directions_run

ศูนย์การเรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีชีวภาพครบวงจรเพื่อขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง (ต่อเนื่องปี2)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ ศูนย์การเรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีชีวภาพครบวงจรเพื่อขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง (ต่อเนื่องปี2) ”

บ้านควนพัง หมู่ที่ 2 ตำบลควนพัง อ.ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช

หัวหน้าโครงการ
นาง วิมล ส้มนิ่ม

ชื่อโครงการ ศูนย์การเรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีชีวภาพครบวงจรเพื่อขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง (ต่อเนื่องปี2)

ที่อยู่ บ้านควนพัง หมู่ที่ 2 ตำบลควนพัง อ.ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 58-03879 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2045

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2015 ถึง 15 ตุลาคม 2016


กิตติกรรมประกาศ

"ศูนย์การเรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีชีวภาพครบวงจรเพื่อขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง (ต่อเนื่องปี2) จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านควนพัง หมู่ที่ 2 ตำบลควนพัง อ.ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ศูนย์การเรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีชีวภาพครบวงจรเพื่อขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง (ต่อเนื่องปี2)



บทคัดย่อ

โครงการ " ศูนย์การเรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีชีวภาพครบวงจรเพื่อขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง (ต่อเนื่องปี2) " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านควนพัง หมู่ที่ 2 ตำบลควนพัง อ.ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช รหัสโครงการ 58-03879 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 212,100.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 710 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนให้มีเศรษฐกิจครัวเรือนดีขึ้นด้วยวิถีการผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร
  2. เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้สู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร
  3. เพื่อปรับสภาพแวดล้อนในชุมชนให้เอื้อต่อการส่ง้สริมการผลิตและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการแปรรูปข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพ
  4. เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนศูนย์การเรียนรู้และกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
  5. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมปฐมนิเทศโครงการ

    วันที่ 3 ตุลาคม 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • รับฟังแนวทางการบริหารจัดการโครงการจาก ผศ.ดร.พงเทพษ์ และทีมงานของ สจรส.มอ ลงมือปฏิบัติการเกี่ยวกับการรายงานผลต่างๆ ผ่านเว็บไซด์คนใต้สร้างสุข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้รับความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการ และการจัดทำรายงานต่างๆ ผ่านระบบเว็บไซด์ คนใต้สร้างสุข ซึ่งสามารถนำไปขยายผลและนำไปใช้ในการดำเนินโครงการได้เป็นอย่างดี

     

    2 2

    2. ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่

    วันที่ 9 ตุลาคม 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • 9.00-12.00 จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่ และล้างอัดขยายภาพ
    • 12.00-13.00 ติดป้ายเขตปลอดบุหรี่ ที่โรงเรียนสุนทราภิบาล และ รพ.สต. บ้านทำเนียบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีการติดตั้งป้ายเขตปลอดบุหรี่จำนวน 2 ป้าย ที่ รพ.สต.บ้านทำเนียบ และ โรงเรียนสุนทราภิบาล ซึ่งเป็นสถานที่ในการจัดประชุมกิจกรรมต่างๆ ของโครงการและประชุมหมู่บ้าน

     

    10 10

    3. ประชุมคณะทำงานและแกนนำในชุมชนเดือนตุลาคม

    วันที่ 10 ตุลาคม 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • 09.00-10.00น.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเดินทางมาพร้อมกัน ณ ศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอนทรีย์ครบวงจร
    • 10.00-11.00น.คณะทำงานได้ชี้แจงรายละเอียดของโครงการ
    • 11.00-11.30น.แกนนำในชุมชนชี้แจงขั้นตอนแนวทางการทำงานและการลงมือปฏิบัติให้กับกลุ่ม อสม. และประชาชนทั่วไปรับทราบ
    • 11.30-12.00น.ร่วมรับประทานอาหารว่าง
    • 12.00-12.30น.คณะทำงานเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชุมเสนอความคิดเห็นร่วมกัน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หลังจากนั้นคณะทำงานได้สรุปข้อมูลที่ได้ในการประชุมครั้งนี้ และเสร็จสิ้นการประชุมในวันนี้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • กลุ่มเจ้าหน้าที่ รพ.สต. บ้านทำเนียบ และ อสม. รวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับทราบเกี่ยวกับรายละเอียดของโครงการ ขั้นตอนการดำเนินโครงการร่วมไปถึงได้แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับโครงการ ว่าเป็นโครงการที่ดี รักษาวัฒนธรรมและฟื้นฟูการทำนา ได้จัดตั้งคณะทำงานร่วมกัน และจะมีการประชุมเพื่อวางแผนการทำโครงการทุกเดือน

     

    20 43

    4. สำรวจข้อมูลเพื่อทำแผนที่นิเวศท้องนา

    วันที่ 11 ตุลาคม 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • สำรวจข้อมูลเกี่ยวกับระบบนิเวศในการทำนาและได้จัดทำแผนที่ด้วยมือ แผนที่นาอินทรีย์ นาเคมีโดยประชนชนในชุมชนและเยาวชนช่วยกันดำเนินการในการเก็บข้อมูล เพื่อพัฒนาการทำนาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้สำรวจข้อมูลเพื่อทำแผนที่นิเวศ

    1. ได้ทำแผนที่ด้วยมือเกี่ยวกับระบบนิเวศ
    2. สามารถทำให้ประชาชนรู้ถึงข้อมูลชุมชนเกี่ยวกับสภาพในปัจจุบันในการทำนามากขึ้น
    3. ทำให้การทำนาได้ผลดีมากกว่าเดิม

     

    40 40

    5. เวทีคืนข้อมูลระบบนิเวศนาให้ชุมชน

    วันที่ 21 ตุลาคม 2015 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. คณะทำงานและแกนนำในชุมชนได้ชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับกิจกรรม
    2. ให้ประชาชนแสดงบทบาทสมมุติผลที่ที่เกิดขึ้นในการผลิตข้าวแบบเคมี และเล่าเรื่องเกี่ยวกับการผลิตข้าวแบบเคมี
    3. ให้ประชาชนอีกกลุ่มเล่าเกี่ยวกับการผลิตข้าวแบบอินทรีย์ใช้สารอินทรีย์ในการทำนา
    4. ทั้งสองกลุ่มเปรียบเทียบผลที่ได้รับและเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาและร่วมมือการทำกิจกรรมด้วยกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ประชาชนในชุมชนมีความรู้เกียวกับการผลิตข้าว ทั้งแบบเคมี คือ เสี่ยงต่อการเป็นโรค เนื่องจากในกระบวนการผลิตตั้งแต่เริ่มต้นจะใช้ปุ๋ยเคมี ใช้ยาฆ่าหญ้า จนกระทั่งเก็บเกี่ยว ข้าวออกรวงสวย แต่มีค่าใช้จ่ายเยอะ และเมื่อทานมาก ๆ จะส่งผลให้ร่างกายได้รับสารเคมีสะสม และแบบอินทรีย์ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่สามารถผลิตได้เองในหมู่บ้าน มีชาวบ้านมาร่วมมือร่วมแรงกันทำปุ๋ย ลงแขกทำนา จนได้ข้าวที่ออกรวงสวยและมีเงินเหลือเก็บเนื่องจากต้นทุนการผลิตไม่แพง ซึ่งสามรถนำความรู้ที่ได้ไปปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่างๆ ในการผลิตข้าวเพิ่มขึ้น

     

    100 100

    6. กิจกรรมชวนน้องลงนา พัฒนาพื้นที่สาธารณะเพื่อการผลิตข้าวชุมชน

    วันที่ 26 ตุลาคม 2015 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • กิจกรรมนำเยาวชนจากครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ มาเรียนรู้กระบวนการผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพ ในพื้นที่ว่างเปล่าที่เป็นนาร้างในหมู่บ้าน เพื่อให้เยาวชนเป็นผู้ปลูกผู้ดูแลรักษาผู้เก็บเกี่ยว และนำผลผลิตที่ได้มาเป็นเมล็ดพันธุ์ตั้งต้นในธนาคารเมล็ดพันธุ์ อันจะทำให้เกิดความยั่งยืนทั้งในเชิงกระบวนการและในส่วนของวัตถุดิบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เยาวชนได้เรียนรู้กระบวนการผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพ ขั้นตอนการทำนา การถอนต้นกล้า และการดำนาทำให้สร้างความสามัคคีกันในหมู่ชาวบ้านและเยาวชนได้เป็นอย่างดีเยี่ยม

     

    54 15

    7. ประชุมคณะทำงานและแกนนำในชุมชนเดือนพฤศจิกายน

    วันที่ 10 พฤศจิกายน 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะทำงานได้มีการประชุม ทบทวน วางแผน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จากการประชุมทำให้แกนในชุมชน สภาผู้นำ และคณะทำงาน มีความเข้มแข็ง รู้จักแก้ปัญหา ในการทำกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับโครงการเพิ่มขึ้น

     

    20 20

    8. สร้างกระบวนการเรียนรู้การผลิตข้าวอินทรีย์ ตั้งแต่ก่อยการปลูก การปลูก การดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยว

    วันที่ 14 พฤศจิกายน 2015 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ได้ลงพื้นที่ในโครงการ มีคณะทำงานโครงการและตัวแทนชาวบ้านเขาร่วมให้ความรู้และร่วมคิดจัดทำหลักสูตร โดยในวันนี้ร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลจัดทำหลักสูตรการเรียนรู้ก่อนการผลิต

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้สาธิตการทำปุ๋ยอินทรีย์ โดยใช้วัสดุจากธรรมชาติ ได้แก่ แกลบ และขีวัว ผสมกันก่อนนำไปหมักอีก 15 วัน เพื่อจัดทำเป็นปุ๋ยใส่ในนาข้าว ทำให้ได้หลักสูตรการเรียนรู้เพื่อใช้ในศูนย์การเรียนรู้ของชุมชน เรื่อง หลักสูตรการเรียนรู้ก่อนการผลิต ซึ่งสอดคล้องกับความชาวบ้านในการเรียนรู้และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง

     

    60 60

    9. สร้างกระบวนการเรียนรู้กระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว

    วันที่ 20 พฤศจิกายน 2015 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ได้ลงพื้นที่ในโครงการ มีคณะทำงานโครงการและตัวแทนชาวบ้านเขาร่วมให้ความรู้และร่วมคิดจัดทำหลักสูตรครั้งที่ 2 โดยจัดทำเรื่อง 1.เรียนรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการปลูก 2.การกำจัดแมลงศัตรูพืช 3.การเก็บเกี่ยว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงาน ทีมสภาผู้นำ และตัวแทนชาวบ้านในพื้นที่ ได้รู้วิธีการปลูกข้าวที่ถูกต้องและการกำจัดศัตรูพืชโดยวิธีธรรมชาติ และขั้นตอนการเก็บเกี่ยวที่ถูกต้อง เช่น การเก็บเกี่ยวด้วยแกระข้าว เป็นต้น

     

    0 60

    10. กิจกรรมลงแขกพัฒนาศูนย์เรียนรู้

    วันที่ 5 ธันวาคม 2015 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • 08.00-09.00 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเดินทางมาพร้อมกัน ณ ศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอนทรีย์ครบวงจร
    • 09.00-11.30 ร่วมกันลงแขกดำนำพัฒนาแปลงเรียนรู้การผลิตข้าวสังขหยดอินทรีย์
    • 11.30-13.00 รับประทานอาหารร่วมกัน
    • 13.00-17.00 ร่วมพัฒนาพื้นที่โดยรอบศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีย์ครบวงจร (ถางหญ้าและทำความสะอาดบริเวณ)
    • 17.00-18.30 รับประทานอาหารร่วมกันและแลกเปลี่ยนพูดคุยผลการจัดกิจกรรมในช่วงที่ผ่านมา
    • 18.30-20.00 ร่วมจุดเทียนชัยถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผลผลิต จากความร่วมมือร่วมใจของคนในชุมชนทำใหเเกิดศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีย์ครบวงจรขึ้น โดยศูนย์เรียนรู้มี 2 ส่วนหลัก คือส่วนที่เป็นแปลงนาสาธิต และอาคารศูนย์เรียนรู้การแปรรูปข้าวสังหยดและคนในชุมชนได้เข้ามาเรียนรู้กระบวนการผลิตได้จากการลงมือปฏิบัติจริง
    • ผลลัพธ์ เกิดศูนย์เรียนรู้ที่เกิดขึ้นมีประชาชนมาร่วมกันพัฒนามากกว่า 40 คน ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมและมีหลักสูตรการเรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีย์ครบวงจร ประชาชนในพื้นที่ได้เรียนรู้โดยการปฏิบัติจริงในแปลงนาของตนเอง และเยาวชนสามารถเรียนรู้ได้จากแปลงนาสาธิตทำให้กระบวนการผลิตข้าวสังหยดอินทรีย์ได้รับการสืบทอด
    • ความเชื่อมโยงกับสุขภาวะ การดำเนินโครงการสร้างให้เกิดการมีส่วนร่วมของเยาวชนกับผู้ปกครองในการร่วมกันพัฒนาพื้นที่ ทำให้สุขภาวะทางสังคมของชุมชนดีขึ้นนอกจากนี้ยังก่อให้เกิดสุขภาวะทางจิตใจของคนในชุมชนที่ได้ร่วมกันแสดงออกถึงความจงรักษ์ภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ในระหว่างการจัดกิจกรรมนี้ด้วย

     

    50 50

    11. อบรมการเขียนรายงานและเอกสารการเงิน

    วันที่ 7 ธันวาคม 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • 09.00 - 11.00 ฟังการบรรยายเกี่ยวกับแนวทางขั้้นตอนการจัดทำรายงานผลการดำเนินโครงการผ่านเว็บไซด์ และกระบวนการถอดบทเรียนโครงการโดย อ.ไพฑูรย์ทองสม และทีมเจ้าหน้าที่ สจรส. มอ.
    • 11.00 - 12.00 การบรรยายและตอบข้อซักถามเกี่ยวกับการดำเนินเรื่องภาษาอากร โดยเจ้าหน้าที่ของ สจรส.มอ.
    • 13.00 - 15.00 ฝึกปฏิบัติการจัดทำรายงานกิจกรรมการดำเนิโครงการผ่านเว็บไซด์ร่วมกับพี่เลี้ยงสนับสนุนวิชาการ เพื่อให้ได้รายงานที่ถูกต้องสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการเข้าร่วมกิจกรรมกับ สจรส.มอ. ครั้งนี้ทำให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับแนวทางการรายงานผลโครงการ เทคนิควิธีการในการจัดเวทีสรุปบทเรียนหรือถอดบทเรียนในชุมชน และได้จัดทำรายงานผลการดำเนินโครงการให้เป็นปัจจุบัน ณ วันที่อบรม
    • ผลลัพธ์ที่ได้จากโครงการคือสามารถนำไปขยายผลความรู้ให้กับคณะทำงานโครงการ และนำเทคนิคกระบวนการในการจัดเวทีถอดบทเรียนไปใช้ในการจัดเวทีแก้ปัญหาต่าง ๆในชุมชนได้

     

    2 2

    12. ประชุมคณะทำงานและแกนนำในชุมชนเดือนธันวาคม

    วันที่ 10 ธันวาคม 2015 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • 10.00 น. เริ่มประชุมโดยประธานคณะทำงานโครงการ
    • 10.00 - 10.30 น. คุณมะลิวัลย์ คณะทำงานโครงการได้ชี้แจงผลการดำเนินโครงการในช่วงที่ผ่านมา และรายงานทางการเงินของโครงการ โดยนำเสนอเป็นเอกสารและนำเสนอรายงานที่ผ่านทางเว็บไซด์
    • 10.30 - 11.30 ประธานคณะทำงานโครงการนำเสนอกิจกรรมที่จะจัดในระยะถัดไป และขอความคิดเห็นจากที่ประชุมเกี่ยวกับช่วงเวลาที่จะจัดสถานที่จัดวิทยากร และผู้รับผิดชอบที่จะประสานงานกลุ่มเป้าหมาย
    • 11.30 - 12.00 สรุปผลการประชุม และซักถามปัญหาอื่น ๆในชุมชนเพื่อร่วมกันหาแนวางแก้ไข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. จากการประชุมคือรายงานผลการดำเนินโครงการได้รับการเติมเต็มจากคณะทำงานและแกนนำที่เข้าร่วมโครงการจนได้เป็นรายงานที่สมบูรณ์ มีการปรับแผน แบ่งหน้าที่ เพื่อให้การดำเนินโครงการเป็นไปตามแผน และสอดคล้องกับสถานการณ์ในพื้นที่
    2. ปัญหาอื่น ๆ ในชุมชนได้รับการนำเสนอในที่ประชุม และที่ประชุมได้ใช้ทักษะในการแก้ไขปัญหาของชุมชน
    • ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นคือปัญหาอื่น ๆที่นอกเหนือจากการดำเนินโครงการได้รับการนำมาพูดคุยในกลุ่มแกนนำชุมชน และร่วมกันหาทางออก จนสามารถนำไปเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขับเคลื่อนในการแก้ปัญหาต่อไป

     

    20 39

    13. จัดทำรายงานความก้าวหน้า งวด 1

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมจัดทำรายงานความก้าวหน้า นำเอกสารการเงินมาให้ สจรส.ม.อ.ตรวจสอบความถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เอกสารการเงินถูกต้อง ได้รับคำแนะนำเรื่องการเขียนรายงานผลกิจกรรม ต้องเพิ่มข้อมูลและรูปภาพให้สอดคล้องกับเนื้อหา ก่อนส่งรายงานให้ทาง สจรส.ม.อ.

     

    2 1

    14. ประชุมคณะทำงานและแกนนำในชุมชนเดือนมีนาคม

    วันที่ 10 มีนาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1.วางแผนการทำงานให้เป็นระบบ 2.ชี้แจงข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับกิจกรรม 3.แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อพัฒนาการทำงานให้มีประสิทธิภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้วางแผนการทำกิจกรรมในงวดที่ 2 และได้รายงานการใช้เงินที่ผ่านมาในงวดที่ 1 สรุปค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น
    • ทำให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง รู้จักแก้ปัญหาต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

     

    20 22

    15. ประชุมคณะทำงานและแกนนำในชุมชนเดือนเมษายน

    วันที่ 10 เมษายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    10.00 น. เริ่มประชุมโดยประธานโครงการ

    10.00 น.-10.30 น. คุุณวิมล ได้ชี้แจงการดำเนินงานต่างๆที่ผ่านมา

    10.30 น -11.30 น. คุณวิมล เปิดโอกาสให้สมาชิกในโครงการแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงการ

    11.30-12.00 น. สรุปผลการประชุมและซักถามปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ไข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.ได้รับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 2.ผลลัพธ์ สมาชิกได้ช่วยกันพูดคุยและร่วมกันหาทางออกเพื่อขับเคลื่อนชุมชนให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น

     

    20 27

    16. กิจกรรมจัดตั้งกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์

    วันที่ 2 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมชาวบ้านในชุมชน เชิญวิทยากร นายลิขิต ปานทอง มาให้ความรู้เรื่องการแปรรูปผลิตภัณฑ์ มีผู้สนใจเข้าร่วมประมาณ 80 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เกิดการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์
    2. ทำให้สมาชิกในชุมชนมีรายได้เสริมเพิ่มมากขึ้น
    3. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์มากขึ้น
    4. เกิดการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์อย่างน้อย 3 กลุ่ม

     

    80 80

    17. ประชุมคณะทำงานและแกนนำในชุมชนเดือนพฤษภาคม

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    10.00 น. ประธานโครงการเปิดการประชุม

    10.00-10.30 น. คุณมลิวัลย์ ได้ชี้แจงเกี่ยวกับการจัดทำรายงานโครงการ ความก้าวหน้าของโครงการ

    10.30-11.30 น. คุณวิมล ได้เปิดโอกาสให้สมาชิกในโครงการร่วมแสดงความคิดเห็น

    11.30-12.00 น. สรุปผลการประชุมและซักถามข้อคิดเห็นต่างๆ เพื่อเป็นแนวทางแก้ไข

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้จัดทำรายงานข้อมูลต่างๆตามที่ตั้งไว้จนสำเร็๋จ
    2. ทำให้เกิดกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน

     

    20 20

    18. รวมพลคนรักษ์ข้าวอินทรีย์ มีธนาคารเมล็ดพันธุ์

    วันที่ 20 พฤษภาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    10.00-10.30น. ประธานโครงการชี้แจงเกี่ยวกับโครงการ

    10.30-12.30น. วิทยากร นายวิเชียร เทพเรือง ได้บรรยายเกี่ยวกับการเก็บเกี่ยวข้าว การรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าว

    12.30-13.30น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

    13.30-14.30น. ประธานโครงการได้แนะนำแนวทางการรวบรวมพันธุ์ข้าว

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. เกิดธนาคารเมล็ดพันธ์ุชุมชน
    2. เกิดกระบวนการเรียนรู้การเก็บเกี่ยว โดยการใช้องค์ความรู้ภูมิปัญญาจากผู้เฒ่าผู้แก่ ได้แก่ การเก็บไว้ในเรินข้าว เมื่อจะนำมาทานจะนวดข้าวด้วยเท้าทีละมัด ส่วนข้าวที่เหลือก็สามารถเก็บไว้ได้ทั้งปี
    3. เกิดจิตสำนึกในการอนุรักษ์เมล็ดพันธุ์ข้าว

     

    100 100

    19. สร้างกลไกการขับเคลื่อนข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร

    วันที่ 6 มิถุนายน 2016 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สร้างความร่วมมือระหว่างกลุ่มวิสาหกิจชุมชนต่างๆ
    2. มีธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวเกิดขึ้นในชุมชน
    3. มีการควบคุมผลผลิตให้ได้ผลผลิตที่ปลอดสารพิษ 100%

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. มีศูนย์เรียนรู้ธนาคารเมล็ดพันธ์ข้าว
    2. มีการบริหารจัดการตลาดกลางข้าวอินทรีย์

     

    60 60

    20. ประชุมคณะทำงานและแกนนำในชุมชนเดือนมิถุนายน

    วันที่ 10 มิถุนายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • 10.00 น. เริ่มประชุมโดยประธานโครงการ
    • 10.00-10.30 น. ประธานชี้แจงเกี่ยวกับการดำเนินงานที่ผ่านมา
    • 10.30-11.30 น. บอกรายละเอียดข้อมูลเกี่ยวกับธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าว
    • 11.30-12.00 น. สรุปผลการประชุมประจำเดือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้ชี้แจงข้อมูลของโครงการให้สมาชิกรับทราบ
    2. ได้บอกรายละเอียดเกี่ยวกับการฝากเมล็ดพันธุ์ข้าว และขั้นตอนการรับฝาก
    3. เปิดโอกาสให้สมาชิกได้แสดงความคิดเห็น เพื่อปรับปรุงและแก้ไขให้มีประสิทธิภาพ

     

    20 20

    21. ประชุมคณะทำงานและแกนนำในชุมชนเดือนกรกฎาคม

    วันที่ 10 กรกฎาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    10.00 น. เริ่มประชุมโดยประธานคณะทำโครงการ

    10.00-10.30 น. คุณมลิวัลย์ ชี้แจงเกี่ยวกับการทำรายงานการทำโครงการ ผลการดำเนินงาน

    10.30-11.30 น. คุณวิมล แจ้งเกี่ยวกับรายละเอียดผลการดำเนินงานที่ผ่านมา

    11.30-12.00 น. สรุปเกี่ยวกับการประชุมและการจัดทำรายงานโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้รับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงการ การทำรายงาน และผลการดำเนินโครงการที่ผ่านมา

     

    20 20

    22. เวทีรับฟังความคิดเห็นแนวทางการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้

    วันที่ 15 กรกฎาคม 2016 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เปิดเวทีเกี่ยวกับการจัดการศูนย์เรียนรู้ของชุมชนเรื่องธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าว เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านรับรู้และมีส่วนร่วมในการนำเสนอแนวทางต่างๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคนในชุมชน เรื่อง เมล็ดพันธุ์ข้าวพื้นถิ่น ทุกคนในที่ประชุมเห็นด้วยที่จะทำธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าว เนื่องจากในปัจจุบันชาวนาจะใช้สารเคมีเป็นหลักในการทำนา และใช้เมล็ดพันธฺุ์ที่ซื้อจากนอกชุมชน รวมทั้งพันธุ์ข้าวที่ใช้เป็นพันธุ์ข้าวทางเศรษฐกิจ เนื่องจากขายได้ง่าย มีตลาด แต่จะมีปัญหาที่ต้นทุนการผลิต ดังนั้นถ้ามีการจัดทำธนาคารข้าวในชุมชนขึ้น จะสามารถแก้ไขปัญหาต้นทุนการผลิต และสามารถต่อรองราคาข้าวได้ และยังทำให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง

     

    150 150

    23. สรุปประเมินผลและจัดทำชุดความรู้

    วันที่ 10 สิงหาคม 2016 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    10.00 น. ประธานโครงการเริ่มชี้แจงเกี่ยวกับการจัดทำชุดความรู้

    10.00-12.00น. คุณมลิวัลย์รายงานความก้าวหน้าของโครงการ และรายละเอียดเอกสารเกี่ยวกับการจัดทำชุดความรู้

    12.00-13.00น. พักรับประทานอาหาร

    13.00-14.00น. ประธานเปิดโอกาสให้สมาชิกร่วมแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นเกี่ยวการจัดทำชุดความรู้การผลิตข้าวสังหยด

    14.00-15.00น. สรุปและประเมินผลการจัดทำชุดความรู้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สร้างกระบวนการเรียนรู้แลกเปลี่ยนระหว่างคนในชุมชน และได้ข้อตกลงร่วมกัน ได้แนวทางการบริหารการจัดการศูนย์เรียนรู้ซึ่งจะทำให้ชุมชนเข้มแข็งมากขึ้น

     

    30 30

    24. ประชุมจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ งวด 2

    วันที่ 20 สิงหาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ได้จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์งวดที 2 และเอกสารทางการเงิน และได้รับคำแนะนำในการเขียนรายงานโครงการต้องเพิ่มข้อมูลภาพให้่สอดคล้องกับเนื้อหาให้มากขึ้น
    • สรุปและแสดงผลงานของโครงการ ความสำเร็จของโครงการและการต่อยอดของโครงการในปีถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้เอกสารการเงินที่ถูกต้อง และการเขียนรายงานที่ถูกต้อง ร่วมทั้งข้อมูลภาพต่างๆที่ชัดเจน

     

    2 2

    25. จัดทำภาพกิจกรรม

    วันที่ 5 กันยายน 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ และคัดเลือกรูปภาพประกอบการทำรายงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้รับคำแนะนำจากพี่เลี้ยงในการจัดทำรายงานและการคัดเลือกภาพมาประกอบการทำรายงาน

     

    2 2

    26. ร่วมงานสร้างสุขภาคใต้

    วันที่ 3 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เข้าร่วมฟังการเสวนาจากวิทยากรของ สสส.สปสช. สช.และ สธ. ได้เข้าร่วมฟังการเสวนาห้องย่อยชุมชนน่าอยู่ และร่วมกิจกรรมในบูธต่าง ๆ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้มิตรภาพที่ดี และความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน และแรงผลักดันให้สู้ต่อไปในการทำโครงการต่อยอด เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้

     

    2 2

    27. ประชุมจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    วันที่ 15 ตุลาคม 2016 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นำเอกสารการเงิน และเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มาให้พี่เลี้ยงดำเนินการตรวจสอบความถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้รับคำแนะนำจากพี่เลี้ยงในการจัดทำเอกสารรายงานโครงการและเอกสารการเงิน ได้ภาพถ่ายในการทำโครงการแต่ละกิจกรรมเพื่อแสดงให้รู้ถึงกิจกรรมนั้นเป็นอย่างไรบ้าง และสามารถนำไปประกอบการทำรายงานฉบับสมบูรณ์ได้

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนให้มีเศรษฐกิจครัวเรือนดีขึ้นด้วยวิถีการผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร
    ตัวชี้วัด : 1. จำนวนครัวเรือนที่ปรับเปลี่ยนจากการทำสวยยาง สวนปาล์ม มาทำนาอินทรีย์ชีวภาพ ไม่น้อยกว่า 30 ครัวเรือน 2. รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของรายได้เฉลี่ยนก่อนเข้าร่วมโครงการ(ประมาณ 3,000 บาทต่อเดือนต่อครัวเรือน) 3. เกิดศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร 1 ศูนย์
    • เกิดศูนย์การเรียนรู้ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าว 1 แห่ง
    2 เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้สู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร
    ตัวชี้วัด : 1. จำนวนจำนวนสมาชิกสภาผู้นำที่มาจากกรรมการหมู่บ้าน และสมาชิก อบต. และตัวแทนชาวนา ร้อยละ 80 2. จำนวนหลักสูตรการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการจัดกระบวนการถ่ายทอดความรู้ไม่น้อยกว่า 3 หลักสูตร 3. จำนวนครัวเรือนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ปรับพฤติกรรมโดยใช้สารเคมมีในการเกษตร (ประเมินโดยการสังเกตโดยคณะทำงานโครงการ ร่วมกับการสำรวจปริมาณการขายสารเคมีเพื่อการเกษตรของร้านค้าในชุมชน)
    • มีสมาชิกเข้าร่วมทำกิจกรรม ร้อยละ 100
    • เกิดศูนย์เรียนรู้ที่เกิดขึ้นมีประชาชนมาร่วมกันพัฒนามากกว่า 40 คน ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมและมีหลักสูตรการเรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีย์ครบวงจร ประชาชนในพื้นที่ได้เรียนรู้โดยการปฏิบัติจริงในแปลงนาของตนเอง และเยาวชนสามารถเรียนรู้ได้จากแปลงนาสาธิตทำให้กระบวนการผลิตข้าวสังหยดอินทรีย์ได้รับการสืบทอด
    3 เพื่อปรับสภาพแวดล้อนในชุมชนให้เอื้อต่อการส่ง้สริมการผลิตและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการแปรรูปข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพ
    ตัวชี้วัด : 1. เกิดพื้นที่การผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์รวมของชุมชนเพื่อใช้เป็ยฐานในการสร้างธนาคารเมล็ดพันธุ์และการส่งเสริมการบริโภค ไม่น้อยกว่า 10 ไร่ 2. มีการจัดตลาดนัดชุมชนเพื่อการจำหน่ายผลผลิตและผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากข้าวสังข์ยหดอินทรีย์ อย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง 3. เกิดศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวสังข์หยดอินทรย์ชีวภาพครบวงจร 1 ศูนย์
    • เกิดการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์
    • เกิดการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์
    • มีการบริหารจัดการตลาดกลางข้าวอินทรีย์
    4 เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนศูนย์การเรียนรู้และกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : 1. เกิดสภาผู้นำร่วม 3 ฝ่ายประกอบด้วยภาครัฐภาคท้องถิ่น และตัวแทนจากหมู่บ้าน ในการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้ตลาดกลาง และพื้นที่สาธารณะเพื่อการผลิตเมล็ดพันธ์ 2. เกิดข้อตกลงร่วมภายในหมู่บ้านเกี่ยวกับการร่วมกลุ่มการผลิตและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพ
    • ได้ข้อตกลงร่วมกัน ได้แนวทางการบริหารการจัดการศูนย์เรียนรู้ซึ่งจะทำให้ชุมชนเข้มแข็งมากขึ้น
    5 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
    ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
    • เข้าร่วมประชุมกับ สจรส.ม.อ.และ สสส.จำนวน 5 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100
    • มีป้ายประชาสัมพันธ์ สสส.จำนวน 2 ป้าย
    • มีรูปภาพประกอบการจัดทำรายงานร้อยละ 70

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนให้มีเศรษฐกิจครัวเรือนดีขึ้นด้วยวิถีการผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร (2) เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้สู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการผลิตข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพครบวงจร (3) เพื่อปรับสภาพแวดล้อนในชุมชนให้เอื้อต่อการส่ง้สริมการผลิตและการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการแปรรูปข้าวสังข์หยดอินทรีย์ชีวภาพ (4) เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนศูนย์การเรียนรู้และกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง (5) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ศูนย์การเรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีชีวภาพครบวงจรเพื่อขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง (ต่อเนื่องปี2)

    รหัสโครงการ 58-03879 รหัสสัญญา 58-00-2045 ระยะเวลาโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    • สร้างกระบวนการเรียนรู้แลกเปลี่ยนระหว่างคนในชุมชน

    กิจกรรมพัฒนาหลักสูตร

    ได้ข้อตกลงร่วมกัน ได้แนวทางการบริหารการจัดการศูนย์เรียนรู้ซึ่งจะทำให้ชุมชนเข้มแข็งมากขึ้น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
    • เกิดธนาคารเมล็ดพันธ์ุชุมชน
    • ศูนย์เรียนรู้ธนาคารเมล็ดพันธ์ข้าว

    ข้อมูลการรายงานกิจกรรม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
    • การบริหารจัดการตลาดกลางข้าวอินทรีย์

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    ความร่วมมือร่วมใจของคนในชุมชนทำใหเเกิดศูนย์เรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีย์ครบวงจรขึ้น โดยศูนย์เรียนรู้มี 2 ส่วนหลัก คือส่วนที่เป็นแปลงนาสาธิต และอาคารศูนย์เรียนรู้การแปรรูปข้าวสังหยดและคนในชุมชนได้เข้ามาเรียนรู้กระบวนการผลิตได้จากการลงมือปฏิบัติจริง

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    เกิดศูนย์เรียนรู้ที่เกิดขึ้นมีประชาชนมาร่วมกันพัฒนามากกว่า 40 คน ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมและมีหลักสูตรการเรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีย์ครบวงจร ประชาชนในพื้นที่ได้เรียนรู้โดยการปฏิบัติจริงในแปลงนาของตนเอง และเยาวชนสามารถเรียนรู้ได้จากแปลงนาสาธิตทำให้กระบวนการผลิตข้าวสังหยดอินทรีย์ได้รับการสืบทอด

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ศูนย์การเรียนรู้การผลิตข้าวสังหยดอินทรีชีวภาพครบวงจรเพื่อขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นให้น่าอยู่ที่บ้านควนพัง (ต่อเนื่องปี2) จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ 58-03879

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นาง วิมล ส้มนิ่ม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด