directions_run

สร้างครัวคนห้วยยวนด้วยธนาคารริมคลอง (ต่อเนื่อง)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ สร้างครัวคนห้วยยวนด้วยธนาคารริมคลอง (ต่อเนื่อง) ”

บ้านห้วยยวนเหนือ หมู่ที่ 7 ตำบลเขาพระทอง อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช

หัวหน้าโครงการ
นาย ภานุทัฑ มูสิกะ

ชื่อโครงการ สร้างครัวคนห้วยยวนด้วยธนาคารริมคลอง (ต่อเนื่อง)

ที่อยู่ บ้านห้วยยวนเหนือ หมู่ที่ 7 ตำบลเขาพระทอง อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 58-03932 เลขที่ข้อตกลง 58-00-1922

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2558 ถึง 15 ตุลาคม 2559


กิตติกรรมประกาศ

"สร้างครัวคนห้วยยวนด้วยธนาคารริมคลอง (ต่อเนื่อง) จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านห้วยยวนเหนือ หมู่ที่ 7 ตำบลเขาพระทอง อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
สร้างครัวคนห้วยยวนด้วยธนาคารริมคลอง (ต่อเนื่อง)



บทคัดย่อ

โครงการ " สร้างครัวคนห้วยยวนด้วยธนาคารริมคลอง (ต่อเนื่อง) " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านห้วยยวนเหนือ หมู่ที่ 7 ตำบลเขาพระทอง อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช รหัสโครงการ 58-03932 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 199,800.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 365 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อหนุนเสริมให้เด็กและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดระบบการจัดการป่าต้นน้ำของชุมชน
  2. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลป่าต้นน้ำของชุมชนให้มีความพร้อมในการเรียนรู้และวางแผน
  3. เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เข้ามามีส่วนร่วมปฏิบัติการในการจัดการป่าต้นน้ำ
  4. เพื่อพัฒนาศักยภาพสภาหมู่บ้านในการบริหารจัดการโครงการและเป็นกลไกในการพัฒนาหมู่บ้าน
  5. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปฐมนิเทศ โครงการ

    วันที่ 29 กันยายน 2558 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วันที่ 29 กันยายน 2558

    • ตัวแทนพื้นที่(ผู้รับทุน)เดินทางถึงสถานที่ประชุม..ลงทะเบียน
    • พี่เ่ลี้ยงโครงการฯกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุมจากตัวแทนจังหวัดพัทลุง ตรัง นครศรีธรรมราช กระบี่และภูเก็ต
    • วิทยากรให้ความรู้เรื่องการบริหารจัดการโครงการที่ดี
    • วิทยากรให้ความรู้แนวทางการบริหารจัดการการเงินที่ดี การจัดทำเอกสารหลักกฐานการเงิน
    • วิทยากรให้ความรูเรื่องการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานผ่าระบบเว็บไซต์

    วันที่ 30 กันยายน 2558

    • ทีมงานจาก สจรส.มอ.ให้ความรู้เรื่องการจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน(เพื่มเติม)
    • ตัวแทนพื้นที่ ผู้รับทุน ร่วมกำหนดปฏิทินการดำเนินงานในระบบเว็บไซต์ -่ ทีมงานจาก สจรส.มอ. ให้คำแนะนำเรื่องการจัดทำหลักฐานการเงิน(เพิ่มเติม)

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้รับผิดชอบโครงการมีความรู้ความเข้าใจการบริหารจัดการโครงการที่ดี และสามารถจัดทำรายงานในระบบเว็ปไซต์ได้
    • คณะทำงานโครงการและเจ้าหน้าที่การเงิน มีความรู้ความเข้าในในการบริหารจัดการการเงิน และการทำเอกสารการเงินตามแบบฟอร์มที่ สสส.กำหนด
    • ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปดำำเนินกิจกรรมตามโครงการ และทำรายงานเอกสารต่างๆได้ถูกต้อง

     

    2 2

    2. ประชุมคณะทำงานโครงการ 15 คนและทีมบริหารกลุ่มเด็กฯ 5 คนเดือนละครั้งรวม 11 ครั้ง ครั้งที่ 1

    วันที่ 4 ตุลาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมคณะทำงานสร้างความเข้าใจเรื่องการทำโครงการ สสส. โดยมีนายภานุทัฑ มูสิกะ ผู้รับผิดขอบโครงการ อธิบายเรื่องงบประมาณที่ได้รับ ในปีที่ 2 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผลผลิต เกิดคณะทำงานโครงการจำนวน 20 คน เป็นวัยผู้ใหญ่ 15 คน ประกอบด้วยแกนนำชุมชน (ผู้ใหญ่บ้าน อบต.อสม.และ อพปร.) และกลุ่มเด็กเยาวชนจำนวน 5 คน ซึ่งคณะทำงานมีความเข้าใจและรับรู้เป้าหมายการทำโครงการในปีที่ 2

     

    20 20

    3. ประชุมสภาหมู่บ้าน ครั้งที่ 1

    วันที่ 5 ตุลาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • 13.30-13.30 ลงทะเบียน
    • 13.30-16.00 ผู้ใหญ่บ้านแจ้งเรื่องที่ประชุมจากอำเภอและเชิญคณะทำงานมาประชุม วันที่ 23 มกราคม 59

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดสภาผู้นำบ้านห้วยยวน จำนวน 45 คน ประกอบด้วยวัยทำงาน 35 คน และเด็ดเยาวชน 10 คน และทีมสภาผู้นำรับทราบเป้าหมายการทำโครงการ สสส.และจะดำเนินการประชุมทีมสภาผู้นำทุกเดือนเพื่อรายงานผลการทำกิจกรรม และใช้เวทีประชุมสภาผู้นำในการประชุมกิจกรรมต่าง ๆ ของหมู่บ้าน

     

    30 45

    4. ประชุมคณะทำงานโครงการ 15 คนและทีมบริหารกลุ่มเด็กฯ 5 คนเดือนละครั้งรวม 11 ครั้ง ครั้งที่ 2

    วันที่ 4 พฤศจิกายน 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมคณะทำงานเพื่อรายงานผลการประชุมที่ผ่านมา และเตรียมการจัดกิจกรรมในเดือนถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานเข้าร่วมประชุมครบจำนวน 20 คน ได้เตรียมการทำกิจกรรมเวทีเปิดโครงการ โดยแบ่งหน้าที่ของแต่ละฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายรับผิดชอบอาหารและเครื่องดื่ม ฝ่ายเชิญชาวบ้านและหน่วยงานเข้าร่วม ฝ่ายเวที และฝ่ายอาคารสถานที่

     

    20 20

    5. ประชุมสภาหมู่บ้าน ครั่งที่ 2

    วันที่ 5 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมนำเสนอผลการทำกิจกรรมให้กับทีมสภาผู้นำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • จากในเวทีการประชุมทีมสภาผู้นำและชาวบ้านที่เข้ามาร่วมประชุมได้รับรู้การทำโครงการต่อยอดในปีที่ 2 รับรู้และเข้าใจเป้าหมายของการทำโครงการและแผนกิจกรรม ทั้งนี้ทางคณะทำงานโครงการยังไม่ได้เริ่มดำเนินกิจกรรมหลัก แต่จัดประชุมคณะทำงานและสภาผู้นำไปก่อน เนื่องจากรองบประมาณที่ยังไม่ได้รับจาก สสส.

     

    80 80

    6. 2. ประชุมคณะทำงานโครงการ 15 คนและทีมบริหารกลุ่มเด็กฯ 5 คนเดือนละครั้งรวม 11 ครั้ง ครั้งที่ 3

    วันที่ 4 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินกิจกรรมในเดือนมกราคม 2559

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานโครงการรับทราบการดำเนินงานกิจกรรมโครงการ และร่วมวางแผนการจัดกิจกรรมโครงการตามความเหมาะสมโดยมีการจัดปฏิทินการดำเนินงานเป็นระยะๆ ของเดือนถัดไปดังนี้
    • เดือนมกราคม 2559 มีกิจกรรมจะดำเนินงานจำนวน 4 กิจกรรมคือ
    • ประชุมคณะทำงานประจำเดือนมกราคม 2559
    • ประชุมสภาผู้นำประจำเดือนมกราคม 2559
    • กิจกรรมประชุมเพื่อเตรียมวันเปิดตัวโครงการฯ ในระยะปีที่ 2 ในวันที่ 23 มกราคม 2559
    • กิจกรรมวันเปิดตัวโครงการ กำหนดวันที่ 30 มกราคม 2559

     

    20 18

    7. ประชุมสภาหมู่บ้าน ครั้งที่ 3

    วันที่ 5 ธันวาคม 2558 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะทำงานโครงการประชาสัมพันธ์ วัน เวลา สถานที่ประชุม ผ่านหอกระจายข่าวหมู่บ้าน
    • ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งวาระพูดคุยประจำเดือนที่สำคัญคือ การเข้าร่วมอบรมพัฒนาศักยภาพการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการผ่านระบบอินเตอร์เน็ต และการจัดทำเอกสารการเงินเมื่อมีการหักภาษี ณ ที่จ่าย ที่ถูกต้อง ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นครศรีฯ จำนวน 2 คน
    • คณะทำงานโครงการแจ้งการดำเนินงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
    • คณะทำงานโครงการและผู้เข้าร่วมประชุมร่วมแลกเปลี่ยนประเด็นปัญหา ข้อเสนอแนะ ในการบริหารจัดการโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานโครงการร่วมกับตัวแทนกลุ่มองค์กร หน่วยงาน อบต.เขาพระทอง เข้าร่วมประชุมจำนวน 27 คน โดยมีผู้รับผิดชอบโครงการและผู้ประสานงานโครงการ นายกอบต.เข้าร่วมด้วย
    • ผู้รับผิดชอบโครงการและเจ้าหน้าที่การเงินโครงการ ได้แจ้งชื่อเข้าร่วมอบรมพัฒนาศักยภาพการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการผ่านระบบอินเตอร์เน็ต และการจัดทำเอกสารการเงินเมื่อมีการหักภาษี ณ ที่จ่าย ที่ถูกต้อง ณ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นครศรีฯ จำนวน 2 คน
    • คณะทำงานโครงการได้รับทราบผลการดำเนินงานประจำเดือนพฤศจิกายน 2558 โดยตามกำหนดการจัดกิจกรรมประจำเดือนพฤศจิกายน 58 นั้น ทางคณะทำงานโครงการเองไม่สามารถดำเนินงานกิจกรรมตามแผนได้ เนื่องจากบริบทชุมชนเข้าสู่ฤดูฝน การเดินทางขึ้นบนพื้นที่บนเขาลาดชันไม่สามารถจัดกิจกรรมทัวร์ป่าเพื่อเก็บข้อมูลได้จึงเลื่อนไปจัดในเดือนถัดไปอีกทั้งจะแจ้งให้ทางทีมงานรับทราบอีกครั้่ง
    • คณะทำงานโครงการได้แจ้งรายงานการเงิน การเบิกจ่าย เงินโครงการ ซึ่งทางคณะทำงานโครงการได้เบิกจ่ายเงินมาเป็นจำนวน 40,000 บาท เพื่อจัดกิจกรรมในเดือนถัดไป

     

    30 27

    8. การเขียนรายงานการเงินและการหักภาษี ณที่จ่าย

    วันที่ 6 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เข้าร่วมประชุมอบรมการเขียนรายงานและเอกสารการเงิน จัดโดยทีม สจรส.ม.อ.อบรมให้ความรู้เรื่องการเขียนรายงานกิจกรรมในเวบไซต์ การจัดทำเอกสารการเงินให้ถูกต้อง และ การหักภาษี ณ ที่จ่าย ในช่วงบ่ายทีม สจรส.ม.อ.ได้ทำการตรวจสอบเอกสารการเงินและการรายงานในเวบไซต์เพื่อให้คำแนะนำต่อรายโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ความรู้การเขียนรายงานกิจกรรม ต้องเขียนผลให้เกิดผลผลิตและผลลัพธ์ และการจัดทำเอกสารการเงิน ต้องมีความถูกต้องสอดคล้องกับแผนกิจกรรมที่วางไว้ และค่าใช้จ่ายที่เกิน 1000 บาท ต้องหักภาษี ณ ที่ จ่ายจำนวน 10 บาท และเริ่มหักในเดือนธันวาคมนี้

     

    2 2

    9. 2. ประชุมคณะทำงานโครงการ 15 คนและทีมบริหารกลุ่มเด็กฯ 5 คนเดือนละครั้งรวม 11 ครั้ง ครั้งที่ 4

    วันที่ 4 มกราคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะทำงานโครงการประชาสัมพันธ์วัน เวลา สถานที่ประชุมประจำเดือนมกราคม 2559
    • ผู้รับผิดชอบโครงการ แจ้งวาระการพูดคุย
    • คณะทำงานโครงการร่วมแลกเปลี่ยนการพูดคุย ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. คณะทำงานโครงการจำนวน 20 คน เข้าร่วมประชุมโดยพร้อมเพรียงกัน ซึ่งเป็นวาระประจำเดือนมกราคม 2559 ที่มีคณะทำงานโครงการเข้าร่วมประชุมครบตามเป้าหมา
    2. คณะทำงานโครงการร่วมรับทราบผลการดำเนินงานโครงการประจำเดือนธันวาคม 2558 ซึ่งเดือนธันวาคม 58 ที่ผ่านมาทางผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานโครงการได้มีกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว จำนวน 3 กิจกรรม ซึ่งเป็นกิจกรรมประชุมประจำเดือนของคณะทำงานและสภาผู้นำเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 2 ครั้ง และกิจกรรมพัฒนาศักยภาพอบรมการรายงานผ่านระบบเว็บไซต์และการจัดทำรายงานการเงินที่ถูกต้อง ณ ม.วลัยลักษณ์ จำนวน 1 ครั้ง ซึ่งทางผู้รับผิดชอบโครงการและเจ้าหน้าที่การเงินที่่เข้าร่วมประชุมมีความรู้ ความเข้าใจการจัดทำรายงานและการจัดทำเอกสารการเงินที่สมบูรณ์ ถูกต้อง เพิ่มขึ้นสามารถจัดทำเองได้
    3. คณะทำงานโครงการวางแผนการดำเนินงานกิจกรรมของโครงการ ประจำเดือนมกราคม 2559 ซึ่งเดือนนี้มีกิจกรรมจะดำเนินการจำนวน 4 กิจกรรม คือ
    • ประชุมคณะทำงานและสภาผู้นำ จำนวน 2 ครั้ง .
    • กิจกรรมวันเปิดตัวโครงการ เพื่อทำความเข้าใจการดำเนินงานโครงการให้คนในชุมชนได้ทราบจำนวน 1 ครั้ง

     

    20 20

    10. ประชุมสภาหมู่บ้าน ครั้งที่ 4

    วันที่ 5 มกราคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะทำงานโครงการประชาสัมพันธ์วัน เวลา สถานที่ประชุมประจำเดือนมกราคม 2559
    • ผู้รับผิดชอบโครงการ แจ้งวาระการพูดคุย
    • คณะทำงานโครงการร่วมแลกเปลี่ยนการพูดคุย ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานโครงการร่วมกับตัวแทนกลุ่มองค์กร หน่วยงาน อบต.เขาพระทอง เข้าร่วมประชุมจำนวน 25 คน โดยมีผู้รับผิดชอบโครงการและผู้ประสานงานโครงการ นายกอบต.เข้าร่วมด้วย
    • ผู้รับผิดชอบโครงการรายงานผลการดำเนินงานโครงการประจำเดือนธันวาคม 2558 ซึ่งมีกิจกรรมที่ได้ดำเนินการแล้ว จำนวน 2 กิจกรรมซึ่งเป็นกิจกรรมประชุมประจำเดือนของคณะทำงานโครงการฯ
    • คณะทำงานโครงการแจ้งรายงานการเงิน การเบิกจ่าย เงินโครงการ ซึ่งทางคณะทำงานโครงการได้เบิกจ่ายเงินมาเป็นจำนวน 40,000 บาท เพื่อจัดกิจกรรมในเดือนถัดไป
    • คณะทำงานโครงการได้วางแผนการดำเนินงานกิจกรรมของโครงการประจำเดือนมกราคม และเดือนกุมภาพันธ์ 2559 ซึ่งจะมีกิจกรรมที่สำคัญคือกิจกรรมเปิดตัวโครงการ การศึกษาดูงานและการทัวร์ป่าเพื่อเก็บข้อมูล

     

    30 25

    11. ประชุมสภาหมู่บ้านเพื่อทำความเข้าใจในการดำเนินงานตามโครงการในปีที่สอง และเพื่อเตรียมการในการจัดเวทีเปิดโครงการ

    วันที่ 23 มกราคม 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะทำงานประชาสัมพันธ์ วัน เวลา สถานที่ ประชุมให้คณะทำงานโครงการทราบโดยผ่านหอกระจายข่าวหมู่บ้าน
    • ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งวาระพูดคุย
    • คณะทำงานโครงการแลกเปลี่ยนประเด็นการพูดคุย ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    • มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 37 คน ประกอบด้วย คณะทำงานโครงการ จำนวน 30 คน เด็กเยาวชน จำนวน 7 คน
    • คณะทำงานโครงการเข้าร่วมประชุมพร้อมกันตามวัน เวลา สถานที่นัดหมาย จำนวน 37 คน ซึ่งเป็นการประสานงานที่มีผลในการประชุมเป็นอย่างมาก
    • คณะทำงานโครงการ เด็กเยาวชน เข้าใจที่มาของโครงการ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ การดำเนินงานโครงการในระยะที่ 2โดยสมัครเข้าร่วมเป็นคณะทำงานเพิ่มเป็นจำนวน 20 คน
    • คณะทำงานโครงการได้วางแผน เตรียมงานวันเปิดโครงการในวันที่ 30 มกราคม 2559 ณ ศาลาหมู่บ้าน โดยแบ่งบทบาทหน้าที่ในการประสานงานผู้เข้าร่วม วิทยากร และเด็กเยาวชนเพื่อเป็นอาสาสมัครพิทักษ์ป่า เข้าร่วมในวันประชุมด้วย

     

    35 37

    12. ประชุมหมู่บ้านเพื่อเปิดโครงการ และทำความเข้าในการดำเนินงานตามโครงการและรับสมัครเด็กและเยาวชนเข้าร่วมโครงการเยาวชนหัวใจสีเขียว

    วันที่ 30 มกราคม 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้รับผิดชอบโครงการ แนะนำคณะทำงานและแกนนำเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมทีม
    • ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียดโครงการ แผนการทำงาน งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนทั้งหมด
    • แจกเอกสารแผนการดำเนินงานของโครงการให้คนในชุมชนที่เข้าร่วมประชุมได้รับทราบข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    • มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 50% ของกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้

    ผลลัพธ์

    • ผู้เข้าร่วมประชุมได้รับทราบและเข้าใจรายละเอียดการดำเนินงานของโครงการและยินดีให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมของโครงการ
    • เด็กเยาวชนให้ความร่วมมือในการดำเนินงานกิจกรรมโครงการ และได้สมัครเข้าร่วมโครงการจำนวน 25 คน

     

    100 62

    13. 2. ประชุมคณะทำงานโครงการ 15 คนและทีมบริหารกลุ่มเด็กฯ 5 คนเดือนละครั้งรวม 11 ครั้ง ครั้งที่ 5

    วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะทำงานโครงการประชาสัมพันธ์วัน เวลา สถานที่ประชุมประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
    • ผู้รับผิดชอบโครงการ แจ้งวาระการพูดคุย
    • คณะทำงานโครงการร่วมแลกเปลี่ยนการพูดคุย ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. คณะทำงานโครงการจำนวน 20 คน เข้าร่วมประชุมโดยพร้อมเพรียงกัน
    2. คณะทำงานโครงการร่วมรับทราบผลการดำเนินงานโครงการประจำเดือนมกราคม 2559 ซึ่งทางผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานโครงการได้มีกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว จำนวน 3 กิจกรรม ซึ่งเป็นกิจกรรมประชุมประจำเดือนของคณะทำงานและสภาผู้นำเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 2 ครั้ง และกิจกรรมเปิดตัวโครงการ โดยกิจกรรดังกล่าวมีผู้เข้าร่วมประชุมที่สมัครเข้าร่วมโครงการนี้ ส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับกิจกรรมของโครงการและเห็นความสำคัญของกิจกรรมที่ทางผู้รับผิดชอบร่วมกันกำหนดขึ้น จึงทำให้มีแกนนำเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น
    3. คณะทำงานโครงการวางแผนการดำเนินงานกิจกรรมของโครงการ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559 ซึ่งเดือนหน้าทางคณะทำงานได้กำหนดให้มีกิจกรรมจะดำเนินการจำนวน 6 กิจกรรม คือ
    • ประชุมคณะทำงานและสภาผู้นำ จำนวน 2 ครั้ง .
    • กิจกรรมทัวร์ป่าเพื่อเก็บข้อมูลป่าต้นน้ำ จำนวน 1 ครั้ง
    • กิจกรรมศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบการจัดการน้ำแบบฝายมีชีวิต และการจัดการป่าต้นน้ำแบบสวนสมรม จำนวน 2 ครั้ง
    • กิจกรรมรายงานผลการดำเนินงานเพื่อปิดงวดที่ 1 ณ สจรส.มอ.

     

    20 20

    14. ประชุมสภาหมู่บ้าน ครั้งที่ 5

    วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะทำงานโครงการประชาสัมพันธ์วัน เวลา สถานที่ประชุมประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
    • ผู้รับผิดชอบโครงการ แจ้งวาระการพูดคุย
    • คณะทำงานโครงการร่วมแลกเปลี่ยนการพูดคุย ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานโครงการร่วมกับตัวแทนกลุ่มองค์กร หน่วยงาน อบต.เขาพระทอง เข้าร่วมประชุมจำนวน 27 คน โดยมีผู้รับผิดชอบโครงการและผู้ประสานงานโครงการ นายก อบต.เข้าร่วมด้วย
    • ผู้รับผิดชอบโครงการรายงานผลการดำเนินงานโครงการประจำเดือนมกราคม 2559 ให้กับทีมสภาผู้นำได้รับทราบ ซึ่งมีกิจกรรมที่ได้ดำเนินการแล้ว จำนวน 4 กิจกรรมซึ่งเป็นกิจกรรมประชุมประจำเดือนของคณะทำงานโครงการฯ และ กิจกรรมเปิดตัวโครงการ ซึ่งการจัดกิจกรรมดังกล่าว ได้รับความร่วมมือจากคนในชุมชน เด็กเยาวชนเป็นจำนวนมาก เห็นได้จากการเข้าร่วมประชุมและการสมัครเข้าร่วมเป็นอาสาสมัครพิทักษ์ป่า ซึ่งโครงการฯในระยะปีที่ 2 จะเป็นการเน้นกิจกรรมในรูปแบบการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และการเฝ้าระวัง ป่าต้นน้ำเป็นส่วนมาก โดยมีกิจกรรมที่ต้องมีส่วนร่วมกันทุกภาคส่วนทั้งคนในชุมชน และเด็กเยาวชน จึงทำให้เด็กเยาวชนสมัครเข้าร่วมกิจกรรมนี้มากขึ้นเป็นจำนวน 20 คน
    • คณะทำงานโครงการแจ้งรายงานการเงินให้คณะทำงานฯทราบ ซึ่งจากการได้รับเงินงวดที่ 1 เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2558 ทางคณะทำงานได้ดำเนินงานกิจกรรมของโครงการไปแล้วจำนวน 17 กิจกรรม มีเงินจ่ายจริงทั้งหมดประมาณ 70,000 หมื่นกว่าบาท จากยอดเงินดังกล่าวยังสรุปไม่ชัดเจนเพราะยังมีอีกหลายกิจกรรมที่ทางคณะทำงานฯยังไม่มีการรายงานผลจึงทำให้ไม่สามารถสรุปยอดเงินได้ หากมีการจัดทำรายงานเรียบร้อยแล้ว คณะทำงานโครงการจะนำมาแจ้งที่ประชุมสภาฯให้ทราบในเดือนถัดไป

     

    80 28

    15. เรียนรู้การจัดการป่าจากพื้นที่ที่มีรูปธรรมความสำเร็จครั้งที่ 1 เรื่องการจัดการน้ำฝายมีชีวิตบ้านทุ่งยาว

    วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    8.30-9.00 ลงเบียน ผู้ร่วมเดินทางศึกษาดูงาน

    9.00-11.00 ร่วมกันฟังคำบรรยาย จากวิทยากรในพื้นที่การจัดการป่าต้นน้ำตะโหมด โดยแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการป่าต้นน้ำร่วมกัน

    11.00-12.00 รับประทานอาหาร

    12.00-15.30 เรียนรู้การทำฝายมีชีวิตที่บ้านทุ่งยาว อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้ร่วมศึกษาดูงานได้เรียนรู้การจัดการป่าต้นน้ำโดยชุมชน สิ่งสำคัญ คือ การรวมทีมชาวบ้านที่เป็นจิตอาสาในการลาดตระเวน การทำกิจกรรมอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ และในช่วงบ่ายได้ไปเรียนรู้การทำฝายมีชีวิต เห็นประโยชน์ของการทำฝายว่าสามารถกักเก็บน้ำไว้ใช้ยามหน้าแล้งได้ ซึ่งสิ่งที่ได้เรียนรู้จะนำกลับมาใช้ในชุมชนต่อไป

     

    65 60

    16. ทัวร์ป่าจัดทำข้อมูลจำแนกพันธ์ไม้ออกเป็น สูญพันธ์ เสี่ยง หายาก เพื่อประกอบในการวางแผนฟื้นฟู เฝ้าระวังป้องกัน ครั้งที่ 1

    วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    8.00-8.30 ลงทะเบียน

    8.30-11.30 เรียนรู้เรื่องการจำแนกพันธ์ไม้ โดยมีคณะทำงานเป็นพี่เลี้ยงดูและและให้คำแนะนำ

    11.00-12.00 รับประทานอาหาร

    12.00-16.00 ทัวป่าเพื่อจำแนกพันไม้ ที่สูญพันธ์ เสี่ยงหายาก เพื่อฟื้นฟู

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้การจำแนกพันธุ์ไม้เป็น 3 ประเภท คือ
    • 1.พันธุ์ไม้เสี่ยงหายาก เช่น ส้มหลุมพี ไผ่ป่า
    • 2.พันธุ์ไม้เสี่ยงสูญพันธุ์ เช่น ไผ่ตง ไม้ค้อนตีหมา
    • 3.พันธุ์ไม้ต้องอนุรักษ์ไว้เพื่อฟื้นฟู เช่น เหรียง ไผ่หวาน

     

    25 25

    17. รวบรวมและอนุบาลพันธ์ไม้ เช่นเหรียง ไผ่ตง ไผ่ป่า ไผ่หวาน ส้มหลุมพี ฯลฯ จำนวน 1500 ต้น

    วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    8.00-8.30 ลงทะเบียน

    8.30-12.00 รวบรวมพันธ์ไม้ โดยสอนการเพาะชำกล้าไม้

    12.00-13.00 รับประทานอาหาร

    13.00-16.00 รวบรวมพันธ์ไม้อนุบาล เพื่อรอวันปลูก

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ชนิดของพันธุ์ไม้ และได้เรียนรู้การเพาะชำ วิธีการอนุรักษ์พันธุ์ไม้ เกิดการทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างเด็กและผู้ปกครอง ทำให้เกิดการสร้างครอบครัวอบอุ่น และยังได้พันธุ์ไม้พื้นถิ่นกลับไปปลูกที่บ้าน

     

    100 70

    18. เรียนรู้การจัดการป่าจากพื้นที่ที่มีรูปธรรมความสำเร็จครั้งที่ 2 เรื่องการจัดการป่าสวนสมรมบ้านลุงฑูรตำบลตะโหมด

    วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เข้าร่วมศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำสวนสมรมในสวนยางพารา ณ บ้านตะโหมด โดยมีลุงฑูร เป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่องการทำสวนสมรมโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้เข้าร่วมเรียนรู้จำนวน 65 คน ได้เรียนรู้การทำสวนสมรม ซึ่งปลูกพืชหลายอย่างในสวนยางพารา ทำให้ได้ความรู้ใหม่ว่า การปลูกพืชหลายอย่างในสวนยางทำให้เกิดความสมดุลร่วมกัน ไม่ต้องใส่ปุ๋ยบำรุงต้นไม้ ทำให้ประหยัดเงินและมีรายได้จากการขายสินค้าทางการเกษตรตลอดปี จึงช่วยลดปัญหายางพาราตกต่ำ เพราะช่วยเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร
    • สิ่งที่ได้เรียนรู้ในวันนี้จะนำกลับไปทำและถ่ายทอดความรู้ให้กับคนในชุมชน

     

    65 60

    19. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานฯถอนเงินคืนค่าเปิดบัญชี จำนวน 500 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สามารถจัดทำรายงานการเงินได้ถูกต้อง

     

    2 2

    20. ติดตามผลการดำเนินงานงโครงการ งวดที่ 1

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเดินทางเข้าร่วมติดตามผลการดำเนินงานนประจำงวดที่ 1
    • พี่เลี้ยงโครงการ ทำความเข้าใจขั้นตอนการตรวจสอบรายงานในระบบเว็บไซต์และเอกสารการเงิน
    • ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานตรวจสอบความเรียบร้อยของรายงานและเอกสารการเงิน
    • ตรวจสอบเอกสารการเงิน เพื่อจัดทำรายงานประจำงวดที่ 1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเดินทางเข้าร่วมติดตามผลการดำเนินงานนประจำงวดที่ 1
    • ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเข้าใจขั้นตอนการตรวจสอบรายงานและการตรวจเอกสารการเงิน ตามขั้นตอนที่พี่เลี้ยงโครงการ แนะนำ
    • ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานตรวจสอบความเรียบร้อยของรายงานและเอกสารการเงินและสามารถนำเอกสารการเงินเข้าสู่ขั้นตอนการตวจสอบของเจ้าหน้าที่ สจรส.มอ. ได้และจัดทำรายงานประจำงวดที่ 1 ได้

     

    2 2

    21. ลาดตระเวณเฝ้าระวังป่า ครั้งที่ 2

    วันที่ 2 มีนาคม 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    8.00น.-8.30น ลงทะเบียน

    8.30น.-9.00น นายภานุทัศน์และหัวหน้าทีมอาสาสมัครเรียกคณะทำงานร่วมกันวาวงแผนการปฏิบัติงาน

    9.00น.-12.00น. อาสามมัครพิทักษ์ป่าและคณะทำงาน ออกลาดตระเวณ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลลัพธ์

    • เด็ก 15 คน อาสาสมัครพิทักป่า 15 คน เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการออกลาดตระเวนเฝ้าระวังป่าเพื่อร่วมในการปฏิบัติการจัดการป่าต้นน้ำให้มีป่าคู่กับคนมีคนอยู่คู่กับป่ามีน้ำไหลจากป่าตลอดปี แกนนำเยาวชน 15 คน เด็ก 15 คนเดินป่าเริ่มจากคลองโหล๊ะมังคุดมาป่าห้วยยวนเหนือผ่านป่าไม้ที่สมบูรณ์มีน้ำไหลอากาศเย็น บรรยากาศดีมากเด็กๆชอบและดีใจที่ได้ร่วมกับพี่ๆเดินป่า

     

    30 30

    22. ลาดตระเวณเฝ้าระวังป่า ครั้งที่ 6

    วันที่ 3 มีนาคม 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    8.00น.-8.30น.ลงทะเบียน

    8.30น-9.00น.นายภานุทัฑและหัวหน้าอาสาสมัครเรียกคณะทำงานร่วมกันวางแผน

    9.00-12.00น. ออกลาดตระเวณโดยมีอาสาสมัครและคณะทำงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีอาสาสมัครและคณะทำงาน 15 คน จากวันแรกที่ยังเดินไม่ถึงวันต่อมาเดินป่าตอยหอยซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่บ้านเด็กและเยาวชนก็ยังไม่กลัวเหนื่อยเดินต่ออย่างมีความสุขป่ายังอดมสมบูรณ์มีนกหลายชนิดต้นไม้หลายชนิดที่เด็กไม่รู้จัก เช่นต้นชก หรือลูกชิดต้นลูกประต้นพนต้นอึๆ เยาวชนก็จะแนะนำน้องๆ

     

    30 30

    23. 2. ประชุมคณะทำงานโครงการ 15 คนและทีมบริหารกลุ่มเด็กฯ 5 คนเดือนละครั้งรวม 11 ครั้ง ครั้งที่ 6

    วันที่ 4 มีนาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00น.-13.30น. ลงทะเบียน

    13.30-16.00 ประชุมร่วมกับคณะทำงานและติดตามผลกิจกรรมที่ผ่านมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    -เพื่อวางแผนทำกิจกรรมครั้งตอไปของเดื่อนนี้ -เพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบงานของกิจกรรม

    ผลลัพธ์

    -ผู้นำชุมชุนรับผิดชอบเตรียมสถานที่ -ตัวแทนเด็กและเยาวชนรับผิดชอบประชาสัมพันธ์และประสานงาน ประชุมเตรียมทำ กรรมการเตรียมพื้นที่ทำฝายคณะทำงานมีผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านสมาชิก อบต.และรองนายก อบต. แกนนำเยาวชนร่วมประชุมหารือเรื่อง จุดที่ตั้งฝายมีชีวิตสรุปประเด็นหลัก คือ ต้องเป็นที่หน้าฝายเก็บน้ำได้พอสมควร อาจจะไม่ยาวนัก แต่ไม่ชันจนเกินไป และลองไปดูพื้นที่โหล๊ะมังคุดก่อน 2 ที่เลือกพื้นที่ที่เหมาะสม

    การเชื่อมโยงสุขภาวะ ด้านสังคม

    ประชุมเตรียมทำ กรรมการเตรียมพื้นที่ทำฝายคณะทำงานมีผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านสมาชิก อบต.และรองนายก อบต. แกนนำเยาวชนร่วมประชุมหารือเรื่อง จุดที่ตั้งฝายมีชีวิตสรุปประเด็นหลัก คือ ต้องเป็นที่หน้าฝายเก็บน้ำได้พอสมควร อาจจะไม่ยาวนัก แต่ไม่ชันจนเกินไป และลองไปดูพื้นที่โหล๊ะมังคุดก่อน 2 ที่เลือกพื้นที่ที่เหมาะสม

     

    20 20

    24. ประชุมสภาหมู่บ้าน ครั้งที่ 6

    วันที่ 5 มีนาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    13.30-14..00 นายภานุทัฑกล่าวเปิดประชุมและติมตามแผนผลการดำเนินงานของโครงการ

    14.00-16.00 นายชาตรี เนรานนท์ผู้ใหญ่บ้านแจ้งให้ที่ประชุมทราบงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1.เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน

    2.สมาชิกเข้าร่วมประชุมเสนอ 2 เรื่อง คือ เรื่องเตรียมสร้างฝายมีชีวิตและเรื่องจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ

    ผลลัพธ์

    1.ผู้เข้าร่วมประชุมมีมติจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ วันที่ 10 มีนาคม 2559

    2.รองนายก อบต ผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อสม อปพร แบ่งปันรับผิดชอบทั้งสามป่าห้วยยวนเหนือ ป่าโล๊ะมังคุด และป่าคลองตอยหอย

    แผนการดำเนินงาน

    ครั้งที่ 1 ศึกษาป่าโล๊ะมังคุดและต่อไปศึกษาห้วยคลองเหนือ และป่าคลองตอยหอย ผู้ใหญ่บ้านเป็นประธานในที่ประชุมแจ้งเรื่องที่่ประชุมอำเภอและของหน่วยงานต่างๆ เช่นเรื่่องภัยแล้งจังหวัดประกาศภัยพิบัติภัยแล้งแล้ว เพื่อช่วยเหลือเกษตรที่พืชเสียหายแจ้งที่ทำการผู้ใหญ่บ้านนายภานุทัฑแจ้งเรื่องทำกิจกรรมต่อ คือจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติในวันที่ 10 มีนาคม 2559

     

    80 50

    25. กิจกรรมเตรียมพื้นที่ในการสร้างฝาย ครั้งที่ 1

    วันที่ 5 มีนาคม 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    8.00-8.30  ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม

    8.30-11.30 นายภานุทัฑ มูสิกะร่วมกับอาสาสมัครได้พูดคุยเรือ่งการเตรียมพื้นที่ในการสร้างฝาย

    12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน

    13.00-16.00 ลงพื้นที่โล๊มังคุดเป็นจุดที่1ในการสร้างฝาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1.มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 25 คน
    2.ได้เสนอเตรียมพื้นที่ในการสร้างฝาย จุดที่1 คื่อป่าโล๊ะมังคุด 3.ได้แผนการดำเนินงาน 1 ฉบับ

    ผลลัพธ์ 1. มีคณะทำงาน15 คน อาสาสมัคร 10 คน

    1. แบ่งหน้าที่ทีมงานปกครอง ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วย เตรียมพื้นที่ในการทำฝาย สมาชิก อบต. มีหน้าประชาสัมพันธ์ และชวนอาสาสมัครมาร่วกันทำกิจกรรม

    2. คณะทำงานเตรียมอุปกรณ์ เช่น กระสอบ ทราย และเชือก

    การเชื่อมโยงสุขภาวะ

    ด้านสังคม ลงพื้นที่โหล๊ะมังคุด จดทำฝายมีชีวิต 2 จุด เลือกพื้นที่ที่เหมาะสม รถหกล้อสามารถบรรทุกทรายได้สะดวก และข้างหน้าเก็บนำ้ได้พอสมควรจุดแรก ได้หน้าบ้านนายสมชายทองกลับจุดที่ 2 ได้ที่โหล๊ะต้นสายน้ำ ด้านบนของคลองโหล๊ะมังคุด

     

    20 25

    26. จัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ครั้งที่ 1

    วันที่ 10 มีนาคม 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    10.00-12.00 ลงทะเบียนและประชุมผู้เข้าเข้าร่วมกิจกรรม

    13.00-15.00 นำสมาชิกออกเดินเริ่มจากป่าโล๊ะมังคุด เป็นจุดที่ 1

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. เพื่อจัดทำาเส้นทางท่องเที่ยวป่าชุมชุนของหมู่บ้าน
    2. เพื่อทำป้ายแสดงข้อมูลพันธ์ไม้

    ผลลัพธ์

    1. ผู้นำในชุมชนให่ความร่วมมือร่วมกิจกรรมจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ
    2. ได้ผลสรุปรายชื่อพันธ์ไม้
    3. แกนนำกลุ่มบ้าน ผู้นำหมู่บ้าน ผู้นำท้องถิ่น พร้อมเดินจัดทำ เส้นทางศึกษาธรรมชาติ ป่าโหล๊ะมังคุดก่อน เพราะยังมีป่าต้นน้ำที่อุดมสมบูรณ์และมีน้ำไหลผ่านกลางหมู่บ้านให้ราษฎรได้ใช้ตลอดปีการรักษาป่าให้คู่กับน้ำจึงจำเป็นที่สนใจของผุ้นำเป็นแบบอย่างของเด็กและเยาวชนเดินผ่านป่าต้นน้ำ ไปยังถ้ำโหล๊ะมังคุด อยู่ทางทิศตะวันตกของหมู่บ้าน

     

    15 25

    27. กิจกรรมเตรียมพื้นที่ในการสร้างฝาย ครั้งที่ 2

    วันที่ 12 มีนาคม 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    13.30-15.00 ลงพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    • คณะทำงานและผู้นำชุมชนลงพื้นที่เตรียมทำฝายมีชีวิตที่ ห้วยยวนเหนือ เลือกพ้นที่ที่เหมาะสมและสะดวกในการทำกิจกรรม

    ผลลัพธ์

    • คณะทำงานและผู้นำได้เลือกพื้นที่ในการทำกิจกรรม ที่น่าพอใจ
    • ผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านรองนายกสมาชิกอบต. และแกนนำ กลุ่มบ้าน ร่วมเดินศึกษาธรรมชาติในป่าห้วยยวนเหนือวันที่ 2 เพื่อเป็นเส้นทางศึกษาของเด็กและเยาวชนต่อไป

     

    20 23

    28. ลาดตระเวณเฝ้าระวังป่า ครั้งที่ 3

    วันที่ 13 มีนาคม 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    13.30-15.00 ลงพื้นที่ในการลาดตระเวณ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    เด็กและวัยทำงานได้แบ่งงานตามทีมและแบ่งเขตพื้นการรับผิดชอบ

    ผลลัพธ์

    เด็กและวัยทำงานได้ร่วมกันทำงานที่ได้รับหมอบหมาย เด็กและเยาวชนเดินลาดตระเวณเฝ้าระวังป่า ห้วยยวนเหนือ แกนนำเยาวชนในพื้นที่เป็นพี่เลี้ยงในการเดินป่า เดินไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของหมู่บ้านตามริมห้วยเข้าไปในป่ายังพอมีน้ำและป่าแต่น้อยกว่าคลองโหล๊ะมังคุดเพราะมีป่าน้อยกว่านั้นเองทำให้เด็กรู้ว่าส่วนที่สมบูรณ์กว่าย่อมเก็บน้ำได้ดีกว่าแน่นอน

     

    30 30

    29. ลาดตระเวณเฝ้าระวังป่า ครั้งที่ 1

    วันที่ 14 มีนาคม 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    13.30-15.30 ลงพื้นที่ลาดตระเวณ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลลัพธ์

    • เด็กและวัยทำงานได้แบ่งงานตามทีมและแบ่งเขตพื้นการรับผิดชอบ
    • เด็กและวัยทำงานได้ร่วมกันทำงานที่ได้รับหมอบหมาย
    • วันต่อมาเด็กและเยาวชนได้เดินทางไปโหล๊ะมังคุดและเดินต่อไปที่ป่าตอยหอย ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่บ้าน ตอยหอยเป็นป่าต้นน้ำของคลองตอยหอยน้ำไหลผ่านหมู่บ้านลงสู่บ้านทุ่งโซน และไหลลงสู่ของลาไม ก่อนที่จะไหลลงสู

     

    30 30

    30. ลาดตระเวณเฝ้าระวังป่า ครั้งที่ 5

    วันที่ 19 มีนาคม 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    13.30-15.30 ลงพื้นที่ลาดตระเวณ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    เด็กและวัยทำงานได้แบ่งงานตามทีมและแบ่งเขตพื้นการรับผิดชอบ

    ผลลัพธ์

    เด็กและวัยทำงานได้ร่วมกันทำงานที่ได้รับหมอบหมาย ป่าตอยหอยที่เดินยังไม่ทั่ววันนี้นัดกันมากอีกรอบิจากป่าตอยหอยเดินขึ้นป่าควนรงค์มีถ่ำ มีที่พักสงฆ์ควนรงค์ ป่าไม้ ไม้ประและไม้อื่นๆมากมายอยู่บนภูเขาสูง

     

    30 30

    31. ทัวร์ป่าจัดทำข้อมูลจำแนกพันธ์ไม้ออกเป็น สูญพันธ์ เสี่ยง หายาก เพื่อประกอบในการวางแผนฟื้นฟู เฝ้าระวังป้องกัน ครั้งที่ 2

    วันที่ 19 มีนาคม 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    103.30-14.00 ได้พูดเรื่องการจัดทำแผนแบ่งแยกพันธ์ไม้ การเฝ้าระวังป้องกัน

    14.00-16.00 ทัวป่าเพื่อจักทำข้อมูลพันธ์ไม้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1.จัดทำข้อมูลเพื่อจำแนกพันธืไม้ 2.ร่วมกันวางแผนฟื้นฟูเฝ้าระวังป้องกัน

    ผลลัพธ์

    1.ได้ข้อมูลพันธ์ไม้

    2.แผนฟ้นฟูป่า และการเฝ้าระวัง โดยกำหนด 3 เขต ได้แก่ ป่าห้วยยวนเหนือ ป่าโล๊ะมังคุด ป่าคลองต่อยหอย

    • รองนายก อบต. ผู่ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สมาชิก อบต. แกนนำกลุ่มหมู่บ้าน และแกนนำเยาวชน ร่วมกันทัวร์ป่าโหล๊ะมังคุด เพื่อจำแนกพันธ์ไม้ที่หายากและสูญพันธ์แล้ว นายสะอาดอินทร์แก้ว แก้นนำกลุ่มบ้านโหล๊ะมังคุดบอกไม้ที่สูญพันธ์ คือ พญาไม้ หรือ ขุนไม้ ไม้เหรียญทอง และไม้ที่หายาก ไม้เคียนหิน หรือหลาเต่า ไม้ตะบาก ไม้เคียนทราย ไม้มะค่า ไม้ลายตอก ไม้หอม ไม้ตลุมพอ ไม้ไข่เขียว ไม้ขนุนปาน

     

    25 25

    32. ลาดตระเวณเฝ้าระวังป่า ครั้งที่ 7

    วันที่ 3 เมษายน 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    13.30-15.30 ลงพื้นที่ลาดตระเวณ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    • เด็กและวัยทำงานได้แบ่งงานตามทีมและแบ่งเขตพื้นการรับผิดชอบ

    ผลลัพธ์

    • เด็กและวัยทำงานได้ร่วมกันทำงานที่ได้รับหมอบหมาย กลับมาเดินป่าโหล๊ะมังคุดอีกรอบ เดินทางใหม่ไปควนประ ต้นประ หรือลูกประ ควนนี้มีต้นประมากมายอยู่ห่างจากชุชนเข้าไปในป่าลึกประมาณ 2 กิโเมตร ต้องเดินเท้าอย่างเดียว ป่าประยังอุดมสมบูรณ์มาก ต้นใหญ่ขนาด 200 ซม.สูงหลายสิบเมตร และเดินกลับมาในคลอง ป่าต้นน้ำโหล๊ะมังคุด

     

    30 30

    33. ลาดตระเวณเฝ้าระวังป่า ครั้งที่ 4

    วันที่ 4 เมษายน 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    8.00น.-8.30น.ลงทะเบียน

    8.30น-9.00น.นายภานุทัฑและหัวหน้าอาสาสมัครเรียกคณะทำงานร่วมกันวางแผน

    9.00-12.00น. ออกลาดตระเวณโดยมีอาสาสมัครและคณะทำงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต -เพื่อวางแผนทำกิจกรรมครั้งตอไปของเดื่อนนี้ -เพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบงานของกิจกรรม

    ผลลัพธ์

    • คุยเรื่องกิจกรรมเดือนที่ผ่านมาในการทำกิจกรรมมีปัญหาอุปสรรคอะไรบ้างทีมงานตอบไม่มี
    • เตรียมกิจกรรมของเดือน เมษายนที่จะนำฝ่ายมีชีวิต 28-30 และทำสือ วันที่ 23 เมษายน วันนี้เดินต่อจากป่าโหล๊ะมังคุด ไปทิศเหนือป่าห้วยยวนเหนือมาดอนไม้หลาเต่า หรือเคียนหิน เป็นไม้เนื้ อแข็งที่หายากแล้วและเดินต่อไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ มองเห็นทิวทัศข้างล้างได้ไกลสวยงามมากเป็นที่พอใจของเด็กและเยาวชน มองเห็นเขาพระทอง เขาลำปะ ควนเกย และเห็นเขาร่อนพิบูลย์นั้งพักผ่อนเหมือนจุดชมวิว
    • ผู้นำชุมชุนรับผิดชอบเตรียมสถานที่
    • ตัวแทนเด็กและเยาวชนร่วมกันลาดตระเวณเพื่อป้องกันการทำลายป่าเพิ่ม

     

    30 30

    34. 2. ประชุมคณะทำงานโครงการ 15 คนและทีมบริหารกลุ่มเด็กฯ 5 คนเดือนละครั้งรวม 11 ครั้ง ครั้งที่ 7

    วันที่ 4 เมษายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00น.-13.30น. ลงทะเบียน

    13.30-16.00 ประชุมร่วมกับคณะทำงานและติดตามผลกิจกรรมที่ผ่านมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    • เพื่อวางแผนทำกิจกรรมครั้งตอไปของเดื่อนนี้
    • เพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบงานของกิจกรรม

    ผลลัพธ์

    • ผู้นำชุมชุนรับผิดชอบเตรียมสถานที่

    • ตัวแทนเด็กและเยาวชนรับผิดชอบประชาสัมพันธ์และประสานงาน

    • คุยเรื่องกิจกรรมเดือนที่ผ่านมาในการทำกิจกรรมมีปัญหาอุปสรรค์อะไรบ้างทีมงานตอบไม่มีเตรียมกิจกรรมของวันที่ 23 เมษายน จัดทำสื่อและวันที่ 28-30 เมษายน จัดทำฝายมีชีวิต

     

    20 20

    35. ประชุมสภาหมู่บ้าน ครั้งที่่ 7

    วันที่ 5 เมษายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    13.30-14..00 นายภานุทัฑกล่าวเปิดประชุมและติมตามแผนผลการดำเนินงานของโครงการ

    14.00-16.00 นายชาตรี เนรานนท์ผู้ใหญ่บ้านแจ้งให้ที่ประชุมทราบงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 40 คน

    2.สมาชิกเข้าร่วมประชุมเสนอ 2 เรื่อง คือ เรื่องเตรียมสร้างฝายมีชีวิตและเรื่องจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ

    ผลลัพธ์
    1.ผู้เข้าร่วมประชุมมีมติจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ

    2.รองนายก อบต ผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อสม อปพร แบ่งปันรับผิดชอบทั้งสามป่าห้วยยวนเหนือ ป่าโล๊ะมังคุด และป่าคลองตอยหอย

    แผนการดำเนินงาน

    ครั้งที่ 2 ศึกษาห้วยคลองเหนือ และป่าคลองตอยหอย

     

    80 40

    36. กิจกรรมเตรียมพื้นที่ในการสร้างฝาย ครั้งที่ 3

    วันที่ 9 เมษายน 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    13.30-15.00 ลงพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    -คณะทำงานและผู้นำชุมชนลงพื้นที่เตรียมทำฝายมีชีวิตที่ ห้วยยวนเหนือ เลือกพ้นที่ที่เหมาะสมและสะดวกในการทำกิจกรรม

    ผลลัพธ์

    -คณะทำงานและผู้นำได้เลือกพื้นที่ในการทำกิจกรรม ที่น่าพอใจ

    -เตรียมแต่งทางรถบรรทุกทรายทั้งสองพื้นที่ โหล๊ะมังคุด และห้วยยวยเหนือ และประสานงานเรื่องอุปกรณ์ทำฝายมีชีวิต เช่นกระสอบบรรจุทราย และทีมงานเตรียมคนงาน และเด็กเยาวชนที่เข้าร่วมทำกิจกรรม ในวันที่ทำฝาย 28-30 เมษายน แบ่งการประสานงานในพื้นที่ โหล๊ะมังคุดให้ นายสะอาด อินทร์แก้ว เป็นผู้ประสานงาน ห้วยยวนเหนือ ให้ นายเสริมอินทระ เป็นผู้ประสานงาน

     

    20 20

    37. จัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ครั้งที่ 2

    วันที่ 10 เมษายน 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    10.00-12.00 ลงทะเบียนและประชุมผู้เข้าเข้าร่วมกิจกรรม

    13.00-15.00 นำสมาชิกออกเดินเริ่มจากป่าห้วยยอนเหนือ เป็นจุดที่ 2

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1.เพื่อจัดทำาเส้นทางท่องเที่ยวป่าชุมชุนของหมู่บ้าน

    2.เพื่อทำป้ายแสดงข้อมูลพันธ์ไม้

    ผลลัพธ์

    1ผู้นำในชุมชนให่ความร่วมมือร่วมกิจกรรมจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ

    2.ได้ผลสรุปรายชื่อพันธ์ไม้

    แกนนำหมู่บ้าน กรรมการหมู่บ้าน แกนนำเยาวชน จัดทำเส้นทางป่าห้วยยวนเหนือ มาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของหมู่บ้าน ทุกแกนนำพร้อมใจในการเดินทำเส้นทาง ห้วยยวนมีป่าเป็นทางระยะสั้นกว่าป่าอื่น ที่เหลื่ออยู่ในหมู่บ้าน

     

    15 20

    38. จัดทำสื่อ/สื่อนิทรรศการ/แผ่นป้ายรณรงค์/ป้ายเขตป่า จำนวน 1 ชุด เพื่อแสดงผลงาน ประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน

    วันที่ 23 เมษายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    13.30-14..00 นายภานุทัฑกล่าวเปิดประชุมและติมตามแผนผลการดำเนินงานของโครงการ

    14.00-16.00 นายชาตรี เนรานนท์ผู้ใหญ่บ้านแจ้งให้ที่ประชุมทราบงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1. ร่วมเสนอความคิดเห็นหัวข้อการจัดทำป้าย

    ผลลัพธ์

    1.ได้หัวข้อการรณรงค์ ป้ายเขตป่า และป้ายประสัมพันธ์การดำเนินงานจำนวน 1 ชุด คณะทำงานจัดทำสื่อนิทรรศการ แผ่นป้ายรณรงค์ ป้ายเขตป่า ร่วมกับแกนนำของหมู่บ้าน ทำแผ่นป้ายปักเขตป่าต้นน้ำ แกนนำเยาวชนร่วมกันติดป้ายเขตป่าต้นน้ำ ทั้งสามป่า ป่าโหล๊ะมังคุด ป่าห้วยยวน ป่าตอยหอย รวมทั้งติดป้ายเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ทุกเขตป่า

    แผนการดำเนินงาน นัดประชุมและวางแผนการดำเนินฃานครั้งต่อไป

     

    20 20

    39. จัดทำชุดนิทรรศการการดำเนินงานกิจกรรมของโครงการ

    วันที่ 27 เมษายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทำป้ายในวันที่ทำฝายร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ประชาสัมพันธ์โครงการ สสส.

     

    100 100

    40. ทำฝายมีชีวิต

    วันที่ 30 เมษายน 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    9.00-10.00 ลงทะเบียน

    10.30-12.00 นายภานุทัฑกล่าวเปิดประชุมและติมตามแผนผลการดำเนินงานของโครงการ

    13.00-16.00 ร่วมกันสร้างฝายมีชืวิต

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. มีผู้เข้าร่วมโครฃการ จำนวน 100 คน

    2.ร่วมกันแบ่งกลุ่มเพื่อและแบ่งหน้ที่

    ผลลัพธ์

    1. ผู้เข้าร่วม

    - คณะทำงานโครงการ 15 คน - เด็กเยาวชน 30 คน -ตัวแทนครัวเรือน 55 คน

    2.ได้แบ่งกลุ่มโดยมี กลุ่มนำทรายใส่กระสอบ กลุ่มขนทราย กลุ่มสร้างฝาย ผู้นำ แกนนำกลุ่มบ้าน แกนนำเด็ฏและเยาวชนร่วมกันเอาทรายใส่กระสอบและขนมาให้ผู้นำและคนในชุมชนที่มาช่วยในการทำฝายมีชีวิต จัดทำฝายกันเพื่อชลอน้ำ และเป็นแหล่งเป็นแหล่งที่อยู่ของสัตว์น้ำ ทำสามจุด น้ำเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเป็นที่ภูมิใจของเด้กๆเห็นน้ำหน้าฝายมาก เล่น้ำกันอย่างสนุก ความร่วมมือของชุมชนเป็นที่ภูมิใจของเด็กๆ

    แผนการดำเนินงาน

    นักประชุมแลัร่วมทำกิจกรรมในกิจกรรมต่อไป

     

    100 100

    41. ลาดตระเวณเฝ้าระวังป่า ครั้งที่ 8

    วันที่ 3 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    13.30-15.30 ลงพื้นที่ลาดตระเวณ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลลัพธ์

    • เด็กและวัยทำงานได้แบ่งงานตามทีมและแบ่งเขตพื้นการรับผิดชอบ
    • ทีมงานเฝ้าระวังป่า เดินไปป่าตยหอย อยู่ทางทิศใต้ของหมู่บ้านยังมีป่ามีนำ้ใหลพอสมควร เป็นที่ป่าอยู่ร่วมกับชุมชนที่1ของหมุ่บ้าน
    • เด็กและวัยทำงานได้ร่วมกันทำงานที่ได้รับหมอบหมาย

     

    30 30

    42. 2. ประชุมคณะทำงานโครงการ 15 คนและทีมบริหารกลุ่มเด็กฯ 5 คนเดือนละครั้งรวม 11 ครั้ง ครั้งที่ 8

    วันที่ 4 พฤษภาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    103.30-14.00 ได้พูดเรื่องการจัดทำแผนแบ่งแยกพันธ์ไม้ การเฝ้าระวังป้องกัน

    14.00-16.00 ทัวป่าเพื่อจัดทำข้อมูลพันธ์ไม้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    -เพื่อวางแผนทำกิจกรรมครั้งต่อไปของเดื่อนนี้ -เพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบงานของกิจกรรม

    ผลลัพธ์

    • เตรียมนำกิจกรรมเดือนพฤศภาคม วันที่ 7พ.คทำทัวร์ป่าจำแนกข้อมุลพันธ์ไม้ วันที่10 พ.ค จัดเส้นทางศึกษาธรรมชาติ วันที่16 พ.ค ทำเรื่อนเพาะชำ

    • ผู้นำชุมชุนรับผิดชอบเตรียมสถานที่

    • ตัวแทนเด็กและเยาวชนรับผิดชอบประชาสัมพันธ์และประสานงาน

     

    20 25

    43. ประชุมสภาหมูู่บ้านครั้งที่8

    วันที่ 5 พฤษภาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    13.30-14..00 นายภานุทัฑกล่าวเปิดประชุมและติมตามแผนผลการดำเนินงานของโครงการ

    14.00-16.00 นายชาตรี เนรานนท์ผู้ใหญ่บ้านแจ้งให้ที่ประชุมทราบงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    • สมาชิกเข้าร่วมประชุมเสนอ 2 เรื่อง คือ เรื่องเตรียมสร้างฝายมีชีวิตและเรื่องจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ

    ผลลัพธ์

    1. ผู้เข้าร่วมประชุมมีมติจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ
    2. รองนายก อบต ผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อสม อปพร แบ่งปันรับผิดชอบทั้งสามป่าห้วยยวนเหนือ ป่าโล๊ะมังคุด และป่าคลองตอยหอย
    3. นายภานุฑัต มูสิกะ รองนายก จัดกิจกรรมเดือน พ.ค นี้เตรียมนำกิจกรรมเดือนพฤศภาคม วันที 7 พ.ค ทำทัวร์ป่าจำแนกข้อมุลพันธ์ไม้ วันที่10 พ.ค จัดเส้นทางศึกษาธรรมชาติ วันที่16 พ.ค ทำเรื่อนเพาะชำ

    แผนการดำเนินงาน ครั้งที่ 2 ศึกษาห้วยคลองเหนือ และป่าคลองตอยหอย

     

    80 80

    44. ทัวร์ป่าจัดทำข้อมูลจำแนกพันธ์ไม้ออกเป็น สูญพันธ์ เสี่ยง หายาก เพื่อประกอบในการวางแผนฟื้นฟู เฝ้าระวังป้องกัน ครั้งที่ 3

    วันที่ 7 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ


    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    103.30-14.00 ได้พูดเรื่องการจัดทำแผนแบ่งแยกพันธ์ไม้ การเฝ้าระวังป้องกัน

    14.00-16.00 ทัวป่าเพื่อจักทำข้อมูลพันธ์ไม้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. จัดทำข้อมูลเพื่อจำแนกพันธืไม้ 2.ร่วมกันวางแผนฟื้นฟูเฝ้าระวังป้องกัน

    ผลลัพธ์

    1. ได้ข้อมูลพันธ์ไม้
    2. แผนฟื้นฟูป่า และการเฝ้าระวัง โดยกำหนด 3 เขต ได้แก่ ป่าห้วยยวนเหนือ ป่าโล๊ะมังคุด ป่าคลองต่อยหอย
    3. ป่าตอยหอย และป่าห้วยยวนมีผู้นำชุมชนแกนนำกลุ่มหมู่บ้านร่วมมือกันช่วยบอกพันธ์ไม้ ที่พบป่าตองหอยใบเร็ด ผักหวานป่า ต้นทุเรียน ต้นเป็นหนามคล้ายหลาโอน ชาวบ้านนิยมเอายอดมาทำอาหารมาแกง รถชาติมันๆหวานๆมีมากในพื้นที่ป่าลึกเข้าไปข้างใน พันธ์ไม้ลดน้อยลงเป็นไม้เนื้อแข็ง เช่น ตะลุมพอ ไม้ไขเขียวยังพอมีให้เห็นบ้างอยุ่ริมนำ้บริเวณป่าต้นนำ้ ด้านสังคม

     

    25 25

    45. จัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ครั้งที่ 3

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    10.00-12.00 ลงทะเบียนและประชุมผู้เข้าเข้าร่วมกิจกรรม

    13.00-15.00 นำสมาชิกออกเดิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1.เพื่อจัดทำาเส้นทางท่องเที่ยวป่าชุมชุนของหมู่บ้าน

    2.เพื่อทำป้ายแสดงข้อมูลพันธ์ไม้

    ผลลัพธ์

    1. ผู้นำในชุมชนให่ความร่วมมือร่วมกิจกรรมจัดทำเส้นทางศึกษาธรรมชาต
    2. ได้ผลสรุปรายชื่อพันธ์ไม้
    3. แกนนำกลุ่มบ้าน ตอยหอยควนรงค์ช่วยนำเส้นทางศึกษาธรรมชาติ จากป่าตอยหอย เดินริมคลองตอยหอยไปควนรงค์ยังมีความสมบูรณ์ของป่าริมนำ้ และนำ้ที่ใหลจากหุบเขาที่มาเลีองลำครองที่ผ่านชุมชนที่ราบในหุบเขาที่ชุมชนอยู่กับป่าคนอยู่ร่วมกับป่า

     

    15 20

    46. กิจกรรมการจัดทำเรือนเพาะชำและระบบน้ำเพื่ออนุบาลพันธ์ไม้

    วันที่ 16 พฤษภาคม 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    9.00-10.00 ลงทะเบียน

    10.30-12.00 นายภานุทัฑกล่าวเปิดประชุมและติมตามแผนผลการดำเนินงานของโครงการ

    13.00-16.00 ร่วมกันสร้างเรือนเพาะชำ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. มีผู้เข้าร่วมโครฃการ จำนวน 25 คน

    2.ร่วมกันผางแผนการสร้างเรือนเพาะชำ

    3.ร่วมกันแบ่งกลุ่มเพื่อและแบ่งหน้ที่

    ผลลัพธ์ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน นายทีมทองถิ่น และคณะทำงานมาช่วยกันทำเรือนเพาะชำเพื่ออนุบาลกล้าไม้ไร้ปลูก ปลูกป่าเพิ่ม ป่านี้สมควรปลูกไม้เพิ่มในริมครองต่างๆ

    1.ผู้เข้าร่วม - คณะทำงานโครงการ 15 คน - เด็กเยาวชน 10 คน

    2.ทำโรงเพาะชำเพื่ออนุบาลต้นไม้ ขนาด 4 คูณ 9 เมตร

     

    25 25

    47. ลาดตระเวณเฝ้าระวังป่า ครั้งที่ 9

    วันที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    13.30-15.30 ลงพื้นที่ลาดตระเวณ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต เด็กและวัยทำงานได้แบ่งงานตามทีมและแบ่งเขตพื้นการรับผิดชอบ

    ผลลัพธ์ ทีมเฝ้าระวังป่า เวียนมาป่าห้วยยวนเหนืออีกรอบกิจกรรมเฝ้าระวังป่าจะทำต้นเดือนของทุกเดือน สมาชิกร่วมมือกันเหมือนเดิม

    เด็กและวัยทำงานได้ร่วมกันทำงานที่ได้รับมอบหมาย

     

    30 30

    48. 2. ประชุมคณะทำงานโครงการ 15 คนและทีมบริหารกลุ่มเด็กฯ 5 คนเดือนละครั้งรวม 11 ครั้ง ครั้งที่ 9

    วันที่ 4 มิถุนายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00น.-13.30น. ลงทะเบียน

    13.30-16.00 ประชุมร่วมกับคณะทำงานและติดตามผลกิจกรรมที่ผ่านมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต -เพื่อวางแผนทำกิจกรรมครั้งตอไปของเดื่อนนี้ -เพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบงานของกิจกรรม

    ผลลัพธ์

    -เตรียมกิจกรรม ปลูกป่าเพิ่ม ป่าโหล็ะมังคุด

    -ผู้นำชุมชุนรับผิดชอบเตรียมสถานที่

    -ตัวแทนเด็กและเยาวชนรับผิดชอบประชาสัมพันธ์และประสานงาน

     

    20 25

    49. ประชุมสภาหมู่บ้าน ครั้งที่ 9

    วันที่ 5 มิถุนายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    13.30-14..00 นายภานุทัฑกล่าวเปิดประชุมและติดตามแผนผลการดำเนินงานของโครงการ

    14.00-16.00 นายชาตรี เนรานนท์ผู้ใหญ่บ้านแจ้งให้ที่ประชุมทราบงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1.เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 40 คน

    2.สมาชิกเข้าร่วมประชุมเสนอ 2 เรื่อง คือ การปลูกป่าเพิ่มและสร้างธนาคารริมคลอง และ การลาดตระเวนป่า (ครั้งที่ 1)

    ผลลัพธ์

    1.ผู้เข้าร่วมประชุมมีมติและข้อตกลงการปลูกป่า

    2.ได้กำหนดการและเส้นทางการเดินลาดตระเวน

    3.รองนายก อบต ผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อสม อปพร แบ่งปันรับผิดชอบทั้งสามป่าห้วยยวนเหนือ ป่าโหล๊ะมังคุด และป่าคลองตอยหอย
    4.นายภานุทัฑ มูสิกะ แจ้งปลูกป่าเพิ่ม ป่าโหล็ะมังคุด11 มิ.ย59

     

    80 80

    50. ปลูกป่าเพิ่ม และสร้างธนาคารอาหารริมคลอง ครั้งที่ 1

    วันที่ 11 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    9.00-10.00 ลงทะเบียน

    10.30-12.00 นายภานุทัฑกล่าวเปิดประชุมและติมตามแผนผลการดำเนินงานของโครงการ

    13.00-16.00 ร่วมกันปลูกป่า

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. มีผู้เข้าร่วมโครฃการ จำนวน 105 คน

    2.ร่วมกันแบ่งกลุ่มเพื่อและแบ่งหน้ที่

    ผลลัพธ์

    • ได้แบ่งกลุ่มในการปลูกป่าเพิ่มและสร้างธนาคารริมคลอง จำนวน 3 กล่ม กลุ่มละ 35 คน

    • ผู้นำหมู่บ้าน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สมาชิก อบต. แกนนำชุมชนร่วมกับเด็กและเยาวชนปลูกป่าเพิ่มป่าโหล๊ะมังคุดนอกจากพันธ์ไม้ที่ปลูกแล้วเป็นผักที่นำมาปลูกเพื่อเป็นอาหารของชุมชนต่อไป เช่น ต้นไม้เหรียง เตาร้าง สตอ ผักเขลียง ผักกูด ผักหวานป่า ผักหวานนก

     

    100 105

    51. ลาดตระเวณเฝ้าระวังป่า ครั้งที่ 10

    วันที่ 3 กรกฎาคม 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    13.30-14..00 นายภานุทัฑ กล่าวเปิดประชุมและติมตามแผนผลการดำเนินงานของโครงการ

    14.00-16.00 นายชาตรี เนรานนท์ผู้ใหญ่บ้านแจ้งให้ที่ประชุมทราบงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 30 คน

    2.สมาชิกเข้าร่วมประชุมและร่วกันวางแผนการลาดตระเวน

    ผลลัพธ์

    เด็กและวัยทำงานได้ร่วมกันทำงานที่ได้รับหมอบหมาย

    ทีมงานเดินจากป่าห้วยยวนเหนือไปทางทิศเหนือออกป่าคลองลานแซะ ต่อเขตกับตำบลควนหนองหงษ์ มีคลองเป็เขตกั้นระหว่างตำบล

     

    30 30

    52. 2. ประชุมคณะทำงานโครงการ 15 คนและทีมบริหารกลุ่มเด็กฯ 5 คนเดือนละครั้งรวม 11 ครั้ง ครั้งที่ 10

    วันที่ 4 กรกฎาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00น.-13.30น. ลงทะเบียน

    13.30-16.00 ประชุมร่วมกับคณะทำงานและติดตามผลกิจกรรมที่ผ่านมา เพื่อวางแผนทำกิจกรรมครั้งตอไปของเดื่อนนี้ และเพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบงานของกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลลัพธ์

    -ผู้นำชุมชุนรับผิดชอบเตรียมสถานที่

    -ตัวแทนเด็กและเยาวชนรับผิดชอบประชาสัมพันธ์และประสานงาน

    -รายงานลาดตระเวณเฝ้าระวังป่า ของเด็กและเยาวชน เมื่อวันที่ 3 ก.ค. 59 จากป่าห้วยยวนเหนือไปป่าคลองลานแซะเขตตำบลควนหนองหงษ์

     

    20 20

    53. ประชุมสภาหมู่บ้านครั้งที่ 10

    วันที่ 5 กรกฎาคม 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    13.30-15.30 ลงพื้นที่ลาดตระเวณ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 80 คน

    2.สมาชิกเข้าร่วมประชุมเสนอคือการลาดตระเวนป่า

    ผลลัพธ์

    1.ผู้เข้าร่วมได้ข้อเสนอแนะการเดินลาดตระเวน

    2.ได้กำหนดการและเส้นทางการเดินลาดตระเวนวันที่ 3 สิงหาคม

    3.รองนายก อบต ผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อสม อปพร แบ่งปันรับผิดชอบทั้งสามป่าห้วยยวนเหนือ ป่าโล๊ะมังคุด และป่าคลองตอยหอย

    นายชาตรีเนรานนท์ ผู้ใหญ่บ้าน เป็นประธานในที่ประชุม แจ้งเรื่องที่ประอำเภอให้ที่ประชุมทราบ

    แผนการดำเนินงาน

    ติดตามผลการดำเนินงานในกิจกรรมต่อไป

     

    80 80

    54. ลาดตระเวณเฝ้าระวังป่า ครั้งที่ 11

    วันที่ 3 สิงหาคม 2559 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00น.-13.30น. ลงทะเบียน

    13.30-16.00 ประชุมร่วมกับคณะทำงานและติดตามผลกิจกรรมที่ผ่านมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต -เพื่อวางแผนทำกิจกรรมครั้งตอไปของเดื่อนนี้ -เพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบงานของกิจกรรม

    ผลลัพธ์

    -ผู้นำชุมชุนรับผิดชอบเตรียมสถานที่

    -ตัวแทนเด็กและเยาวชนรับผิดชอบประชาสัมพันธ์และประสานงาน

    จากป่าตอยหอย ไปควนรงค์และป่าขอนขวางสุดเขตหมู่บ้านทางด้านทิศตะวันตกของหมู่บ้าน ติดต่อกับตำบลน้ำตก อำเภอทุ่งสง เป็นที่ราบสูงของตำบล ป่าควนรงค์อยู่ในเขตเทือกเขาบรรทัด เป็นป่าต้นน้ำแบ่งเขตฤดูกาล ฝั่งทะเลอันดามันกันฝั่งทะเลอ่าวไทย

     

    30 30

    55. 2. ประชุมคณะทำงานโครงการ 15 คนและทีมบริหารกลุ่มเด็กฯ 5 คนเดือนละครั้งรวม 11 ครั้ง ครั้งที่ 11

    วันที่ 4 สิงหาคม 2559 เวลา 12:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00น.-13.30น. ลงทะเบียน 13.30-16.00 ประชุมร่วมกับคณะทำงานและติดตามผลกิจกรรมที่ผ่านมา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต -เพื่อวางแผนทำกิจกรรมครั้งตอไปของเดื่อนนี้ -เพื่อแบ่งหน้าที่รับผิดชอบงานของกิจกรรม

    ผลลัพธ์

    • ผู้นำชุมชุนรับผิดชอบเตรียมสถานที่

    • ตัวแทนเด็กและเยาวชนรับผิดชอบประชาสัมพันธ์และประสานงาน

    • ประชุมเตรียมงานเดือนสิงหาคม เรื่องปลูกป่าเพิ่มเติมครั้งที่ 2 ป่าห้วยยวนเหนือ นัดเวลา 9.00 น. ปลูกป่าเพิ่มและปลูกผักริมคลอง เช่น ผักเหรียง ผักกูด ชะอม ไผ่ตง ไผ่หวาน

     

    20 20

    56. ประชุมสภาหมู่บ้าน ครั้งที่ 11

    วันที่ 5 สิงหาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    13.30-14..00 นายภานุทัฑกล่าวเปิดประชุมและติมตามแผนผลการดำเนินงานของโครงการ

    14.00-16.00 นายชาตรี เนรานนท์ผู้ใหญ่บ้านแจ้งให้ที่ประชุมทราบงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 80 คน

    2.สมาชิกเข้าร่วมประชุมเสนอ 2 เรื่อง คือ การปลูกป่าเพิ่มและสร้างธนาคารริมคลอง และ การลาดตระเวนป่า

    ผลลัพธ์

    1.ผู้เข้าร่วมประชุมมีมติและข้อตกลงการปลูกป่า

    2.ได้กำหนดการและเส้นทางการเดินลาดตระเวน

    3.รองนายก อบต ผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อสม อปพร แบ่งปันรับผิดชอบทั้งสามป่าห้วยยวนเหนือ ป่าโล๊ะมังคุด และป่าคลองตอยหอย

    แจ้งเรื่อง เตรียมปลูกป่าเพิ่มเติมครั้งที่ 2 วันที่ 12 สิงหาคม 2559 เวลา 9.00 น. เพื่อเป็นสิริมงคลกับชุมชนใน วันแม่แห่งชาติ

    แผนการดำเนินงาน

    ติดตามผลการดำเนินงานในกิจกรรมต่อไป

     

    80 80

    57. ปลูกป่าเพิ่ม และสร้างธนาคารอาหารริมคลอง ครั้งที่ 2

    วันที่ 12 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    9.00-10.00 ลงทะเบียน

    10.30-12.00 นายภานุทัฑกล่าวเปิดประชุมและติมตามแผนผลการดำเนินงานของโครงการ

    13.00-16.00 ร่วมกันปลูกป่า

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต

    1. มีผู้เข้าร่วมโครฃการ จำนวน 105 คน

    2.ร่วมกันแบ่งกลุ่มเพื่อและแบ่งหน้ที่

    ผลลัพธ์

    1. ผู้เข้าร่วม

    - คณะทำงานโครงการ 15 คน - เด็กเยาวชน 30 คน - ตัวแทนองค์กร หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง15 คน -ตัวแทนครัวเรือน 40 คน

    1. ได้แบ่งกลุ่มในการปลูกป่าเพิ่มและสร้างธนาคารริมคลอง จำนวน 3 กล่ม กลุ่มละ 33 คน

    สมาชิกร่วมโครงการ 100 คน แบ่งออกเป็น 2 ทีมคือ ปลูกต้นไม้ยืนต้นและพืชที่เป็นอาหาร ผักกูด ผักเขลียง ชะอม ผักหวาน เพิ่มเติมที่มีอยู่แล้วบริเวณริมคลองเพื่อเป็นอาหารของคนในชุมชน จะได้มีอาหารที่ปลอดภัย ปลอดสารเคมี ไม่ต้องนำเข้าจากภายนอก

    แผนการดำเนินงาน

    นักประชุมแลัร่วมทำกิจกรรมในกิจกรรมต่อไป

     

    100 100

    58. ประชุมสภาหมู่บ้าน ครั้งที่ 12

    วันที่ 5 กันยายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    13.00-13.30 ลงทะเบียน

    13.30-15.30 ลงพื้นที่ลาดตระเวณ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต 1.เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 40 คน

    2.ประชุมและเสนอความคิดเห็นและวางแผน ผลลัพธ์
    1.ได้แผนการดำเนินงานการปลูกป่และสร้าฃธนาคารริมคลอง ครั้งที่ 3

    2.รองนายก อบต ผู้ใหญ่บ้านผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน อสม อปพร แบ่งปันรับผิดชอบทั้งสามป่าห้วยยวนเหนือ ป่าโล๊ะมังคุด และป่าคลองตอยหอย

    นายชาตรี เนรานนท์ ผู้ใหญ่บ้านเป็นประธานในที่ประชุม แจ้งเรื่องประชุมจากอำเภอและแจ้งทำกิจกรรมปลูกป่าเพิ่ม ครั้งที่ 3 ในวันที่ 10 กันยายน เวลา 09.00 น. ที่ป่าตอยหอย

    แผนการดำเนินงาน ติตามและร่วมกันวางแผนการดำเนินงานครั้งต่อไป

     

    80 40

    59. ปลูกป่าเพิ่ม และสร้างธนาคารอาหารริมคลองครั้งที่ 3

    วันที่ 10 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    9.00-10.00 ลงทะเบียน

    10.30-12.00 นายภานุทัฑกล่าวเปิดประชุมและติมตามแผนผลการดำเนินงานของโครงการ

    13.00-16.00 ร่วมกันปลูกป่า

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลลัพธ์ 1. ผู้เข้าร่วม - คณะทำงานโครงการ 15 คน - เด็กเยาวชน 30 คน - ตัวแทนองค์กร หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง15 คน -ตัวแทนครัวเรือน 40 คน

    1. ได้แบ่งกลุ่มในการปลูกป่าเพิ่มและสร้างธนาคารริมคลอง

    ปลูกป่าเพิ่มครั้งที่360 คน ที่ป่าตอยหอยบริเวณริมคลองตอยหอย และปลูกพืชอาหารตามกลุ่มบ้านและชุมชนตามที่ราบ เชิงเขา ปลูกแซม ผักกูด มะละกอ กล้วย ไผ่ตง ไผ่หวาน ริมคองตอยหอยเพื่อชุมชนได้นำมาปรุงอาหารปลอดภัย

    แผนการดำเนินงาน

    นัดประชุมและร่วมทำกิจกรรมในกิจกรรมต่อไป

     

    100 60

    60. งานสร้างสุขภาคใต้

    วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เพื่อเป็นแนวทางในการทำงานโครงการ 12.00-13.00 น. รับชมการแสดงโขน 13.00-14.00น. ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลาเป็นประธานเปิดงาน 14.00-16.00น. เดินชมการจัดซุ้มตามกลุ่มตำบล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เรียนรู้การทำโครงการชุมชนน่าอยู่ในประเด็นต่าง ๆ เห็นจุดแข็งที่ทำให้โครงการประสบความสำเร็จ และสามารถนำไปปรับใช้ในชุมชนได้

     

    2 2

    61. ลาดตระเวณเฝ้าระวังป่า ครั้งที่ 12

    วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • คณะทำงานและทีมเยาวชนพร้อมกัน ณ จุดนัดหมาย
    • วางแผนการเดินเฝ้าระวังเส้นทาง
    • แบ่งบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ
    • วางเป้าหมายการเดินเฝ้าระวัง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต
    เด็กและเยาวชนจำนวน 30 คน ร่วมกันเดินป่าโหล๊ะมังคุด

    ผลลัพธ์

    จากการเฝ้าระวังตลอดเส้นทางการเดิน พบว่า พันธ์ุไม้บริเวณเขตอนุรักษ์ของชุมชนมีการเจริญเติบโตขึ้น เด็กและเยาวชนได้เห็นภาพของจริงของป่าต้นน้ำและมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาเพื่อให้มีป่าอยู่คู่กับชุมชน จะได้มีนำ้ไหลตลอดปี  ป่าไม้ ป่าต้นน้ำที่ยังอุดมสมบูรณ์มากก็มีน้ำไหลออกมาจากหุบเขาและใต้ต้นไม้ใหญ่ อากาศเย็นสบายไม่ร้อน มีป่านอกจากมีน้ำและอากาศดีด้วย

     

    30 30

    62. ติดตามผลการดำเนินงานโครงการภาพรวมประจำงวดที่ 2

    วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    09.00-16.00 น. ร่วมรับฟังคำแนะนำของพี่เลี้ยงเจ้าหน้าที่การเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต ร่วมรับฟังคำแนะนำของพี่เลี้ยงเจ้าหน้าที่การเงิน

    ผลลัพธ์   พี่เลี้ยงแนะนำเพิ่มเติมบางกิจกรรม

     

    2 2

    63. จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    วันที่ 15 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เจ้าหน้าที่สจรส. ได้ตรวจสอบรายงานและได้ให้คำแนะนำในการแก้ไข จนสามารถจัดทำรายงานได้ถูกต้อง

     

    2 2

    64. จัดทำภาพกิจกรรม

    วันที่ 15 ตุลาคม 2559 เวลา 11:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ สรุปรวบรวมเอกสาร ภาพถ่าย ที่เส็ดสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต คณะทำงานร่วมกันจัดทำภาพกิจกรรมโครงการ ผลลัพธ์ จัดทำภาพถ่ายกิจกรรมเพิ่มเติมให้โครงการสมบูรณ์

     

    2 2

    65. ประชุมจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    วันที่ 15 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำข้อมูล เอกสาร ภาพถ่าย ฉบับสมบูรณ์ ให้พี่เลี้ยงตรวจสอบความถูกต้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    เอกสารที่พี่เลี้ยงตรวจสอบถูกต้องตามกระบวนการ

     

    2 2

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อหนุนเสริมให้เด็กและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดระบบการจัดการป่าต้นน้ำของชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. มีการพัฒนาฐานข้อมูลป่าต้นน้ำของชุมชน 2. มีระบบการเฝ้าระวังไม่ให้มีการทำ ลายเพิ่มขึ้น 3. มีการเพิ่มพื้นที่ป่าต้นน้ำเน้นในด้านพืชอาหาร 4. มีเด็กและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการป่าต้นน้ำ

    มีชุดอาสาสมัคร และเยาวชนเกิดขึ้น 1 กลุ่ม

    2 เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลป่าต้นน้ำของชุมชนให้มีความพร้อมในการเรียนรู้และวางแผน
    ตัวชี้วัด : 1. มีข้อมูลจำแนกพันธ์ไม้ออกเป็น สูญพันธ์ เสี่ยง หายาก เพื่อประกอบในการวางแผนฟื้นฟู เฝ้าระวังป้องกัน 2. คณะทำงานมีความรู้ในการทำฝายมีชีวิต/การจัดการป่า 3. มีแผนที่แสดงเขตป่า และแบ่งเขตการเฝ้าระวัง 3 เขต

    มีการจัดทำฝายร่วมกันจำนวน 3 จุด เกิดเป็นการอนุรักษ์ป่าต้นน้ำร่วมกัน

    3 เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เข้ามามีส่วนร่วมปฏิบัติการในการจัดการป่าต้นน้ำ
    ตัวชี้วัด : 1. มีชุดลาดตระเวณเฝ้าระวังการทำลายป่า 3 ชุด 3 เขตพื้นที่ 2. มีฝายเก็บน้ำ 3 แห่ง 3. มีพันธ์ไม้เพิ่มขึ้น 1500 ต้น 4. มีสื่อประกอบการเรียนรู้และแสดงนิทรรศการ 1 ชุด 5. มีเด็กและเยาวชนเข้าร่วมจัดตั้งเป็นกลุ่มรักษ์ป่า จำนวน 50 คน
    • มีการลาดตระเวณแต่ไม่ต่อเนื่อง
    • มีการรวบรวมพันธ์ไม้บ้างแล้วบางส่วน
    • มีกลุ่มเด็กและเยาวชนเข้าร่วมเรียนรู้ในเกือบทุกกิจกรรมที่ผ่านมา
    4 เพื่อพัฒนาศักยภาพสภาหมู่บ้านในการบริหารจัดการโครงการและเป็นกลไกในการพัฒนาหมู่บ้าน
    ตัวชี้วัด : 1. มีกลไกในการบริหารจัดการชุมชนโดยรูปแบบสภาหมู่บ้าน - สภาหมู่บ้านมีการประชุมทุกเดือน - ในการประชุมแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบ - ในการประชุมแต่ละครั้ง มีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน - คณะทำงานที่ร่วมกันรับผิดชอบการดำเนินงานตามโครงการ จำนวน 15 คน
    • มีการประชุมประจำเดือนและสภาฯทุกเดือน
    5 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
    ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
    • สามารถเข้าร่วมได้ตามที่กำหนดไว้
    • จัดทำป้ายพร้อมเขตปลอดบุหรี่ที่ศาลาที่ประชุมหมู่บ้าน

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อหนุนเสริมให้เด็กและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดระบบการจัดการป่าต้นน้ำของชุมชน (2) เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลป่าต้นน้ำของชุมชนให้มีความพร้อมในการเรียนรู้และวางแผน (3) เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เข้ามามีส่วนร่วมปฏิบัติการในการจัดการป่าต้นน้ำ (4) เพื่อพัฒนาศักยภาพสภาหมู่บ้านในการบริหารจัดการโครงการและเป็นกลไกในการพัฒนาหมู่บ้าน (5) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ สร้างครัวคนห้วยยวนด้วยธนาคารริมคลอง (ต่อเนื่อง)

    รหัสโครงการ 58-03932 รหัสสัญญา 58-00-1922 ระยะเวลาโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    ฝายมีชีวิตเป็นกระบวนการเปลี่ยนวิธีคิดจากการพัฒนาที่เอาเงินนำ เป็นสร้างปัญญาก่อน แล้วเงินตามมาทีหลังเขามองว่าฝายมีชีวิตจะต้องไม่เริ่มต้นจากงบประมาณเด็ดขาด เพราะเชื่อว่า ที่ใดเริ่มจากงบประมาณ ก็จะจบตั้งแต่วันเริ่มทำโครงการ ฝายมีชีวิต คำตอบทางวิชาการของชุมชน ผ่านเวทีประชาเข้าใจ ที่เปิดให้ทุกคนในชุมชนร่วมสร้างความเข้าใจ เรียนรู้ เรื่องดิน น้ำ ป่า ตัดสินใจบนพื้นฐานความถูกต้อง กระบวนการนี้เริ่มต้นจากความต้องการแก้ไขปัญหาน้ำของชุมชนเอง จากนั้นวางแผน เมื่อประชาลงมือแล้ว ขาดเหลืออะไร อาจารย์ศักดิ์พงษ์ ชี้ว่า เมื่อนั้นรัฐถึงจะเข้ามาช่วยทีหลัง "โครงการสร้างฝายมีชีวิต เป็นการยกระดับน้ำเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้งซ้ำซาก และชะลอน้ำมิให้กระแสน้ำไหลหลาก ลดความรุนแรงของการกัดเซาะ นอกจากนี้ ฝายมีชีวิตจะช่วยพยุงเศษซากพืช ซากสัตว์ ไม่ให้ถูกพัดพาลงสู่แหล่งน้ำตอนล่างหมด ช่วยให้คุณภาพน้ำตอนล่างดีขึ้น ขณะที่ซากสัตว์ต่างๆ ที่ถูกพยุงไว้ ก็จะเป็นอาหารให้กับสัตว์น้ำ" dam3 หัวใจหลักของการทำฝายมีชีวิต นอกจากเป็นโครงสร้างสีเขียว 100% ไม่ใช้สิ่งแปลกปลอมธรรมชาติ เช่น เหล็ก หรือปูน แล้วโครงสร้างฝายมีชีวิต ยังแตกต่างจากฝายอื่นๆ หรือเขื่อนๆ โดยฝายโดยทั่วไปทำโครงสร้างสี่เหลี่ยม พอน้ำมาก็มาตีและทรายก็กองอยู่หน้าฝาย ยิ่งนานๆ เข้าก็จะตื้นเขินขณะที่ปลาว่ายน้ำมา ชนเขื่อน ชนฝายที่มีโครงสร้างแข็ง นี่คือการทำลายระบบนิเวศน์ ที่ผู้นำชุมชนท่านนี้อธิบายให้เห็นภาพถึงความแตกต่าง ฉะนั้น โครงสร้างฝายมีชีวิต เป็นการแก้ไขฝายที่มีอยู่แล้วให้สมบูรณ์ ส่วนประกอบสำคัญ เช่น -“บันไดนิเวศน์” อยู่ด้านหน้าและด้านหลังฝาย แก้ปัญหาการตื้นเขินที่หน้าฝายได้ ตลอดจนสัตว์น้ำทุกชนิดสามารถผ่านตัวฝายได้ ตัวฝายกั้นน้ำ ใช้วัสดุธรรมชาติ คือ ทราย ขุยมะพร้าว มูลสัตว์ ผสมเข้ากันและบรรจุใส่กระสอบวางเรียงซ้อนกันเพื่อให้เป็นกำแพงกั้นชะลอน้ำ ลำไผ่ ตัวโครงปักฝังลงไปในลำคลองเสมือนเสาเข็มเป็นแนวผูกด้วยเชือกยึดโยงกระสอบที่กั้นน้ำไว้แข็งแรง หูช้าง เป็นแนวกำแพงยาวยื่นไปตามริมตลิ่งทั้งเหนือฝาย ตลอดจนใต้ฝาย และใช้กระสอบทรายผสมเช่นเดียวกัน ซึ่งจะเป็นอาหารให้กับต้นไม้ที่นำมาปลูกกับหูช้างได้เป็นอย่างดี เช่น ต้นไทร มะเดื่อ ไม้ไผ่ จิกน้ำ ภูมิปัญญาบรรพบุรุษ บอกให้เรารู้ว่า ต้นไทรมีระบบรากยาวได้ถึง 500 เมตรถ้าไม่มีน้ำให้กิน แต่จะหยุดทันทีที่เจอน้ำ และก่อนจะไปถึงน้ำ รากไทรก็จะทำหน้าที่ยึดหน้าดิน ยึดตลิ่งเอาไว้ไม่ให้ทรุดตัวได้ง่ายๆ “การนำไม้ไผ่มาปักเป็นเสา จะอยู่ได้ประมาณ 20 ปี แต่เมื่อมีการนำหลักคิดรากไทรสร้างสายน้ำ ปลูกบริเวณหูช้างเพื่อให้รากไทรคลุมฝายมีชีวิตนั้น รากไทรจะเจริญเติบโตเป็นตัวฝายที่มีชีวิตต่อไป มีอายุนานเป็นร้อยๆปี และยังเป็นที่อยู่ของปลาและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ” ผู้นำปฏิบัติการสร้างฝายมีชีวิต เห็นว่าบ่อน้ำอย่างเดียวไม่เคยเก็บน้ำได้ ดังนั้น ในสมัยโบราณทุ่งนาทุกทุ่ง จะเห็นบ่อน้ำ ต้องมีต้นไทรอยู่ด้วยเสมอ และแม้แต่ฤดูแล้งที่สุดรากไทรก็สร้างสายน้ำให้เราด้วย "การทำฝายมีชีวิต เป็นการยกระดับน้ำขึ้นระดับหนึ่งเท่านั้น เพื่อช่วยชะลอน้ำ เป็นฝายน้ำล้น น้ำจะไหลผ่านฝายตลอดเวลา แตกต่างจากกระแสพัฒนาสมัยใหม่ ฝายของชลประทาน นอกจากโครงสร้างแข็ง ทำด้วยปูน เหล็ก ยังทำสูง ปิดเปิดน้ำเป็นเวลา จึงทำให้น้ำนิ่ง น้ำจะตาย กลายเป็นน้ำเน่าในที่สุด" อาจารย์ศักดิ์พงษ์ ชี้ว่า นี่คือการทำลายระบบนิเวศน์มาอย่างต่อเนื่อง ฝายมีชี

    บ้านห้วยยวนเหนือ

    ขยายผลทั้งในและนอกชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

    บ้านห้วยยวนเหนือ

    ขยายผลทั้งในและนอกชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

    ขยายผลทั้งในและนอกชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

    รายงานในเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข

    ขยายผลทั้งในและนอกชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    รักษาความต่อเนื่อง สืบทอดรุ่นต่อรุ่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    ขยายผลทั้งในและนอกชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    มีอาหารปลอดภัยเพิ่มขึ้นในชุมชน

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    ขยายผลทั้งในและนอกชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    ขยายผลทั้งในและนอกชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

    การเข้าร่วมจัดการกิจกรรมตามแผนของชุมชนทำให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีของคนในชุมชน ต้องช่วยกันจัดการ เป็นการผ่อนคลายความเครียด

    รายงานในเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข

    ขยายสู่ประเด็นอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    การเพิ่มพื้นที่พืชอาหารในชุมชนในบริเวณชายคลองและในป่าชุมชน

    รายงานในเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข

    ขยายผลทั้งในและนอกชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

    การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆของชุมชนทำให้ครวเรือนแต่ละครวเรือน ต้องจัดสรรเวลาเพื่อให้สามารถเข้าร่วมกิจกรรมนี้ อีกทั้งยังเกิดการจัดแบ่งงานที่ทำออกตามความถนัดของแต่ละคน

    ครัวเรือนในบ้านห้วยยวนเหนือ

    ขยายผลสู่ประเด็นอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    โครงการนี้มีเป้าหมายในการจัดการป่าชุมชน และปลูกจิสำนึกของคนให้รักป่า

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    ขยายผลทั้งในและนอกชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

    เกิดการสร้างพื้นที่และกิจกรรมให้คนทุกวัยได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมตามโครงการ

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    ขยายผลสู่ประเด็นอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    การเพิ่มพืชอาหารริมคลอง ในป่า เป็นการสร้างอาหารเพิ่มในชุมชน

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    รักษาและขยายผลในชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

    มีกฏกติกาของชุมชนในการดูแลป่า เช่นการห้ามแผ้วถางป่าเพิ่ม

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    บังคับใช้และสร้างมาตรการเพิ่มเติม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีองค์กรทั้งภายในและภายนอกที่เข้ามาช่วยกันทำฝายฯ

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    ขยายผลทั้งในและนอกชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

    การร่วมคิดร่วมวิเคราะห์ร่วมวางแผนและร่วมดำเนินการตามแผนในโครงการนี้

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    ขยายผลสู่ประเด็นอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    การดำเนินงานตามโครงกาต้องระดมทุนคน ทุนสมอง ทุนเวลา ทนทรัพย์ ของคนทั้งในและนอกชุมชนเข้ามาร่วมกันดำเนินงาน

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    ขยายผลสู่ประเด็นอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

    สามารถดำเนินงานตามโครงการอย่างต่อเนื่องจนสามารถปิดโครงการได้ และยังมีการดำเนินงานต่อเนื่องจากโครงการต่อไป

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    ขยายผลสู่ประเด็นอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    การไปเรียนรู้จากภายนอก ได้รับความรู้ใหม่และนำมาปรับใช้และใช้ในชุมชน และการดำเนินงานตามโครงการนี้ ทำและสรุปผลเป็นช่วง นำเอาผลของการสรุปมาปรับการดำเนินงานในช่วงต่อไป

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    ขยายผลสู่ประเด็นอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    การสำรวจพันธ์ไม้ การจัดทำเวทีระดมความเห็นการวิเคราะห์สาเหตุการเปลี่ยนแปลงฯล้วนเป้นการพัฒนาทักษะของคนในชุมชน

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    ขยายผลสู่ประเด็นอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    ภูมิใจที่สามารถทำฝายมีชีวิตได้สำเร็จ เป็นอันดับหนึ่ง

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    ให้รางวัลและเสริมแรงจูงใจ ยกย่องคนทำดี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆในโครงการ ของคนหลากหลายกลุ่ม

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    ให้รางวัลและเสริมแรงจูงใจ ยกย่องคนทำดี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    การเพิ่มพื้นที่สีเขียว มีพืชอาหารเพิ่มขึ้น การจัดการน้ำโดยชุมชน การร่วมมือกันดำเนินงานตามโครงการ ล้วนเป็นเรื่องของตนเอง เรื่องของตนเองเรื่องของชุมชน

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    ให้รางวัลและเสริมแรงจูงใจ ยกย่องคนทำดี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    ความช่วยเหลือ ความร่วมมือกันในการดำเนินงานตามโครงการ

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    ให้รางวัลและเสริมแรงจูงใจ ยกย่องคนทำดี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    การใช้ข้อมูลการระดมความคิดเห็น การวิเคราะห์ถึงสาเหตุแห่งปัญหา การวางแผนและการดำเนินงานตามโครงการ การติดตามผลการดำเนินงานตามโครงการ

    คณะทำงานบ้านห้วยยวนเหนือ

    ขยายผลสู่การดำเนินงานในประเด็นอื่น

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    สร้างครัวคนห้วยยวนด้วยธนาคารริมคลอง (ต่อเนื่อง) จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ 58-03932

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นาย ภานุทัฑ มูสิกะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด