directions_run

ร่วมพลังคนบ้านช่องไทรจัดการขยะเพื่อชุมชนน่าอยู่

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ร่วมพลังคนบ้านช่องไทรจัดการขยะเพื่อชุมชนน่าอยู่ ”

ชุมชนบ้านช่องไทร หมู่ที่ 3 ตำนาทอน อำทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นาย จิรวัฒน์ จิตรเที่ยง

ชื่อโครงการ ร่วมพลังคนบ้านช่องไทรจัดการขยะเพื่อชุมชนน่าอยู่

ที่อยู่ ชุมชนบ้านช่องไทร หมู่ที่ 3 ตำนาทอน อำทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 58-03865 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2256

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2558 ถึง 15 ตุลาคม 2559


กิตติกรรมประกาศ

"ร่วมพลังคนบ้านช่องไทรจัดการขยะเพื่อชุมชนน่าอยู่ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชุมชนบ้านช่องไทร หมู่ที่ 3 ตำนาทอน อำทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ร่วมพลังคนบ้านช่องไทรจัดการขยะเพื่อชุมชนน่าอยู่



บทคัดย่อ

โครงการ " ร่วมพลังคนบ้านช่องไทรจัดการขยะเพื่อชุมชนน่าอยู่ " ดำเนินการในพื้นที่ ชุมชนบ้านช่องไทร หมู่ที่ 3 ตำนาทอน อำทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 58-03865 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 145,950.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 260 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนในการจัดการข้อมูล การวางแผนงานการทำงานและจัดทำแผนปฏิบัติการเรื่องขยะในชุมชน
  2. เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริหารจัดการขยะของชุมชน
  3. เพื่อสร้างเครือข่ายในการบริหารจัดการขยะของชุมชน
  4. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศน์โครงการร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่

    วันที่ 7 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -เข้าร่วมประชุมปฐมนิเทศโครงการผู้รับทุนจาก สสส . ภาคใต้ตอนกลาง กระบี่ พังงา ภูเก็ต ตรังพัทลุง สตูลโดยทีมวิทยากรพี่เลี้ยงจาก สจรส.มอ. หาดใหญ่เพื่อรับคำแนะนำการทำบัญชี และการบันทึกรายงานกิจกรรม การเก็บเอกสารใบเสร็จรับเงินโดยมีผู้รับผิดชอบโครงการจำนวนโครงการละ2ท่าน ร่วมการประชุม เพื่อทุกโครงการจะได้เรียนรู้และทำความเข้าใจการทำกิจกรรมให้เป็นไปตามข้อสัญญาร่วมทั้งการรายงานผลกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -เจ้าหน้าที่ของโครงการสามารถเข้าใจหลักการรายงานผลกิจกรรมที่จัดขึ้นสามารถลงเวลาการทำงานหรือกิจกรรมตามความเหมาะสมของแต่ละกิจกรรมตลอดเวลา 1 ปี โครงการตามสัญญา รู้จักการเก็บเอกสารการเงินและเอกสารการรายงานอย่างถูกต้อง

     

    2 2

    2. มาพบพี่เลี้ยงเพื่อแก้ไขปฏิทินโครงการ

    วันที่ 9 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำการปรับปรุงแก้ไขรายละเอียดโครงการให้สมบูรณ์โดยทำการคีร์ระบบในคอมพิวเตอร์ในระบบของตนใต้สร้างสุข โดยมีพี่เลี้ยงในพื้นที่ทำการให้คำปรึกษาในส่วนของการเข้าเว็ปการคีร์การเขียนรายงานให้ถูกต้องสมบูรณ์เป็นอย่างไร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ปรับปรุงแก้ไขรายละเอียดโครงการดังกล่าวถูกต้องและสมบูณ์และได้มีความเข้าใจมากขึ้นในการคีร์ข้อมูลในระบบว่าทำอย่างไร

     

    1 1

    3. จัดเวทีประชาคมหมู่บ้านเพื่อสร้างความเข้าใจคัดเลือกตัวแทนจัดเก็บข้อมูล

    วันที่ 28 ตุลาคม 2558 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เริ่มประชุมคณะทำงานโครงการเวลา 09.30 น. ณ. ศาลาเอนกประสงค์บ้านช่องไทรประชุมสร้างความเข้าใจในการจัดการกับขยะในหมู่บ้านและเป้าหมายหลักการในการจัดตั้งสภาประชาชนรณรงค์เรื่องขยะโดยมีนายพจน์ สุขลิ้ม กำนันตำบลนาทอน เปิดประชุม ทำการประชุมเพื่อขอมติในที่ประชุมในการหาตัวแทนภาคประชาชนชนเพื่อจัดตั้งสภาประชาชนขึ้นมาทำหน้าที่เป็นแกนหลักในการรณรงค์เรื่องขยะในชุมชนโดยนับวันขยะก็จะยิ่งเพิ่มมากขึ้นและมีผลต่อสุขภาพการดำรงชีวิตของคนในชุมชนโดยก่อนที่จะคัดเลื่อกตัวแทนได้มีการพักรับประทานอาหารว่างกันหลังจากนั้นก็ได้มีมติในที่ประชุมรายชื่อดังต่อไปนี้เพื่อเป็นตัวแทนประชาชน -นางวาสนา สิงห์อินทร์ เป็นประธาน -นางอารีย์ เกื้อเดช รองประธาน -นายอนุวัตร เสียมไหม รองประธาน -นางวรรณดี ศรีวังแก้ว เลขา -นางวาสนา ชาญชำนิ เหรัญญิก -นางสาวพรพรรณ แสงสุวรรณ กรรมการ -นางวิยาภรณ์ สิงห์อินทร์ กรรมการ -นายสมบูรณ์ รักฤทธิ์ กรรมการ โดยได้การคัดเลือกมติในที่ประชุมทั้งหมด 8 คน และหลักจากนั้นได้ทำการรับประทานอาหารเที่ยงกันโดยมีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 118 คน เมื่อรับประทานอาหารเสร็จก็ได้มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่องขยะในชุมชนกับตัวแทนสภาประชาชนและต่อมาเวลา 14:00 น.ได้ทำการการพักรับประทานอาหารว่างและได้ทำการประชุมต่อในส่วนของการว่างหน้าที่สภาประชาชนดังที่ได้มีมติมาและประธานในที่ประชุมปิดการประชุม เวลา 15:30 น.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชาวบ้านเข้าใจในการจัดการกับขยะในหมู่บ้าน และได้มีสภาประชาชนขึ้นมา 1 สภาโดยเกิดจากการทำประชาคมของมติในที่ประชุม โดยมีรายชื้อดังต่อไปนี้

    • นางวาสนา สิงห์อินทร์ เป็นประธาน
    • นางอารีย์ เกื้อเดช รองประธาน
    • นายอนุวัตร เสียมไหม รองประธาน
    • นางวรรณดี ศรีวังแก้ว เลขา
    • นางวาสนา ชาญชำนิ เหรัญญิก
    • นางสาวพรพรรณ แสงสุวรรณ กรรมการ
    • นางวิยาภรณ์ สิงห์อินทร์ กรรมการ
    • นายสมบูรณ์ รักฤทธิ์ กรรมการ

    โดยได้การคัดเลือกมติในที่ประชุมทั้งหมด 8 คน

     

    100 118

    4. ประชุมคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 1

    วันที่ 6 พฤศจิกายน 2558 เวลา 13:00 น.ถึง 15:30 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 6 พฤศจิกายน 2558 เวลา13.00 น. ประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านครั้งที่ 1 ณ. ศาลาเอนกประสงค์บ้านช่องไทร นายพจน์ สุขลิ้ม กำนันหมู่ที่ 3 ตำบลนาทอนเป็นประธานในการเปิดประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านครั้งที่ 1เพื่อขับเคลื่อนการทำงานและวางแผนการทำงาน โดยให้คณะทำงานได้เสนอความคิดเห็นกับปัญหาการรวมกลุ่มการอยู่ด้วยกันในการดำเนินงานเพื่อแก้แก้ไขข้อบกพร่องไปด้วยกัน และการพัฒนาสภาให้มีความรับผิดชอบมีจิตอาสาในการทำงานช่วยเหลือชุมชนให้มีผู้นำที่เข้มแข็งและพร้อมที่จะช่วยเหลือแก้ปัญหาให้กับคนในชุมชนและชุมชนเองก็จะเจริญก้าวหน้าสามารถรับกับสถานการณ์ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นมากมายในปัจจุบัน โดยได้มีการพูดถึงสภาวะปัญหาเกี่ยวกับเรื่องขยะที่เกิดขึ้นในหมู่บ้านและส่งผลกระทบอย่างไรกับชาวบ้านเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติและแก้ปัญหาต่อไปโดยจะลงมือทำในกลุ่มเป้าหมายที่มีผลกระทบมากก่อนและทั้งนี้ทั้งนั้นแล้วเราจะไม่สามารถรู้ได้ว่าอันไหนส่งผลมากส่งผลน้อยเราจะทำการสำรวจจากครัวเรือนในหมู่บ้านและดำเนินการแก้ไขต่อไปตามลำดับและในที่ประชุมก็เห็นชอบตรงกันว่าจะใช้มาตรการอย่างที่กล่าวมาข้างต้นและจะมีกติกาในการจัดการขยะอีกด้วย นายจิรวัตน์ จิตรเที่ยง ผู้ร่วมรับผิดชอบโครงการเสนอให้มีการสร้างจิตสำนึกโดยการให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคือเมื่อมีการประชุมหรือการประชาคมหมู่บ้านให้คณะกรรมการหมู่บ้านและคนในชุมชนเข้าร่วมประชุมเพื่อที่จะได้รับรู้ข่าวสารและการเคลื่อนไหวในชุมชนว่ามีการพัฒนาไปในรูปแบบใดเพราะบางคนคิดว่าการเข้าร่วมประชุมประชาคมไม่มีความสำคัญกับตนแต่ในการประชุมประชาคมต่างๆเป็นผลต่อตัวของตนเองทั้งนั้น จึงอยากให้ตระหนักถึงความสำคัญในการเข้าร่วมประชุมประชาคมและฝากทีมสภาผู้นำหมู่บ้านที่เข้าร่วมประชุมในครั้งนี้แจ้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบโดยทั่วกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ชุมชนเกิดสิ่งแวดล้อมดีขึ้น ครัวเรือนมีสภาพน่าอยู่ชุมชนมีขยะลดลงไม่มากก็น้อยโดยจะทำการรณรงค์ไปเรื่อยๆโดยสภาประชาชนที่จัดตั้งขึ้นมาชุมชนเกิดกติกาด้านการจัดการขยะโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนและสามารถนำไปสู่แหล่งเรียนรู้ในด้านการจัดการขยะที่ล้นชุมชน

     

    30 36

    5. จัดเวทีชวนคิดชวนอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการด้านข้อมูล

    วันที่ 8 พฤศจิกายน 2558 เวลา 10:00 น. ถึง 15:30น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้ทำการพูดคุยกับตัวแทนในกลุ่มองค์กรต่างๆประชาชนในหมู่บ้านและพูดคุยในเรื่องรายชื่อครธสภาประชาชนที่จะเข้ามาเป็นแกนนำรณรงค์ในการจัดการขยะในหมู่บ้านโดยการพูดคุยนี้ได้มีการนะเสนอในด้านต่างๆเยอะแยมากมายทั้งปัญหาแล้วแนวทางแก้ไข โดยนางวาสนา สิงห์อินทร์ ประธานสภาประชาชนได้มีการนำเสนอให้มีการจัดตั้งธนาคารขยะขึ้นเพื่อรับซื้อขยะในหมู่บ้านและประชาชนได้มีรายได้อีกส่วนหนึ่ง และนางพรพรรณ แสงสุวรรณ กรรการสภา ได้มีการนำเสนอการนำขยะจำพวกเศษผักเศษผลไม้มาทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพเพื่อใช้ในด้านการเกษตรในการพูดคุยได้มีความคิดเห็นที่ต่างกันไปและยังไม่ได้ข้อสรุปที่ชัดเจนโดยจะทำการสำรวจข้อมูลให้แน่ชัดก่อนในส่วนของการทำปุ๋ยหมักว่ามีขยะประเภทนี้มากแค่ไหนแต่การจัดตั้งธนาคารขยะนั้ได้มีมติไห้จัดตั้งรับซื้อขยะได้โดยจะทำการจัดตั้งคณะกรรมการอีกที่หนึ่งในการรับซื้อขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลสรุปของการพูดคุยดังกล่าวได้มีมติในที่ประชุมว่าให้มีการจัดตั้งธนาคารขยะขึ้นในหมู่บ้านโดยจะทำการคัดเลือกคณะกรรมการอีกครั้งหนึ่งให้ชัดเจนในส่วนของการที่จะทำปุ๋ยหมักชีวภาพนั้นจะต้องสำรวจของมูลก่อนว่ามีการจัดการอย่างไรของแต่ละครัวเรือนและสำรวจวัตถุดิบที่นำมาทำด้วยเช่นขยะจำพวกฌศษผักเศษผลไม้ว่ามีมากแค่ไหนเพื่อนำไปสู่การพัฒนาต่อไปในการจัดการขยะล้นชุมชนครั้งนี้

     

    30 45

    6. คณะสภาดำเนินการรับซื้อขยะ จำแนกขยะ แต่ละประเภท ครั้งที่ 1

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมสภาประชาชนและตัวแทนเยาวชนคณะกรรมการหมู่บ้านเพื่อดำเนินการจัดหาตัวแทนสภาดำเนินการรับซื้อขยะในหมู่บ้านโดยมีผู้ร่วมเข้าประชุม 28 คนร่วมไปถึงสภาประชาชนก็ประกอบอยู่ใน 28 คนนี้ด้วยและได้ทำการตั้งกฎกติกาในการรับซื้อ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้สภาดำเนินการรับซื้อขยะ มีทั้งหมด 5 คน โดยได้มีมติให้ในที่ประชุมให้ นางยุพิน เสียมไหม เป็นประธาน นางบังอร วัลวิล รองประธาน นางวิไล เกื้อเดช เลขา นางสมใจ คงอินทร เหรัญญิก นายฉ้ำ เต้งเฉียง กรรมการ และได้ลดขยะในชุมชน
    • ได้ตั้งกฎกติกาในการรับซื้อร่วมไปถึงการกำหนดราคาในการรับซื้อโดยยึดหลักราคาในการซื้อตามโรงงานในละเวกหมู่บ้านรับซื้อขยะในชุมชน และได้มีมติให้ นางยุพิน เสียมไหม เป็นประธาน นางบังอร วัลวิล รองประธาน นางวิไล เกื้อเดช เลขา นางสมใจ คงอินทร เหรัญญิก นายฉ้ำ เต้งเฉียง กรรมการ และได้ทำการถามความคิดเห็นของที่ประชุมว่ามีใครคัดค้านอะไรอย่างไรบ้างและมีข้อเสนออะไรเพิ่มเติมไหม ผลสรุปไม่มีใครคัดค้านอะไรเมื่อได้คณะทำงานแล้วก็ทำการกำหนดวันซื้อให้เป็นวันที่ 15 ของทุกเดือนโดยที่ประชุมมีมติวันดังกล่าว และต่อมาได้รับประทานอาหารว่างและพูดคุยกันในเรื่องการรับซื้อเล็กๆน้อยและปิดการประชุม

     

    30 28

    7. อบรมการเขียนรายงาน

    วันที่ 4 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมในเวที แนะนำตัวผู้เข้าร่วมในเวทีทุกคน วิทยากรดำเนินการตามกระบวนการในเวที การเขียนรายงาน รายงานผู้รับผิดชอบ/บันทึกกิจกรรม เรื่องเอกสาร รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม ใบสำคัญรับเงิน/ใบเสร็จรับจากทางร้าน สำเนาบัตรประชาชนผู้รับเหมา/ผู้รับเงิน เอกสารทางภาษี ภาพถ่ายกิจกรรม รายงาน(การบันทึก)การทำกิจกรรม สรุปเนื้อหาที่ได้จากเวทีต่อที่ประชุม พิธีปิด เดินทางกลับ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต ผู้เข้าร่วมการอบรม จำนวน 80 คน ได้ดำเนินงานตามแบบแผน ผลลัพธ์ ดำเนินโครงการ(จัดกิจกรรมตามแผน) และได้วางแผนโครงการรู้วิธีการดำเนินโครงการ ก่อนการดำเนินงานและหลังการดำเนินงาน วิธีการเขียนรายงานในเว็บไซร์ และการจัดการระบบการเงินการเขียนบิลเบิกเงิน

     

    2 80

    8. ประชุมคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 2

    วันที่ 6 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการบริหารจัดการขยะในชุมชนดำเนินการประชุมตามกำหนดการและพูดคุยปัญหาที่ได้พบมาในการลงสำรวจอย่างคล้าวๆและพูดคุยกันโดยทำการคัดแยกขยะให้ดูเพราะคนในหมู่บ้านยังขาดความรู้ในการคัดแยกขยะและจากการสำรวจนั้นได้มีเศษผักเศษผลไม้เยอะพอประมาณที่จะเอามาทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพและในการนี้ก็ได้อธิบายการจัดเก็บเศษผักเศษผลไม้เพื่อเอาไว้ทำปุ๋ยหมักชีวภาพเพราะในตอนนี้เรายังทำไม่ได้เพราะยังขาดความรู้ในด้านการทำปุ๋ยหมัก และได้อธิบายถึงขยะที่จะนำมารีไซเคิลทำเป็น ดอกไม้พลาสติก ทำโมบาย โดยทำจากขวดพลาสติกที่ไม่ใช้แล้วเพราะที่ผ่านมานั้นชาวบ้านได้มีการทำลายขยะที่ผิดวิธีมาตลอด และได้พูดคุยถึงการทำงานของคณะกรรมการที่ผ่านมาว่าทำงานไปถึงไหนแล้วไม่ว่าจะเป็น สภาดำเนินการรับซื้อขยะ และสภาประชาชน เพื่อมาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน และต่อมาก็ได้รับประทานอาหารว่างและปิดการประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการที่จัดประชุมคณะทำงานการจัดการขยะ ได้ข้อสรุปว่า คณะทำงานสภาจะคัดแยกขยะที่จะนำมารีไซเคิลทำเป็น ดอกไม้พลาสติก ทำโมบาย โดยทำจากขวดพลาสติกที่ไม่ใช้แล้วโดยจะมอบหมายหน้าที่ให้คณะทำงานสภารับซื้อขยะร่วมกับกลุ่มแม่บ้าน อสม.ทำการประดิษฐ์รีไซเคิล

     

    30 30

    9. ทำป้ายสัญลักณ์ปลอดบุหรี่

    วันที่ 8 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สั่งทำป้ายรณรงค์เขตปลอดบุหรี่ จำนวน 2 ป้าย นำป้ายไปติดตามสถานที่ดังนี้ ที่ศูนย์ข้อมูลบ้านช่องไทร ที่มัสยิดบ้านช่องไทรเพื่อลดการสูบบุหรี่ในที่สาธารณะและในเขตชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การสูบบุหรี่ของคนในชุมชนลดน้อยลงและมีการรณรงค์เกิดขึ้น และมีสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นคนที่เข้าร่วมกิจกรรมจะงดการสูบบุหรี่ในสถานที่นั้นๆเกิดจิตสำนึกเรื่องของการห้ามสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ

     

    100 260

    10. คณะสภาดำเนินการรับซื้อขยะ จำแนกขยะ แต่ละประเภท ครั้งที่ 2

    วันที่ 15 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะสภาดำเนินการรับซื้อขยะ จำแนกขยะ แต่ละประเภท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ทำการรับซื้อขยะรู้จักการคัดแยกขยะและที่สำคัญขยะในหมู่บ้านลดลงและนำไปผลิตเป็นดอกไม้พลาสติกจากขวดพลาสติกที่ไม่ใช้แล้วเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป

     

    30 22

    11. ถอนเงินคืนเปิดบัญชีธนาคาร

    วันที่ 21 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้ไปถอนเงินคืนให้กับผู้เปิดบัญชีธนาคาร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ไปถอนเงินคืนให้กับผู้เปิดบัญชีธนาคารเรียบร้อยแล้ว

     

    3 2

    12. ประชุมคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 3

    วันที่ 6 มกราคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เริ่มทำการเปิดประชุมเวลา 13:30 น.หลังจากนั้นให้ผู้เข้าร่วมประชุม ซึ่งเป็นผู้นำตามภาคีเครือข่ายต่างๆ คือ กำนันหมู่ที่ 3 บ้านช่องไทร ผู้ช่วยกำนัน สารวัตรกำนัน สมาชิก อบต.คณะกรรมการหมู่บ้าน คณะกรรมการกองทุนแม่ชรบ. บัณฑิตอาสา เยาวชน ประชาชน แจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร การดำเนินกิจกรรม และความร่วมมือตามแผนการขับเคลื่อนงานของชุมชนในทุกๆด้าน และกำหนดวันในการลงเก็บข้อมูลขยะในชุมชน และพูดคุยทำความเข้าใจกับการซื้อขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทีมสภาผู้นำหมู่บ้าน ได้รับทราบกำหนดการประชุมประจำเดือนครั้งต่อไปและได้วันที่จะลงสำรวจข้อมูลขยะ เยาวชน ชาวบ้านเข้าใจกับการซื้อขยะ

     

    30 38

    13. คณะสภาดำเนินการรับซื้อขยะ จำแนกขยะ แต่ละประเภท ครั้งที่ 3

    วันที่ 15 มกราคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    การจัดการขยะ โดยการรับซื้อขยะที่สามารถรีไซเคิลได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีขยะที่สามารถนำมารีไซเคิลได้ ครั้งนี้มีขยะจำพวกเศษสังกะสี ขวดพลาสติก พัดลมเสีย ซึ่งกิจกรรมได้สร้างความตระหนักในการจัดการชยะของชุมชน มีแหล่งรับซื้อขยะในชุมชน และลดปริมาณขยะได้

     

    30 48

    14. จัดเวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชนและเติมเต็มข้อมูลชุมชน

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ดำเนินการประชุมตามกำหนดการ ดังนี้.

    • ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมในเวที
    • การแนะนำตัวผู้เข้าร่วมเวที
    • ผู้รับผิดชอบโครงการ นำเสนอผลการทำโครงการ เรื่อง ธนาคารขยะบ้านช่องไทร โดยคุยรื่องการจัดการขยะในหมู่บ้าน วิธีการคัดแยกขยะแต่ละประเภท อาทิเช่น ขยะรีไซเคิล ขยะอินทรีย์ และขยะที่ย่อยสลายไม่ได้ และขยะอันตราย จากนั้นได้แจงขยะที่สามารถนำไปขายต่อได้ ขยะที่จะนำมาทำปุ๋ยอินทรีย์
    • วิทยากรเริ่มกระบวนการพูดคุยเรื่องขยะรีไซเคิล ขยะอินทรีย์ และขยะที่ย่อยสลายไม่ได้ และขยะอันตรายโดยนายพจน์ สุขลิ้ม ตำแหน่ง กำนันตำบลนาทอน แลกเปลี่ยนเรื่องการจัดการขยะในชุมชนร่วมกัน
    • สรุปเนื้อหาที่ได้จากเวทีให้ที่ประชุมทราบ
    • พิธีปิด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ชาวบ้านเกิดการเรียนรู้ในการจัดการขยะที่ถูกต้อง โดยมีการคัดแยกตามขยะแต่ละชนิดดังนี้
    1. ขยะที่นำมารีไซเคิล ได้แก่ ขวดพลาสติก ถุงกระดาษ ถุงพลาสติก กระป๋องน้ำอัดลม
    2. ขยะที่นำมาทำป๋ย ได้แก่ เศษผัก เศษเปลือกผลไม้
    3. ขยะอันตราย ได้แก่ ขวดยาฆ่าแมลงชนิดต่างๆ กระป๋องสีเสปรมีวิธีการจัดการโดยการนำไปฝังดิน
    4. ขยะที่ย่อยสลายไม่ได้ เช่นถุงพลาสติก ขวดยาฆ่าแมลง กระป๋องน้ำอัดลม เป็นต้น จะจัดการ นำไปผลิตรีไซเคิล ส่วนขวดยาฆ่าแมลงนั้นนำไปฝังดิน
    5. ได้ข้อสรุปจากเวที จากผู้เข้าร่วม ได้นำเสนอให้มีการจัดทำถังขยะและให้ชาวบ้านคัดแยกขยะให้ชัดเจน โดยภาชนะที่ใส่จะใช้ถุงดำในการคัดแยก

     

    100 112

    15. เวทีกำหนดยุทธศาสตร์และกำหนดแผนการดำเนินงานด้านการจัดการขยะเพื่อชุมชนน่าอยู่อย่างยั่งยืน

    วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ในการกำหนดแผ่นยุทธศาสตร์นั้นเราต้องทำอย่างเข้าใจและเชิญผู้เชี้ยวชาญด้านการจัดทำแผนมาให้ความรู้เป็นวิทยากรขั้นตอนการทำงานในเวทีนี้คือ เราต้องหาปัจจัยที่เป็นสาเหตุของปัญหาที่เกิดและสิ่งแวดล้อมร่วมไปถึงกลไกที่ทำให้เกิดปัญหาขยะ และจาการสำรวจข้อมูลจากเวทีที่ผ่านมานั้นได้รู้ถึงปัญหาที่แท้จริงในการเกิดขยะและนำไปสู้การแก้ไขปัญหาในเวทีนี้ โดยทำการว่างแผนกำหนดแผนในการคัดแยกขยะในุมชน การว่างแผนให้กติกาที่กำหนดมานั้นให้มีความเด่นชัดขึ้น และกำหนดให้มีการต่อยอดขึ้นไปเรื่อยๆโดยจะกำหนดให้เกิดศูนย์การเรียนรู้ในหมู่บ้านในเรื่องของการคัดแยกขยะ การนำขยะไปใช้ประโยชน์ให้ได้มากที่สุด อาทิเช่นการทำปุ๋ยหมัก การทำดอกไม้พลาสติก เป็นต้นโดยจะให้ชาวบ้านเรียนรู้กับวิทยากรที่มีความรู้เฉพาะด้านมาอธิบายบรรยายให้ฟังเพื่อนำไปสู้การต่อยอด และต่อมาได้พักรับประทานอาหารว่างแล้วกำหนดแผ่นต่อโดยมีสภาประชาชนและสภาดำเนินการรับซื้อขยะร่วมด้วยและพักรับประทานอาหารเที่ยง พร้อมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ดำเนินการเวทีกำหนดยุทธศาสตร์และกำหนดแผนการดำเนินงานด้านการจัดการขยะเพื่อชุมชนน่าอยู่อย่างยั่งยืน ได้กำหนดแผนขึ้นมาโดยแผนที่กำหนดนั้นจะมีการต่อยอดของขยะที่มีอยู่ในชุมชนขยะที่ยังใช้ได้อาทิเ่น การเอาเศษผักมาทำปุ๋ยหมัก การนำขวดพลาสติกมาทำดอกไม้ การนำถุงพลาสติกมาทำหมวก กระเป๋า เสื้อกันฝน เป็นต้น

     

    60 48

    16. พบพี่เลี้ยงติดตามการเขียนโครงการ

    วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 11:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้รับผิดชอบโครงการเดินทางมาพบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจสอบเอกสารปิดงวด1 รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ กิจกรรมปฎิบัติจริง ให้พี่เลี้ยงตรวจเอกสารโครงการงวด1ทั้งหมดที่ได้ดำเนินการแล้ว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -การตรวจสอบเอกสารผ่านไปได้ด้วยความเรียนร้อย

     

    2 4

    17. โครงการ ปิดงวด1

    วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจสอบเอกสารที่ได้รวบรวมจากการจัดกิจกรรมงวดงานที่ 1 ร่วมกันกับ เจ้าหน้าที่ของ สจรส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทำการตรวจสอบเอกสารการเงินโครงการ โดยมีเจ้าหน้าที่ สจรส.ทำการตรวจเอกสารการเงินและรายงานในเวปไซด์ ตามกิจกรรมที่พื้นที่ได้จัดดำเนินการในแต่ละกิจกรรม พร้อมทั้งตรวจรายงานและเจ้าหน้าที่ได้ตรวจสอบพร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะและเขียนรายงานเพิ่มเติมในบางกิจกรรมเพื่อให้สอดคล้องกับกิจกรรมและเพื่อความเสร็จสมบูรณ์ครบถ้วน

     

    2 2

    18. จัดเวทีสังเคราะห์ข้อมูลและปรับปรุงข้อมูลชุมชนร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิ

    วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ได้ทำการพูดคุยสังเคราะห์ข้อมูลร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒฺิ สภาประชาชน และผู้ร่วมกิจกรรมในแนวทางการสังเคราะห์ข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลในด้านการจัดการขยะในหมู่บ้านที่ได้ดำเนินการมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนรับทราบข้อมูลและร่วมกันกำหนดทิศทางการพัฒนาหมู่บ้านต่อไป ผลผลิต 1.มีผู้เข้าร่วมประชนจำนวน 32 คน 2.มีข้อมูลมานำเสนอให้ประชาชนรับทราบ ผลลัพธ์ 1.ผู้เข้าร่วมประชุมรับทราบข้อมูลที่ได้ทำการจัดเก็บ 2.ร่วมกันกำหนดทิศทางในการพัฒนาหมู่บ้าน โดยการส่งเสริมให้ทำขยะรีไซเคิลและร่วมไปถึงการทำปุ๋ยหมักจากฌศษผักเพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครัวเรือน ผลสรุปที่ได้ ได้ข้อมูลขยะที่จะนำมารีไซเคิลของครัวเรือนและเพื่อเป็นข้อมูลในแผนการพัฒนาหมู่บ้านต่อไป

     

    30 32

    19. ประชุมคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 4

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการที่ผ่านการคัดเลือกจากเวทีในชุมชนประชุมเพื่อกำหนดรูปแบบ ขั้นตอน วิธีการ และการลงมือปฏิบัติการกลุ่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการที่ผ่านการคัดเลือกจากเวทีในชุมชนประชุมเพื่อกำหนดรูปแบบ ขั้นตอน วิธีการ และการลงมือปฏิบัติการกลุ่ม

     

    30 34

    20. คณะสภาดำเนินการรับซื้อขยะ จำแนกขยะ แต่ละประเภท ครั้งที่ 4

    วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 14:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รับซื้อขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ทำการรับซื้อขยะและทำการรีไซเคิลขยะที่ได้จากการรับซื้อ

     

    30 27

    21. พบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจเอกสาร

    วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้รับผิดชอบโครงการเดินทางไปพบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจการบันทึกข้อมูลลงเว็บไซร์และเอกสารการเงินเพื่อปิดโครงการงวด2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • การตรวจสอบการบันทึกข้อมูลลงเว็บไซร์และเอกสารการเงินปิดโครงการงวด2 เรียบร้อย

     

    3 1

    22. ประชุมคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 5

    วันที่ 15 กรกฎาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินการประชุมคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้านประจำเดือน ครั้งที่ 5 ได้ดำเนินการประชุมสภาชุมชนบ้านช่องไทร โดยนายพจน์ สุขลิ้ม กำนันหมู่ที่ 3 บ้านช่องไทร เป็นประธานในที่ประชุม ได้ดำเนินการประชุมดังนี้
      • แจ้งผู้สนใจเข้าร่วมบริจาคโลหิตในวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๙ เวลา ๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. ณ หอประชุม ๑๐๐ ปี อำเภอทุ่งหว้า
      • คณะกรรมการบริหารจัดการอ่างเก็บน้ำช่องงับ ชี้แจงรายละเอียดงบประมาณฯและการต่อสัญญาใช้น้ำกับปะปาหมู่บ้าน
      • แจ้งเสาพริกไทยยังส่งไม่ครบ หากส่งครบแล้วจะแจ้งรับเสาพริกไทยอีกครั้ง
    • แจ้งเรื่องการดำเนินกิจกรรมที่จะดำเนินการขึ้นในกิจกรรมถัดไป ต้องมีการแก้ไข เนื่องจากได้รับคำแนะนำจากพี่เลี้ยงโครงการให้ดำเนินกิจกรรมศึกษาดูงานก่อน หลังจากดูงานให้ดำเนินกิจกรรมถัดไปได้ประชุมทำความเข้าใจ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้เข้าร่วมประชุมรับทราบข่าวสารจากการประชุม
    • ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจการดำเนินงานมากขึ้นและพร้อมที่จะช่วยเหลือการดำเนินกิจกรรมให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้เข้าใจในการทำงานมากขึ้น

     

    30 44

    23. คณะสภาดำเนินการรับซื้อขยะ จำแนกขยะ แต่ละประเภท ครั้งที่ 5

    วันที่ 16 กรกฎาคม 2559 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • การจัดการขยะ โดยการรับซื้อขยะที่สามารถรีไซเคิลได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีขยะที่สามารถนำมารีไซเคิลได้ ครั้งนี้มีขยะจำพวกเศษสังกะสี ขวดพลาสติก พัดลมเสีย ซึ่งกิจกรรมได้สร้างความตระหนักในการจัดการขยะของชุมชน มีแหล่งรับซื้อขยะในชุมชน และลดปริมาณขยะได้

     

    30 28

    24. จัดซื้อค่าพันธ์ุผักในโครงการ

    วันที่ 17 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ซื้อพันธ์ุผักเพื่อแจกให้กับครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมท้ายครัว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ทำการจัดซื้อพันธ์ุผักเพื่อใช้ในโครงการ

     

    1 40

    25. กิจกรรมท้ายครัว

    วันที่ 18 กรกฎาคม 2559 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ส่งเสริมการปลูกผักกินเองโดยใช้เศษอาหารและขยะย่อยสลายนำมาผลิตเป็นปุ๋ยหมักกลุ่มเป้าหมาย 40 คน โดยทำการลงทะเบียนครัวเรือนเป้าหมายในการประกวดครัวเรือนสะอาดและประกวดครัวเรือนที่ปลูกผักกินเองที่มีการดูแลและปลูกเป็นผลสำเร็จในกิจกรรมที่ได้เข้าร่วมโดยขั้นตอนจะทำการสำรวจครัวเรือนที่ได้ผลผลิตจริงตามภาพด้านบนในการสำรวจในกิจกรรมนี้ได้กลุ่มเป้าหมายที่ประสบความสำเร็จทั้งหมด 5 ครัวเรือน ด้วยกัน มีรายชื้อดังนี้
    1. นายฉ้ำ เต้งเฉียง
    2. นางสุชาวดี เต้งเฉียง
    3. นางรอม๊ะ หัสมา
    4. นางตีย๊ะ จิตรเทียง
    5. นางยุพิน เสียมไหม

    รายชื้อทั้งหมดนี้ได้คะแนนเท่าๆกันทั้ง5 คนในส่วนรางวัลที่ได้ โดยการมอบเสื้อโบโลคนละ 1 ตัว ประกาศนีบัตร พร้อมอัดกรอบคนละ 1ชุด และหมู่บ้านได้ทำการแต่งตั้งให้เป็นครัวเรือนตัวอย่างของหมู่ที่3บ้านช่องไทร ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ให้มีการกำหนดการตรวจผลผลิตได้ภายในเวลาที่กำหนด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ชาวบ้านมีแนวทางในการปลูกผักกินเองโดยทำการลงทะเบียนครัวเรือนเป้าหมายในการประกวดครัวเรือนสะอาดและประกวดครัวเรือนที่ปลูกผักกินเองที่มีการดูแลและปลูกเป็นผลสำเร็จในกิจกรรมที่ได้เข้าร่วมโดยขั้นตอนจะทำการสำรวจครัวเรือนที่ได้ผลผลิตจริงตามภาพด้านบนในการสำรวจในกิจกรรมนี้ได้กลุ่มเป้าหมายที่ประสบความสำเร็จทั้งหมด 5 ครัวเรือน

     

    40 40

    26. ประชุมคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 6

    วันที่ 30 กรกฎาคม 2559 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินการประชุมสภาชุมชนประจำเดือน ครั้งที่ 6
      • ให้ช่วยกันดูแลระมัดระวังอุบัติเหตุในช่วงเทศกาลสงกรานต์
      • โครงการตำบล๕ล้าน แจกพันธ์พริกไทยเรียบร้อยแล้ว มีเสาซีเมนต์ทำค้างใครที่ยังไม่มารับให้มารับด้วย
      • โครงการสปสช. ได้รับการอนุมัติงบทั้ง๓โครงการแล้ว และจะมีการจัดทำโครงการขึ้นให้แล้วเสร็จภายในปีนี้
      • ประธานคณะกรรมการบริหารจัดการอ่างเก็บน้ำห้วยตะแบกแจ้งการทำสัญญาขอใช้น้ำของต.ขอนคลานให้ชาวบ้านรับทราบ
    • จากการประชุมครั้งที่ผ่านมาได้แจ้งเรื่องการไปศึกษาดูงาน ให้คณะทำงานสำรวจรายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดยให้เยาวชนและผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมสามารถแจ้งรายชื่อไว้ได้ เพื่อเตรียมพร้อมในการเดินทางศึกษาดูงานต่อไป -คณะกรรมการที่ผ่านการคัดเลือกจากเวทีในชุมชนประชุมเพื่อกำหนดรูปแบบ ขั้นตอน วิธีการ และการลงมือปฏิบัติการกลุ่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะกรรมการที่ผ่านการคัดเลือกจากเวทีในชุมชนประชุมเพื่อกำหนดรูปแบบ ขั้นตอน วิธีการ และการลงมือปฏิบัติการกลุ่ม
    • ผู้เข้าร่วมประชุมรับทราบข่าวสารจากการประชุม
    • คณะทำงานได้ร่วมกันกำหนดรายละเอียดกิจกรรม โดยให้มีการสำรวจรายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรมถัดไป
    • คณะกรรมการบริหารจัดการขยะในชุมชนดำเนินการประชุมตามกำหนดการ

     

    30 30

    27. คณะสภาดำเนินการรับซื้อขยะ จำแนกขยะ แต่ละประเภท ครั้งที่ 6

    วันที่ 31 กรกฎาคม 2559 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะกรรมการบริหารจัดการขยะในชุมชนดำเนินการประชุมตามกำหนดการ สภาดำเนินการรับซื้อขยะและต่อมาก็ได้รับประทานอาหารว่างและปิดการประชุมซื้อขยะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จากการที่จัดประชุมคณะทำงานการจัดการขยะ ได้ข้อสรุปว่า คณะทำงานสภาจะคัดแยกขยะที่จะนำมารีไซเคิลทำเป็น ดอกไม้พลาสติก ทำโมบาย โดยทำจากขวดพลาสติกที่ไม่ใช้แล้วโดยจะมอบหมายหน้าที่ให้คณะทำงานสภารับซื้อขยะร่วมกับกลุ่มแม่บ้าน อสม.ทำการประดิษฐ์รีไซเคิล

     

    30 28

    28. ประชุมคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 7

    วันที่ 1 สิงหาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินการประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านประจำเดือน ครั้งที่ 7 โดยนายพจน์ สุขลิ้ม กำนันหมู่ที่ 3 บ้านช่องไทร ตำบลนาทอน เป็นประธานในการประชุม ประชาคมโครงการยกระดับศักยภาพหมู่บ้านเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากตามแนวทางประชารัฐหมู่บ้านละ 200,000 บาท ในที่ประชุมมีมติจัดทำโครงการปรับปรุงซ่อมแซมระบบจ่ายน้ำประปาประจำหมู่บ้าน
    • การดำเนินโครงการร่วมพลังคนบ้านช่องไทรจัดการขยะเพื่อชุมชนน่าอยู่ ต้องรอให้งบประมาณงวดที่ 2 เข้าก่อนถึงจะดำเนินกิจกรรมศึกษาดูงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้เข้าร่วมประชุมรับทราบข่าวสารจากการประชุม
    • คณะทำงานได้ร่วมกันสรุปรายละเอียดกิจกรรมที่จะเกิดขึ้น ระหว่างรอการโอนเงินงวดที่ 2

     

    30 54

    29. คณะสภาดำเนินการรับซื้อขยะ จำแนกขยะ แต่ละประเภท ครั้งที่ 7

    วันที่ 5 สิงหาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมเพื่อร่วมแลกเปลี่ยนการรับซื้อขยะที่ผ่านมามีปัญหาอุปสรรคอะไรบ้าง
    • รับซื้อขยะจากคนในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนการทำงานในการรับซื้อขยะของกลุ่ม
    • ได้รับซื้อขยะของคนในชุมชน

     

    30 28

    30. ประชุมคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 8

    วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินการประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านประจำเดือน ครั้งที่ 8 โดยนายพจน์ สุขลิ้ม กำนันหมู่ที่ 3บ้านช่องไทร เป็นประธานในการประชุม
    • จากการสำรวจรายชื่อเยาวชนและผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมศึกษาดูงาน ได้ครบจำนวนที่ต้องการแล้ว และร่วมกันกำหนดกิจกรรมที่จะดำเนินการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้เข้าร่วมประชุมรับทราบข่าวสารจากการประชุม
    • คณะทำงานได้สรุปรายละเอียดกิจกรรม หลังจากได้รายชื่อผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมแล้ว
    • ได้แผนการจัดกิจกรรมที่เป็นปัจจุบันและสามารถดำเนินการต่อไปอย่างต่อเนื่อง

     

    30 30

    31. คณะสภาดำเนินการรับซื้อขยะ จำแนกขยะ แต่ละประเภท ครั้งที่ 8

    วันที่ 20 สิงหาคม 2559 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะทำงานได้รู้ถึงหลักการปฏิบัติงานจริง
    • มีการติดตามผลการดำเนินงานของกลุ่ม องค์กรในการจัดการขยะในชุมชนกลุ่มเป้าหมาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานได้รู้ถึงหลักการปฏิบัติงานจริง
    • ได้รับซื้อขยะประจำเดือนซึ่งมีจำนวนขยะที่ลดลงเนื่องจากชุมชนได้มีวิธีในการใช้ประโยชน์

     

    30 28

    32. ประชุมคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 9

    วันที่ 23 สิงหาคม 2559 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินการประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านประจำเดือน ครั้งที่ 9 โดยนายพจน์ สุขลิ้ม กำนันหมู่ที่3 บ้านช่องไทร เป็นประธานในการประชุม
    • แจ้งคณะทำงาน ตอนนี้เงินงวดที่ 2 ได้โอนเข้าบัญชีแล้ว จึงร่วมกันประชุมกำหนดการที่จะจัดกิจกรรมศึกษาดูงาน พร้อมทั้งรายละเอียดการเกินทางและหลังจากการเดินทางให้ดำเนินการจัดกิจกรรมถัดไปได้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะกรรมการได้รับรู้ข้อมูลเรื่องปริมาณขยะในครัวเรือนชุมชนลดลง
    • ได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนเพื่อขับเคลื่อนการรับซื้อขยะและการจัดตั้งธนาคารขยะ

     

    30 40

    33. คณะสภาดำเนินการรับซื้อขยะ จำแนกขยะ แต่ละประเภท ครั้งที่ 9

    วันที่ 28 สิงหาคม 2559 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คนในชุมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการกับขยะในชุมชนมากขึ้นคนในชุมชนมีพฤติกรรมการทิ้งขยะในบริเวณบ้านเรือนและที่สาธารณะลดลงมีการรวมกลุ่มคนในการจัดการขยะและการดูแลชุมชนมากขึ้น สภาพแวดล้อมในชุมชนสะอาด น่าอยู่ไม่มีขยะเกลื้อนชุมชนไม่มีการทิ้งขยะเกลื้อนชุมชนจะทำให้ส่งกลิ่นเหม็นส่งผลต่อสภาพแวดล้อมและมลพิษทางอากาศ 3.เกิดกติกาชุมชนด้านการจัดการขยะมากขึ้นในชุมชนคนในชุมชนมีความตระหนักถึงการทิ้งขยะและทำลายขยะที่ถูกวิธีมีกลไก/เครือข่ายด้านการจัดการขยะในชุมชนกลไกด้านการจัดการขยะมีศักยภาพในการทำงานมากขึ้นเกิดคนจิตสาธารณะในชุมชนคณะทำงานได้รู้ถึงหลักการปฏิบัติงานจริงการติดตามผลการดำเนินงานของกลุ่ม องค์กรในการจัดการขยะในชุมชนกลุ่มเป้าหมาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานได้รู้ถึงหลักการปฏิบัติงานจริง
    • การติดตามผลการดำเนินงานของกลุ่ม องค์กรในการจัดการขยะในชุมชนกลุ่มเป้าหมาย

     

    30 36

    34. ส่งเสริมศักยภาพผู้นำในการออกพื้นที่เรียนรู้นอกสถานที่ศึกษาดูงานการจัดการขยะ ที่ชุมชนตลาดใต้-บ้านกลาง จ.สงขลา

    วันที่ 3 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้นำหมู่บ้านนัดรวมตัวลูกบ้านในพื้นที่ ประชาชน เด็ก และเยาวชน เดินทางไปศึกษาดูงาน ณ ที่ชุมชนตลาดใต้-บ้านกลาง จ.สงขลา
    • รับฟังวิทยากรพูดให้ความรู้เรื่องการดำเนินงานก่อนเป็นศูนย์เรียนรู้จนมากลายเป็นศูนย์เรียนรู้ปัจจุบันได้ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและกระบวนการเรียนรู้ของประชาชนในการจัดการมูลฝอยชุมชน และปริมาณขยะ และประเภทขยะที่มีมากที่สุด ได้แก่ขยะอินทรีย์สูงถึงร้อยละ 64.17 ของปริมาณขยะประเภทอื่น ๆทั้งหมดรองลงมาเป็น ขยะประเภท กระดาษพลาสติก โลหะ แก้ว อะลูมิเนียมร้อยละ 32.62ส่วนที่เหลือ เป็นขยะทั่วไปอื่น ๆ ที่ปะปนกัน มีอยู่เพียงส่วนน้อยคือร้อยละ 3.21 เท่านั้น
    • ได้ให้ความรู้เรื่องวิธีการทำน้ำหมักไล่เเมลงต่างๆ โดยนำผักหรือเศษอาหารเศษผักที่ไม่ใช้แล้ว จุลินทรีย์ em กากน้ำตาล และน้ำเปล่า มาผสมกัน และเดินศึกษาดูพื้นที่ 6 ไร่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมศึกษาดูงาน ได้รับความรู้และรูปแบบการจัดการขยะด้วยตัวเองได้รับความรู้ในด้านต่างๆของการคัดแยกขยะและในการดูงานนั้นเกิดความเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างมากกับชาวบ้าน กลุ่มเยาวชน สภาแกนนำที่ได้ไปร่วมศึกษาดูงานในครั้งนี้โดยนำกลับมาใช้ในครัวเรือนของตนเองได้
    • ได้เรียนรู้การจัดการมูลฝอยชุมชน และปริมาณขยะ และประเภทขยะที่มีมากที่สุด ได้แก่ขยะอินทรีย์สูงถึงร้อยละ 64.17 ของปริมาณขยะประเภทอื่น ๆทั้งหมด
    • เรียนรู้การจัดการขยะประเภท กระดาษพลาสติก โลหะ แก้ว อะลูมิเนียมร้อยละ 32.62ส่วนที่เหลือ
    • เรียนรู้การจัดการประเภทขยะทั่วไปอื่น ๆ ที่ปะปนกัน มีอยู่เพียงส่วนน้อยคือร้อยละ 3.21 เท่านั้น
    • มีความรู้เรื่องวิธีการทำน้ำหมักไล่เเมลงต่างๆ โดยนำผักหรือเศษอาหารเศษผักที่ไม่ใช้แล้ว จุลินทรีย์ em กากน้ำตาล และน้ำเปล่า มาผสมกัน

     

    60 64

    35. ประชุมคณะทำงานสภาผู้นำหมู่บ้าน ครั้งที่ 10

    วันที่ 22 กันยายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้รับผิดชอบโครงการพูดคุยกับคณะกรรมการหมู่บ้าน เพื่อการเตรียมความพร้อมในการคัดเลือกทีมงานคัดเลือกทีมงานสภาผู้นำชุมชนที่มีความหลากหลายของกลุ่ม ทีมโครงการ กลุ่มเยาวชน อสม. และผู้มีจิตอาสาทำงานเพื่อชุมชน จำนวน 25 คน และประสานตัวบุคคลด้วยวาจา เข้าร่วมเป็นทีมก่อนเบื้องต้น
    • จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 2 วัน โดยมีการชี้แจงโครงการ บทบาทการทำงานองค์ความรู้การจัดการขยะ และ เชิญ หมู่บ้านต้นแบบการจัดการขยะของชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน มาร่วมเล่า พูดคุย การทำงาน เพื่อให้ ทีมงานเกิดไอเดีย รูปแบบ และเสริมพลังการทำงานตั้งแต่เริ่มต้น (วันที่ 1)และร่วมเรียนรู้ ฐานเรียนรู้จริงจากชุมชนต้นแบบ (วันที่ 2 ภาคเช้า)และกลับมาสรุปสิ่งเรียนรู้ที่ได้ (ภาคบ่าย)เลขาทีมรับผิดชอบโครงการ ประเมินผลและสรุปกิจกรรมจัดทำแผนร่วมกัน ในการติดตามโครงการและการพบปะพูดคุยเพื่อการประเมินผลโครงการเป็นระยะๆ จำนวน 10ครั้งผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินกิจกรรมประชุมสภาผู้นำหมู่บ้านประจำเดือน ครั้งที่ 10โดยมีสภาชุมชนบ้านช่องไทรเข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะในชุมชนดำเนินการประชุมตามกำหนดการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้กำหนดการในการจัดกิจกรรมแต่ละกิจกรรม เพื่อให้เสร็จในเดือนตุลาคมนี้
    • ได้รับคำชมว่าโครงการที่ทำได้เกิดผลต่อชุมชนคือเกิดสิ่งแวดล้อมดีขึ้น ครัวเรือนมีสภาพน่าอยู่ชุมชนมีขยะลดลง

     

    30 30

    36. คณะสภาดำเนินการรับซื้อขยะ จำแนกขยะ แต่ละประเภท ครั้งที่ 10

    วันที่ 28 กันยายน 2559 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เป็นการประชุมของทีมคณะทำงานจัดซื้อขยะโดยมีการพูดคุยให้เข้าใจในปัญหาของชุมชน ปัญหาขยะในชุมชนและได้นักจัดการข้อมูลชุมชนด้านขยะในชุมชน
    • ชุมชนได้รูปแบบการทำงานของทีมสภาพลเมืองประจำหมู่บ้านที่ใช้ในการทำงานในรูปแบบเดียวกันได้ข้อมูลชุมชนที่ผ่านกระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลแล้วชุมชนได้ข้อมูลที่สามารถใช้เป็นกรอบแนวทางในการจัดการขยะชุมชนมียุทธศาสตร์และแผนการพัฒนาด้านการจัดการขยะในชุมชนชุมชนเกิดสิ่งแวดล้อมดีขึ้น ครัวเรือนมีสภาพน่าอยู่ชุมชนมีขยะลดลงชุมชนมีการพัฒนา มีกลไกการทำงานที่เป็นรูปธรรมชัดเจนโดยเฉพาะการจัดการปัญหาขยะในชุมชนคนในชุมชนส่วนใหญ่เห็นความสำคัญของปัญหาขยะและมีส่วนร่วมในกาจัดการขยะในชุมชนเกิดสุขภาวะของคนในชุมชนมีการร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหาชุมชนอย่างแท้จริงสภาผู้นำได้นำความรู้และวิธีการจัดการขยะไปปรับใช้ในชุมชน จัดกิจกรรมขัดแยกขยะในชุมชนคนในชุมชนมีสุขภาวะที่ดี เรียนรู้การจัดการขยะอินทรีย์ตามแบบวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงสิ่งแวดล้อมในชุมชนเดินไปในทางที่ดีขึ้นคนในชุมชนมีสุขภาภาพจิตที่ดี มีครัวเรือนที่สะอาดปราศจาคโรคชุมชนมีการพัฒนา มีกลไการทำงานที่เป็นรูปธรรมชัดเจนโดยเฉพาะการจัดการปัญหาขยะในชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้พูดคุยถึงสถานการณ์ของการจัดซื้อขยะในชุมชน
    • มีกลไกการทำงานที่เป็นรูปธรรมชัดเจนโดยเฉพาะการจัดการปัญหาขยะในชุมชน

     

    30 36

    37. พบพี่เลี้ยง

    วันที่ 2 ตุลาคม 2559 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้รับผิดชองโครงการเดินทางพบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจสอบเอกสารการเงินและข้อมูลเว็บไซร์และได้ปรับเอกสารการเงินและรายงานกิจกรรมตามที่พี่เลี้ยงได้แนะนำเพื่อให้สอดคล้องตามแผนงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • พี่เลี้ยงตรวจสอบเอกสารการเงินและเว็บไซร์พบว่าต้องทำการแก้ไข้เพิ่มเติมข้อมูลอีก จึงทำการแก้ไขและเพิ่มเติมข้อมูลทางเว็บไซร์ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์

     

    3 3

    38. งานสร้างสุข

    วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • วันที่ 3ต.ค.59เข้าร่วมพิธีเปิดงานสร้างสุขร่วมรับฟังแนวคิดจากนาย อภิสิทธิ์เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และการเสวนาจากผู้นำต่างๆ ของ สสส. สปสช. สจรส
    • วันที่ 4ต.ค.59 เข้าร่วมประชุมห้องย่อย ชุมชนน่าอยู่ รับฟังการทำงานของโครงการชุมชนน่าอยู่ต่างๆ ที่ประสบความสำเร็จ
    • วันที่ 5ต.ค.59 เข้าร่วมประชุมฟังการเสนอแนะการทำงานของ สสส สปสชสจรส และภาคีเครือข่ายสร้างสุขภาคใต้ และผู้รับผิดชอบโครงการพื้นที่ละ2คน เข้าร่วมกิจกรรมงานตนใต้สร้างสุข ปี 2559 ณ หอประชุมนานาชาติฯ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ รับฟังการพุดคุยเรื่องสุขภาพ การสร้างชุมชนให้น่าอยู่ ชมนิทรรศการของแต่ละชุมชนในภาคใต้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้รับความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหลายๆด้านทั้งสุขภาพ ชุมชน สังคม ผลไม้ อาหาร วัฒนธรรม วิถีชีวิตของแต่ละชุมชน ทุกพื้นที่
    • ได้เห็นว่าแต่ละชุมชนมีความแตกต่างกันอยู่ที่ว่าจะทำอย่างไรให้ชุมชนน่าอยู่มากยิ่งขึ้น
    • แต่ละชุมชนที่เข้าร่วมจัดนิทรรศการมีความน่าอยู่แตกต่างกันไปแล้วแต่สภาพแวดล้อมของแต่ละชุมชน

     

    2 1,000

    39. กิจกรรมครัวเรือนสะอาด ชุมชนน่าอยู่ ห่างไกลโรค

    วันที่ 6 ตุลาคม 2559 เวลา 10:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดประกวดครัวเรือนสะอาดในชุมชนโดยมีกลุ่มเป้าหมาย40ครัวเรือน โดยทำการลงทะเบียนครัวเรือนเป้าหมายโดยทำการสำรวจความก้าวหน้าที่เกินขึ้นโดยก่อนหน้านี้ได้ให้พันธุ์ผักแก่ครัวเรือนเป้าหมายไปปลูก 40 ครัวเรือน โดยมีพันธุ์ผักต่างๆ ครัวเรือนไหนทำตามขั้นตอนและมีการจัดเก็บคะแนนในการตัดสินก็จะใช้กรรมการลงพื้นที่ไปดูบ้านบริเวณบ้านที่ปลูกผักและจะดูการเก็บกวาดบริเวณบ้านเป็นคะแนนอีกทางหนึ่งในการคัดเลือกได้ตัวแทนที่ได้คะแนนเท่าๆกันทั้งหมด 5 ครัวเรือน โดยรางวัล ก็จะมีประกาศนียบัตรให้ เสื้อโบโล 1 ตัว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ในการจัดประกวดครัวเรือนสะอาดในชุมชนครั้งนี้ได้เห็นชาวบ้านครัวเรือนเป้าหมายมีการแข่งขันกันและรู้จักใช้พื้นที่บ้านให้เป็นประโยชน์
    • มีการปลูกผักกินเองและครัวเรือนสะอาดรู้จักการจัดเก็บบ้านที่เป็นสัดส่วนมากขึ้นในกิจกรรมครั้งนี้ชาวบ้านมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
    • ได้ครัวเรือนดีเด่นที่ผ่านเกณฑ์จำนวน 5 ครัวเรือน

     

    40 40

    40. เวทีนำเสนอผลการดำเนินงานต่อสาธารณะ

    วันที่ 9 ตุลาคม 2559 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้รับผิดชอบโครงการทำหน้าที่รายงานผลการดำเนินโครงการร่วมพลังคนบ้านช่องไทรจัดการขยะเพื่อชุมชนน่าอยู่ แก่ผู้เข้าร่วมประชุม ตั้งแต่ดำเนินโครงการแรกเริ่มเสนอโครงการ เขียนโครงการ ดำเนินโครงการในแต่ละกิจกรรม จนเสร็จสิ้นโครงการ และร่วมให้ผู้เข้าร่วมประชุมเสนอโครงการที่อาจจะดำเนินการในปีถัดไปกิจกรรมนี้ได้รับความร่วมมือในการเข้าร่วมเป็นอย่างดีคนในชุมชนส่วนใหญ่เห็นความสำคัญของปัญหาขยะและมีส่วนร่วมในการจัดการขยะในชุมชนเกิดสุขภาวะของคนในชุมชนมีการร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหาชุมชนอย่างแท้จริง พร้อมกับประชุมประจำเดือนหมู่บ้าน
    • แจ้งข่าวสารประชาสัมพันธ์จากทางอำเภอ
      • เรื่องการจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรที่ปลูกยางในพื้นที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ และแจ้งให้ดำเนินเรื่องรับสิทธิในกรณีไม่มีเอกสารสิทธิ์ ณ สำนักงานการยางแห่งประเทศไทย อ.ละงู จ.สตูล ก่อน 30 กันยายน 2559 นี้
      • การรับบริจาคโลหิต ในวันที่ 19 กันยายน 2559 ณ หอประชุม 100 ปี อำเภอทุ่งหว้า
      • การรายงานผลโครงการสปสช. ได้ดำเนินกิจกรรมเสร็จสิ้นทั้ง 3 กิจกรรม และพร้อมส่งเอกสารรายงานผลแก่อบต.ทราบ
      • การออกหน่วยเคลื่อนที่ทหารผ่านศึก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คนในชุมชนส่วนใหญ่เห็นความสำคัญของปัญหาขยะและมีส่วนร่วมในการจัดการขยะในชุมชนเกิดสุขภาวะ
    • คนในชุมชนมีการร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหาชุมชนอย่างแท้จริง

     

    120 118

    41. พบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจเอกสาร

    วันที่ 10 ตุลาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้รับผิดชอบโครงการเดินทางไปพบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจการบันทึกข้อมูลลงเว็บไซร์และเอกสารการเงินเพื่อปิดโครงการงวด2 ให้พี่เลี้ยงตรวจเอกสารทางการเงินว่าไปถึงไหนแล้วว่าเรียบร้อยแล้วยัง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • พี่เลี้ยงตรวจเอกสารทางการเงินว่าไปถึงไหนแล้วว่าเรียบร้อยแล้วยังแก้ไขตามที่พี่เลี้ยงแนะนำ

     

    3 3

    42. พบพี่เลี้ยงตรวจเอกสาร

    วันที่ 11 ตุลาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • พบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจเอกสารทางการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • พบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจเอกสารทางการเงิน

     

    2 3

    43. บันทึกถ่ายภาพกิจกรรม

    วันที่ 12 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้รับผิดชอบโครงการทำหน้าที่บันทึกภาพกิจกรรมในทุกๆกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้จัดเก็บภาพถ่ายทุกกิจกรรม เพื่อเผยแพร่ให้ชาวบ้านรับทราบ

     

    2 2

    44. ตรวจเอกสารจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์เพื่อนำเสนอ สสส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ความเข้าใจในการจัดเอกสารให้ถูกต้อง เพื่อเข้าเล่มรายงานฉบับสมบูรณ์

     

    2 2

    45. จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์เพื่อนำเสนอ สสส.

    วันที่ 14 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารแต่ละกิจกรรมในโครงการ เพื่อนำเอกสารไปตรวจกับ สสส. สจรส.

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ประธานโครงการและผู้รับผิดชอบโครงการ ร่วมกันจัดทำรายงาน ประสานพี่เลี้ยงเพื่อรับคำแนะนำในการตรวจเอกสารจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

     

    5 2

    46. สังเคราะห์โครงการ ปิดงวด 2

    วันที่ 15 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ตรวจเอกสารสังเคราะห์โครงการ ปิดงวด 2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • การตรวจสอบเอกสารการเงิน ลงวันที่ในใบสำคัญรับเงินให้เรียบร้อย
    • การตรวจสอบการคีย์ข้อมูลกิจกรรมลงเว็บไซร์ต้องดำเนินการแก้ไขรายละเอียดเล็กน้อยเพื่อให้ได้ข้อความที่สวยงาม
    • ผลสรุปที่สำคัญ การตรวจสอบต้องดำเนินการแก้ไขตามที่เจ้าหน้าที่ สจรส.มอ. แนะนำ และให้ดำเนินการ

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนในการจัดการข้อมูล การวางแผนงานการทำงานและจัดทำแผนปฏิบัติการเรื่องขยะในชุมชน
    ตัวชี้วัด : - ประชาชนเข้าใจปัญหาขยะในชุมชน - ชุมชนมีการคัดแยกขยะ - ขยะในชุมชนลดลง - มีการนำขยะไปทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ - เกิดธนาคารขยะในชุมชน - ครัวเรือนมีสภาพแวดล้อมที่ดี - ชุมชนสามารถนำขยะที่เกิดจากการคัดแยกไปสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ครัวเรือนและชุมชนได้ - ชุมชนมีฐานข้อมูลด้านขยะ - ชุมชนมีนักจัดการข้อมูลด้านการจัดการขยะเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาขยะของชุมชน - ชุมชนมีแผนการทำงาน แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ และรูปแบบการทำงาน
    • ประชาชนเยาวชนมีความเข้าใจปัญหาในการคัดแยกขยะในชุมชน
    • ชุมชนมีฐานข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องขยะ จำนวน 1 ชุด
    • มีกลุ่มเยาวชนในการจัดเก็บข้อมูล
    • เกิดการนำขยะไปทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ
    • เยาวชนในชุมชน จัดเก็บข้อมูลอย่างถูกต้อง และเกิดธนาคารขยะในชุมชน
    • ครัวเรือนมีสภาพแวดล้อมที่ดีปลูกผักกินเอง
    • ชุมชนสามารถนำขยะที่เกิดจากการคัดแยกนำไปรีไซเคิล
    • ชุมชนมีฐานข้อมูลด้านขยะโดยได้รับความร่วมมือจากชาวบ้านในชุมชนและองค์การบริหารตำบลนาทอนเป็นอย่างดี
    • ชุมชนมีนักจัดการข้อมูลด้านการจัดการขยะเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาขยะของชุมชน
    • เกิดแผนการทำงาน แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ และรูปแบบการทำงาน
    2 เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริหารจัดการขยะของชุมชน
    ตัวชี้วัด : - ชุมชนเกิดกติกาด้านการจัดการขยะโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนและสามารถนำไปสู่แหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการขยะในชุมชนที่มีการบริหารจัดโดยคนในชุมชน
    • คนในชุมชนมีความตระหนักในการมีส่วนร่วมกับชุมชนมากยิ่งขึ้น
    • ชุมชนสู่การปฏิบัติการด้านการจัดการขยะจำนวน 60 ครัวเรือน
    • ครัวเรือนมีความรู้และการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง 40 ครัวเรือน และ40 ครัวเรือน ของครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรมทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพใช้ในครัวเรือนมีการคัดแยกขยะจากบ้านเรือนและร้านค้าในชุมชน
    3 เพื่อสร้างเครือข่ายในการบริหารจัดการขยะของชุมชน
    ตัวชี้วัด : - ชุมชนมีเครือข่ายการจัดการขยะที่ประกอบไปด้วยกลุ่มคนในชุมชนที่หลากหลายทั้งท้องถิ่น ท้องที่ องค์กรศาสนา องค์กรภาคประชาชนแกนนำชุมชน กลุ่มเยาวชนในชุมชนที่มีศักยภาพ - มีเวทีประชุมสำหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในชุมชนเป็นประจำทุกเดือนและสามารถเชื่อมโยงไปสู่ชุมชนอื่นๆได้ในอนาคต
    • สภาผู้นำชุมชนมีการประชุมทุกเดือน
    • การประชุมทุกครั้งมีการหารือ ปรึกษาโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน
    • คณะทำงานมีศักยภาพมากขึ้น
    • คนในชุมชนมีส่วนร่วมกับชุมชนมากขึ้น
    4 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
    ตัวชี้วัด : - มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด - มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม - มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม - มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
    • มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ของจำนวนครั้งที่จัด
    • มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
    • มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
    • มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนในการจัดการข้อมูล การวางแผนงานการทำงานและจัดทำแผนปฏิบัติการเรื่องขยะในชุมชน (2) เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริหารจัดการขยะของชุมชน (3) เพื่อสร้างเครือข่ายในการบริหารจัดการขยะของชุมชน (4) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ร่วมพลังคนบ้านช่องไทรจัดการขยะเพื่อชุมชนน่าอยู่

    รหัสโครงการ 58-03865 รหัสสัญญา 58-00-2256 ระยะเวลาโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    สภาหมู่บ้านประกอบด้วยกรรมการหมู่บ้านและตัวแทนกลุ่มต่างๆในชุมชน

    การประชุมสภาหมู่บ้านเดือนละ1ครั้ง

    • การประชุมสภาหมู่บ้านในการจัดทำข้อตกลงและเสนอข้อบัญญัติหมู่บ้านต่อไป
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
    • กลุ่มครัวเรือนอาสา และกลุ่มจิตอาสาในชุมชน

    กลุ่มครัวเรือนอาสา จำนวน 40 ครัวเรือน

    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการซื้อและใช้จ่ายสินค้าโดยใช้ถุงผ้าแทนถุงพาสติกในชุมชน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
    • ธนาคารขยะที่มีการจัดซื้อขยะเป็นประจำทุกเดือน
    • อาคารอเนกประสงค์บ้านช่องไทร
    • เป็นศูนย์เรียนรู้ในการจัดการขยะครบวงจร
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค
    • การนำปุ๋ยหมักชีวภาพในการปลูกผักบริโภคในครัวเรือน
    • การจัดทำน้ำหมักชีวภาพ
    • การจัดทำปุ๋ยหมักชีวภาพเพื่อลดรายจ่ายในการซื้อปุ๋ยเคมีในการปลูกผักในชุมชน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
    • การมีส่วนร่วมในการไม่สูบบุหรี่ในสถานที่ติดป้ายพื้นที่ปลอดบุหรี่ตลอดกิจกรรมโครงการ
    • ป้ายพื้นที่ปลอดบุหรี่
    • การรณรงค์พื้นที่สาธารณะในการไม่สูบหรี่ในชุมชน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
    • ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธีและนำขยะเปียกมาทำปุ๋ยหมักชีวภาพ ทำปุ๋ยหมัก
    • ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมีการคัดแยกขยะอย่างถูกวิธีและนำขยะเปียกมาทำปุ๋ยหมักชีวภาพ ทำปุ๋ยหมักจำนวน 40ครัวเรือน
    • การขยายครัวเรือนคัดแยกขยะให้ครบคลุมทั้งชุมชน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
    • การเรียนรู้การคัดแยกขยะ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากมูลสัตว์และเศษอาหาร หรือขยะเปียก
    • ครัวเรือนนำร่อง40ครัวเรือน
    • การนำความรู้ความเข้าใจเรื่องการคัดแยกขยะ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากมูลสัตว์และเศษอาหาร หรือขยะเปียกแก่ครัวเรือนที่สนใจทุกครัวเรือน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
    • การคัดแยกขยะรับซื้อขยะในชุมชน
    • ธนาคารขยะ
    • การบริหารจัดการธนาคารขยะชุมชนเป็นรูปธรรมชัดเจน
    • เป็นศูนย์เรียนรู้ในการจัดการขยะครบวงจร
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
    • มีกติการ่วมของชุมชน
    • กติกาชุมชน

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
    • การนำกติกาชุมชนในการจัดขยะเพื่อจัดทำข้อบัญญัติท้องถิ่น
    • ข้อบัญญัติท้องถิ่นในสนับสนุนการจัดทำศูนย์เรียนรู้ชุมชนในการจัดการขยะ
    • การจัดทำธรรมนูญชุมชน

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
    • การแลกเปลี่ยนเรียนรู้นอกพื้นที่เกี่ยวกับการจัดการขยะ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ
    • เวทีแลกเปลี่ยนนอกพื้นที่ 1 ครั้ง
    • การแลกเลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนจากการสนับสนุนของท้องถิ่น
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
    • การลงพื้นที่ประเมิน ครัวเรือนอาสา 40 ครัวเรือนนำร่องในการคัดแยกขยะก่อนไปทิ้ง การทำปุ๋ยหมัก นำเศษอาหารไปให้สัตว์เลี้ยง เช่น เป็ด ไก่ปลาการทำความสะอาด จัดบริเวณบ้าน เพื่อความเรียบร้อย เป็นบ้านที่น่ามองและปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้
    • การลงพื้นที่ประเมิน
    • การนำผลการประเมินไปจัดทำข้อมูลและขยายครัวเรือนนำร่องให้ครอบคลุมทั้งชุมชน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
    • การเรียนรู้การคัดแยกขยะ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพจากมูลสัตว์และเศษอาหาร หรือขยะเปียก
    • ศูนย์เรียนรู้ธนาคารขยะบ้านช่องไทร
    • การเรียนรู้การจัดการขยะให้ครอบคลุมทั้งชุมชนและชุมชนใกล้เคียง
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
    • การจัดทำปุ๋ยหมักชีวภาพในการปลูกผักบริโภค
    • ครัวเรือน 40 ครัวเรือน
    • การสนับสนุนจากหน่วยงานรัฐ
    • มีครัวเรือนที่จัดทำปุ๋ยหมักชีวภาพในการปลูกผักบริโภคเพิ่มขึ้น
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ร่วมพลังคนบ้านช่องไทรจัดการขยะเพื่อชุมชนน่าอยู่ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 58-03865

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นาย จิรวัฒน์ จิตรเที่ยง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด