้องมีพื้นที่สูง 10 เซนติเมตร
      • ถ้วยชามต้องมีผ้าสีขาวปิดไว้
      • อาหารควรมีการแยก ผักและอาหารสด ถ้ามีเป็นกล่องจะดีมาก
      • ช้อนต้องตั้งให้ถูกต้อง ปลายขึ้นบน
      • ร้านของชำ ชั้นวางของต้องสูง ต้องมีการแยกขนม มีการแนะนำการใช้ถุง ย่าม หรือตะกร้า ควรสำรวจขนมที่ซื้อมาขายให้มีประโยชน์ต่อผู้บริโภค การใส่ผงชูรสไม่ดีต่อสุขภาพ

     

    36 40

    36. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ขยะในชุมชน

    วันที่ 30 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะกรรมการได้จัดวางแผนงานก่อนประชาสัมพันธ์และเดินรณรงค์เรื่องขยะ
      • ณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เรื่องจัดการขยะ เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 6 ครั้ง
      • ครั้งที่ 1 ให้กรรมการประชาสัมพันธ์เสียงตามสายของอบต.
      • ครั้งที่ 2 ให้สภาเด็กเยาวชนตำบลเกาะสาหร่าย ประชาสัมพันธ์เสียตามสายในโรงเรียน
      • ครั้งที่ 3 ให้กลุ่มอสม.ประชาสัมพันธ์เรื่องจัดการขยะ ที่ รพ.สต.เกาะสาหร่าย
      • ครั้งที่ 4 คณะกรรมการโครงการรักษ์เกาะสาหร่าย ประชาสัมพันธ์ที่มัสยิด หมู่ที่ 5 ของวันศุกร์ หลังละหมาด
      • ครั้งที่ 5 ให้คณะกรรมการประชาสัมพันธ์ที่สำนักสงฆ์เกาะสาหร่าย
      • ครั้งที่ 6 เดินรณรงค์ขยะพร้อมประชาสัมพันธ์จากหลายองค์กรในชุมชน มีอบต. โรงเรียน เด็กเยาวชน กลุ่มอสม. กลุ่มแม่บ้าน ฝ่ายปกครอง และชาวบ้าน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      - ทุกหน่วยงานให้ความร่วมมือ ในการประชาสัมพันธ์ดังกล่าว

     

    6 6

    37. ลงพื้นที่ประเมินโดยคณะกรรมการ แบ่งประเมิน จำนวน 2 วัน

    วันที่ 2 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ลงพื้นที่ประเมิน โดยคณะกรรมการ แบ่งประเมิน จำนวน2 วัน
      • ประเมินโดยเกณฑ์ที่วางไว้แล้วนำมาสรุปร่วมกันเพื่อให้ได้ครัวเรือนปฏิบัติตามกติกาได้อย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นครัวเรือนต้นแบบให้ครัวเรือนอื่นได้เรียนรู้แล้วขยายไปสู่ครัวเรือนอื่่น ๆ ในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ครัวเรือนอาสา 60 ครัวเรือนนำร่อง ของโครงการรักษ์เกาะสาหร่าย ที่ได้เข้าร่วมโครงการมาตลอดทุกกิจกรรม
      • ครัวเรือนอาสา ได้มีการคัดแยกขยะก่อนไปทิ้ง
      • ครัวเรือนอาสา ได้ทำปุ๋ยหมัก นำเศษอาหารไปให้สัตว์เลี้ยง เช่น เป็ด ไก่ปลา
      • ครัวเรือนอาสา ได้ทำความสะอาด จัดบริเวณบ้าน เพื่อความเรียบร้อย เป็นบ้านที่น่ามอง
      • ครัวเรือนอาสา ได้จัดการเรื่องการแพร่พันธุ์ของยุงลายในครัวเรือนตนเอง ทุกๆ วันศุกร์ อาทิตย์ละ 1 ครั้ง

     

    15 15

    38. งานสร้างสุข

    วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      - เข้าร่วมงานปิดโครงการ คนใต้สร้างสุข โซนภาคใต้ ร่วมกับ 14 จังหวัด ภาคใต้ตอนล่าง 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      - ได้รับข้อมูลจากภาคีเครือข่ายทุกหน่วยงาน
    - ได้เห็นนวัตกรรม ของโครงการ ที่ได้ต่อยอด สสส. มาตลอด

     

    2 2

    39. สรุปบทเรียนการทำงานโครงการ

    วันที่ 12 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สิ่งที่เรากำหนดกับความสำเร็จที่เกิดขึ้นกับความสะอาด
      • มีความสะอาดเกิดขึั้นมาก
      • ความชัดเจน มีความแตกต่าง
      • เห็นความร่วมมือของคนในชุมชน หมู่ที่ 5
      • ได้เห็นชุมชนหมู่ที่ 5 มีการคัดแยกขยะ
      • ได้เห็นของที่เราเหลือใช้แล้วนำมารีไซเคิลใหม่ได้
      • ได้เห็นความประทับใจของนักท่องเที่ยว 1.1 ปัญหาและอุปสรรคในาการทำงาน
      • กรรมการงานมากไม่ทันในการประชุม ไม่มีความพร้อม เพราะมีหน้าที่รับผิดชอบมากในแต่ละบุคคล
      • ไม่มีการประชาสัมพันธ์ในการไปสำรวจบ้าน
      • ฝ่ายผู้นำยังขาดความชัดเจนในบางเรื่อง
      • ภาพรวมของโครงการ ขยะเป็นปัญหาที่สำคัญ 1.2 ข้อเสนอแนะ
      • ได้เป็นชุมชนต้นแบบปราศจากเชื้อโรคที่เกิดจากขยะ
      • มีการประชุมสัญจรตามโอกาสต่างๆ
      • มีการเก็บขยะทุกเดือน
      • มีการแบ่งโซนในการทำความสะอาดเก็บขยะในบ้าน บริเวณถนน บริเวณบ้าน
      1. สิ่งที่เกิดขึ้นจริงกับการเกิดขึ้นจริงมีอะไรบ้าง
      • มีการทำจริง โดยการทำปุ๋ยชีวภาพ
      • เกิดความร่วมมือกัน
      • จำนวนขยะลดน้อยลง
      • มีการลดใช้ถุงพลาสติก โดยการปรับเปลี่ยนเป็นถุงผ้า หรือตะกร้ามากขึ้น
      • มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการซื้อขาย 2.1 ข้อเสนอแนะ
      • มีการนำถังขยะตั้งที่หัวสะพานหลวง หมู่ที่ 5
      1. ทำไมสิ่งที่คาดหวังกับการทำจริงแต่ไม่ตรงกัน
      • เพราะคนในชุมชนให้ความร่วมมือกันจริง
      • โครงการมีประโยชน์เห็นผลจริง สะอาดมากยิ่งขึ้น
      • มีการตื่่นตัวของชาวบ้าน
      • โครงการเกิด จับต้องเป็นจริงได้
      • เกิดความสำนึกขึ้นเองได้
      • อยากให้มีพนักงานหญิงอยู่ในรถเก็บขยะด้วย
    2. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโครงการ
      • มีถุงผ้าของกรรมการ สสส.
      • อยากให้เป็นชุมชนต้นแบบ
      • อยากให้มีโครงการอย่างต่อเนื่อง
      • มีการประชุมสัญจร
      • มีการนำถังขยะตั้งบริเวณหัวสะพานหลวง
      • มีการแบ่งโซนการทำความสะอาด เก็บขยะ
      • อยากให้หน่วยงานทุกหน่วยงานเข้าร่วมโครงการและให้ความสำคัญ
      • อยากให้ อบต. มีการประชุมร่วมสภาบ้าง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สรุปผลการทำงานโครงการที่ผ่านมา
      • ประชุมวางแผนแบ่งบทบาทหน้าที่ในากรจัดกิจกรรม
      • ประสานวิทยากรมาช่วยในการจัดกระบวนการ
      • พัฒนาศักยภาพทีมสภาหมู่บ้านเพื่อให้มีแนวคิดหลักในการทำงานจิตอาสาและทำให้รู้จักตัวตนของตนเองและผู้อื่น
      • สรุปผลการจัดกิจกรรม

     

    35 40

    40. ประชุมสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 9

    วันที่ 12 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      - คณะกรรมการได้ตั้งกฎระเบียบให้กับครัวเรือนอาสา ที่อยู่ในโครงการรักษ์เกาะสาหร่าย เรื่องการจัดการขยะ - คณะกรรมการได้ออกแบบประเมินครัวเรือนนำร่อง เพื่อที่จะไปสำรวจ ครัวเรือนอาสาทีเข้าร่วมโครงการ - คณะกรรมการได้ตั้งกฎกติกาในชุมชนร่วมกับโรงเรียน และอบต. ในการรณรงค์การเก็บขยะ เดือนละ 1 ครั้ง - คณะกรรมการได้วางแผนงานในเรื่องการจัดตั้งธนาคารขยะในหมู่บ้าน เพื่อที่จะได้ลดปัญหาขยะในชุมชนให้น้อยลง - คณะกรรมการได้ตั้งกฎในการจัดซื้อขยะเดือนละ 1 ครั้ง ทุกวันที่ 5 ของเดือน เป็นต้นไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      - ชุมชนได้ความรู้จากวิทยากร จากการคัดแยกขยะ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในครัวเรือน
    - หน่วยงานในชุมชน ให้ความร่วมมือในกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

     

    35 30

    41. ประชุมสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 10

    วันที่ 14 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะกรรมการได้นัดประชุมเพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมที่จะซื้อขยะในชุมชน
      จากครัวเรือนอาสา จำนวน 60 ครัวเรือน จากกระบวนการกิจกรรมที่คณะกรรมการได้วางแผนเอาไว้ หลังจากที่ได้ปิดโครงการรักษ์เกาะสาหร่ายไปแล้ว อยากให้มีกิจกรรมการจัดการขยะอย่างต่อเนื่อง ทุกๆเดือน
    • คณะกรรมการได้วางแผนในการทำงาน มีส่วนร่วมด้านจิตอาสา ให้กับชุมชนในเรื่องการจัดการขยะ
      ไม่ว่าเก็บขยะเดือนละ 1 ครั้ง หรือ ซื้อขยะเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อจะได้ลดปัญหาขยะให้น้อยลงในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • กรรมการให้ความร่วมมือ และทุกหน่วยงานให้ความร่วมมือด้านการจัดการขยะ อย่างลงตัว
    • อบต. โรงเรียน อนามัย ให้ความร่วมมือกับกิจกรรมการจัดการขยะในชุมชน

     

    35 35

    42. กิจกรรมสังเคราะห์โครงการปิดงวด2

    วันที่ 15 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมจัดทำรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รายงาน

     

    2 1

    43. รูปถ่ายภาพกิจกรรม

    วันที่ 15 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าเล่มรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รายงาน และรูปภาพเผยแพร่ให้ผู้สนใจต่อไป

     

    2 1

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับคนในชุมชนในการจัดการขยะ
    ตัวชี้วัด : - เกิดแกนนำ 2 รุ่น อาสาสมัครสาธารณสุข 25 คน เยาวชน 25 คน - มีความรู้การคัดแยกขยะ
    • รุ่นที่ 1 คือเป็นรุ่นจิตอาสา ทำงานด้วยใจรัก เพื่อที่จะพัฒนาบ้านเกิดของตัวเองให้เป็นที่รู้จักกับคนภายในและคนภายนอก
      • ทำงานในชุมชนไม่ได้คิดค่าตอบแทนจากหน่วยงานใด ๆ ทั้งสิ้น แค่อยากจะพัฒนาบ้านเกิดของตัวเอง ต่อยอดไปให้ลูกหลานของเราในอนาคตหรือคนรุ่นใหม่
      • ถ้าคนรุ่นที่ 1 ไม่ทำงานด้านจิตอาสา แล้วคนรุ่นต่อไปเขาจะไม่รู้
      • คนรุ่นที่ 2 คือทีมสภาผู้นำเยาวชนเกาะสาหร่าย เป็นทีมที่จะพัฒนาร่วมกับแกนนำในชุมชนที่มีจิตอาสา เพื่อจะพัฒนาบ้านเกิดของเราเองและเป็นตัวอย่างที่ดีต่อสังคมต่อชุมชน
      • ครัวเรือนอาสาได้มีการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธีและมีการทำปุ๋ยหมักที่ทางวิทยากรได้จัดสอนเอาไว้ เพื่อนำไปใช้ ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน
      • ทีมสภาผู้นำ ได้จัดกิจกรรมรณรงค์การจัดการขยะในชุมชน เพื่อให้ชุมชนได้มีจิตสำนึกในเรื่องการจัดการขยะมากยิ่งขึ้น
    2 เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้
    ตัวชี้วัด : - เกิดครัวเรือนต้นแบบ 30 ครัวเรือน - เกิดธนาคารขยะ - มีกติการ่วม
    • 30 ครัวเรือน ทีได้ลงประเมินในชุมชน เพื่อจะได้เป็นตัวแทนในเรื่องการจัดการขยะในชุมชนได้อย่างต่อเนื่อง และครัวเรือนที่ยังไม่ได้เข้าร่วมโครงการสามารถมาเรียนรู้จากครัวเรือนต้นแบบ 30 ครัวเรือนครั้งนี้ได้
      • 30 ครัวเรือนนำร่อง ได้มีมติในกลุ่มของตัวเอง จะเก็บขยะในหมู่บ้านของตัวเองทุกเดือน เพื่อจะเป็นตัวอย่างที่ดีต่อสังคมและชุมชนและคนรุ่นต่อๆ ไป
      • มีการรับซื้อขยะจากชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง ของทุกวันที่ 5 เกิดเป็นธนาคารขยะขึ้น
      • ธนาคารขยะแลกอุปโภคบริโภค เพือให้ชุมชนได้รู้ว่า ขยะมีคุณค่ามากมายมหาศาล
      • กรรมการมีกติร่วมในชุมชนกับหน่วยงานภาครัฐ เช่น โรงเรียน สภาเด็กเยาวชน ผู้นำชุมชน อนามัย อบต. มัสยิด วัด
    3 เพื่อพัฒนายกระดับกลไกการขับเคลื่อนงานของชุมชน
    ตัวชี้วัด : - มีคณะทำงานโครงการจำนวน 15 คน จำนวน 1 ชุด - มีสภาหมู่บ้านจำนวน 1 สภา - สมาชิกสภาประกอบด้วยกรรมการหมู่บ้านและตัวแทนกลุ่มต่าง ในชุมชนจำนวน 35 คน - มีการประชุมสภาผู้นำ 10 ครั้ง - มีผู้เข้าร่วมประชุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 - มีแผนปฏิบัติการในชุมชนอย่างน้อย 5แผนงาน
    • ทีมสภาผู้นำหมู่บ้าน อสม. แม่บ้าน ฝ่ายปกครอง
      • มีทีมสภาผู้นำหมู่บ้าน จำนวน 1 สภา ร่วมด้วยสภาเด็กเยาวชน
      • สมาชิกสภาประกอบด้วยกรรมการหมู่บ้านและตัวแทนกลุ่มต่าง ในชุมชนจำนวน 35 คน
      • มีการประชุมสภาผู้นำ 10 ครั้ง
      • มีผู้เข้าร่วมประชุมไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
      • มีแผนปฏิบัติการในชุมชนอย่างน้อย 5แผนงาน
    4 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
    ตัวชี้วัด : - มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด - มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม - มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม - มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
    • มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
      • มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
      • มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
      • มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับคนในชุมชนในการจัดการขยะ (2) เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ (3) เพื่อพัฒนายกระดับกลไกการขับเคลื่อนงานของชุมชน (4) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ รักษ์เกาะสาหร่าย หมู่ที่ 5 ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

    รหัสโครงการ 58-03963 รหัสสัญญา 58-00-1916 ระยะเวลาโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    สภาหมู่บ้านประกอบด้วยกรรมการหมู่บ้านและตัวแทนกลุ่มต่างๆในชุมชนจำนวน35คน

    การประชุมสภาหมู่บ้านเดือนละ1ครั้ง

    การประชุมสภาหมู่บ้านในการจัดทำข้อตกลงและเสนอข้อบัญญัติหมู่บ้านต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    กลุ่มครัวเรือนอาสา และกลุ่มจิตอาสาในชุมชน

    กลุ่มครัวเรือนอาสา จำนวน 60 ครัวเรือน

    การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการซื้อและใช้จ่ายสินค้าโดยใช้ถุงผ้าแทนถุงพาสติกในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    เป็นศุนย์กลางในการพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัดการขยะชุมชน

    ศูนย์เรียนรู้โอมสเตชุุมชนเรื่องการรณรงค์ไม่ใช้โพม คัดแยกขยะ

    เป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้โดยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    ร้านของชำ ชั้นวางของต้องสูง ต้องมีการแยกขนม มีการแนะนำการใช้ถุง ย่าม หรือตะกร้า ควรสำรวจขนมที่ซื้อมาขายให้มีประโยชน์ต่อผู้บริโภค การใส่ผงชูรสไม่ดีต่อสุขภาพ

    มาตรการในการลดการนำเข้าขยะในชุมชนและร้านค้า

    การนำมาตรการในการลดการนำเข้าขยะในชุมชนและร้านค้าสู่การจัดทำข้อบัญญัติชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    การนำปุ๋ยหมักชีวภาพในการปลูกผักบริโภคในครัวเรือน

    การจัดทำน้ำหมักชีวภาพ

    การจัดทำปุ๋ยหมักชีวภาพเพื่อลดรายจ่ายในการซื้อปุ๋ยเคมีในการปลูกผักในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

    การมีส่วนร่วมในการไม่สูบบุหรี่ในสถานที่ติดป้ายพื้นที่ปลอดบุหรี่ตลอดกิจกรรมโครงการ

    ป้ายพื้นที่ปลอดบุหรี่ 2 ป้าย

    การรณรงค์พื้นที่สาธารณะในการไม่สูบหรี่ในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธีและนำขยะเปียกมาทำปุ๋ยหมักชีวภาพ ทำปุ๋ยหมัก

    ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธีและนำขยะเปียกมาทำปุ๋ยหมักชีวภาพ ทำปุ๋ยหมักจำนวน 60ครัวเรือน

    การขยายครัวเรือนคัดแยกขยะให้ครบคลุมทั้งชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    การเรียนรู้การคัดแยกขยะ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากมูลสัตว์และเศษอาหาร หรือขยะเปียก

    ครัวเรือนนำร่อง60ครัวเรือน

    การนำความรู้ความเข้าใจเรื่องการคัดแยกขยะ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากมูลสัตว์และเศษอาหาร หรือขยะเปียกแก่ครัวเรือนที่สนใจทุกครัวเรือน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    การคัดแยกขยะรับซื้อขยะในชุมชน ทุกวันที่ 5 ของทุกเดือน เริ่มจากเวลา 14.00 น. - 17.00 น.

    ธนาคารขยะ แลกไข่

    การบริหารจัดการธนาคารขยะชุมชนเป็นรูปธรรมชัดเจน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    เกิดกติกาชุมชนดังนี้1.ซื้อของ ไม่เอาถุงพลาสติก เปลี่ยนเป็นถุงผ้าหรือตะกร้า 2. แยกขยะเปียก เช่น ปลาเปลือกผลไม้ สามารถนำมาทำปุ๋ยหมัก แล้วนำมาใช้ใส่ต้นไม้ - ขยะที่ย่อยยากแต่บางอย่างสามารถนำมาใช้ได้อีกคือมีการแยกออกเป็นแต่ละประเภท - ขยะอันตราย ต้องการเก็บให้ถูกวิธี 3.การงดใช้โฟมในร้านค้า เพราะมีสารอันตรายต่างๆ 4.น้ำมันให้ใช้แค่ 2 ครั้ง 5.การทำอาหารต้องมีพื้นที่สูง 10 เซนติเมตร 6.ถ้วยชามต้องมีผ้าสีขาวปิดไว้ 7.อาหารควรมีการแยก ผักและอาหารสด ถ้ามีเป็นกล่องจะดีมาก 8. ช้อนต้องตั้งให้ถูกต้อง ปลายขึ้นบน 9. ร้านของชำ ชั้นวางของต้องสูง ต้องมีการแยกขนม มีการแนะนำการใช้ถุง ย่าม หรือตะกร้า

    กติกาชุมชน 9 ข้อ

    การจัดทำป้ายกติกาชุมชนประชาสัมพันธ์ในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

    การนำกติกาชุมชนในการจัดขยะเพื่อจัดทำข้อบัญญัติท้องถิ่น

    ข้อบัญญัติท้องถิ่นในสนับสนุนการจัดทำศูนย์เรียนรู้ชุมชนในการจัดการขยะ

    การจัดทำธรรมนูญชุมชน

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    การแลกเปลี่ยนเรียนรู้นอกพื้นที่เกี่ยวกับการจัดการขยะ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพบ้านลำสินธุ์ จังหวัดพัทลุง

    เวทีแลกเปลี่ยนนอกพื้นที่ 1 ครั้ง

    การแลกเลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนจากการสนับสนุนของท้องถิ่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    การลงพื้นที่ประเมิน ครัวเรือนอาสา 60 ครัวเรือนนำร่องในการคัดแยกขยะก่อนไปทิ้ง การทำปุ๋ยหมัก นำเศษอาหารไปให้สัตว์เลี้ยง เช่น เป็ด ไก่ปลาการทำความสะอาด จัดบริเวณบ้าน เพื่อความเรียบร้อย เป็นบ้านที่น่ามองและจัดการเรื่องการแพร่พันธุ์ของยุงลายในครัวเรือนตนเอง ทุกๆ วันศุกร์ อาทิตย์ละ 1 ครั้ง

    การลงพื้นที่ประเมิน 2ครั้งของคณะกรรมการ

    การนำผลการประเมินไปจัดทำข้อมูล

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    การเรียนรู้การคัดแยกขยะ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากมูลสัตว์และเศษอาหาร หรือขยะเปียก

    ศูนย์เรียนรู้การจัดการขยะ

    การเรียนรู้การจัดการขยะแก่เยาวชนของชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    การจัดทำปุ๋ยหมักชีวภาพในการปลูกผักบริโภค

    ครัวเรือน 60 ครัวเรือน

    การสนับสนุนจากหน่วยงานรัฐ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    รักษ์เกาะสาหร่าย หมู่ที่ 5 ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 58-03963

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาว สะอีดีะ สาดล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด