แบบติดตามประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation)

ชื่อโครงการ บ้านเขาแดงร่วมใจเป็นชุมชนไร้ถังขยะ

รหัสโครงการ 61-01865 ระยะเวลาโครงการ 15 พฤศจิกายน 2018 - 30 กันยายน 2019

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้

1. ข้อมูลชุมชนใดบ้างที่มีและที่ใช้ข้อมูลในการดำเนินโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะกาย

ปริมาณการเกิดไข้เลือดออก ปี 2660  จำนวน 33 ราย ปริมาณการเกิดไข้เลือดออกปี 2561  จำนวน  1 ราย ปริมาณการเกิดไข้เลือดออกปี 2562  จำนวน  3 ราย

รพสต.บ้านเขาแดง ต.พญาขัน อ.เมือง

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะจิต

 

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
3. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะสังคม

 

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
4. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะปัญญา

 

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
5. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะปัจเจก

 

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
6. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะครอบครัว

 

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
7. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะชุมชน

 

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
99. อื่นๆ

 

 

2. การดำเนินโครงการนี้สอดคล้องกับแผนเดิมหรือมีการทบทวนแผนที่มีอยู่เดิมต่อไปนี้อย่างไร

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. แผนชุมชน

ใช้ข้อมูลสถานการณ์ปริมาณขยะของชุมชน 9 ตันต่อเดือนก่อนเริ่มโครงการ มีเป้าหมายลดขยะในชุมชน อย่างน้อยร้อยละ 50 และใช้ประโยชน์จากขยะอย่างน้อยร้อยละ 40

ข้อมูลจากการแผนชุมชน

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. แผนของท้องถิ่น

ข้อมูลจำนวนถัง ขยะ จำนวน 108 ถัง ในหมู่ที่ 5 รายจ่าย 20 บาท ต่อครัวเรือนจ่ายให้เทศบาลพญาขันธ์จากการเก็บขนขยะ ชุมชนมีเป้าหมายลดขยะในครัวเรือนร้อยละ 80 และคืนถังขยะให้ทางเทศบาลอย่างน้อยร้อยละ 50

เทศบาลพญาขันและแผนของชุมชน

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
3. แผนของหน่วยงานราชการ
  • แผนของรพสต.เน้นให้อสม.เป็นคนต้นแบบในการจัดการขยะ ลด ไข้เลือดออกในชุมชน
  • โรงเรียนวัดเขาแดง สร้างจิตสำนึกคัดแยกขยะ สร้างธนาคารขยะในโรงเรียน
  • แผนรพสต. จากรายงานการประชุมคณะทำงานร่วม
  • รายงานการประชุมร่วมของสภาผู้นำที่มี ผอ.โรงเรียนเป็นคณะทำงาน และภาคีร่วม
มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
99. แผนอื่นๆ

แผนของ รพสต/แผนของกองทุนสวัสดิการ

แผนสุขภาพ ของ รพสต แผนพัฒนาของกองทุนสวัสดิการตำบล

3. ทุนของชุมชนที่มีส่วนสำคัญต่อการดำเนินงานของโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในชุมชน

สวนป่าของวัดเขาแดงออก ใช้ร่วมกิจกรรมเรียนรู้และกิจกรรมณรงค์

การร่วมกิจกรรมของชุมชน

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. วัฒนธรรม วิถีชีวิตที่มีอยู่ในชุมชน

วัฒนธรรมการช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน ระหว่าง วัดกับชุมชน โรงเรียนกับชุมชน รพสตกับชุมชน และเทศบาล

แผนชุมชน

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
3. ภูมิปัญญาที่มีอยู่ในชุมชน

จิตอาสาพัฒนาสถานที่สาธารณะ เช่น วัด โรงเรียน และชุมชน(ภูมิปัญญา)

วัดเขาแดงออก/แหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตร

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
4. เศรษฐกิจของชุมชน

การท่องเที่ยวชุมชน OTOP นวัตวิถี

แผนชุมชน/กลุ่มผลิตภัณฑ์สินค้าโอท๊อป

4. คน กลุ่มคน เครือข่ายสำคัญที่มีส่วนร่วมในโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. คน กลุ่มคน เครือข่ายที่เป็นภาคีหลัก (หมายถึงแกนนำที่เป็นผู้ปฏิบัติการของโครงการ)

-แกนนำคนสำคัญ เช่นผู้ใหญ่ ผู้ช่วย อสม
-กลุ่ม อสม กลุ่มจิตอาสา -โรงเรียน เทศบาล

ภาพกิจกรรม กิจกรรมรณรงค์ รายงานการประชุม

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. คน กลุ่มคน เครือข่ายที่เป็นภาคียุทธศาสตร์ (หมายถึงแกนนำที่เป็นผู้ผลักดัน หรือมีอิทธิพลต่อความสำเร็จของโครงการ)

คนของเทศบาลพญาขันธ์ ได้แก่ ท่านนายก หัวหน้ากองสาธารณะสุข นักพัฒนาชุมชน ผม รพสต

แผนชุมชน/แผนของเทศบาล /แผนของรพสต

5. งบประมาณและทรัพยากร

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. งบประมาณ

งบจากหลายหน่วยงาน - เทศบาล
- กองทุนสวัสดิการ - พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

เทศบาล การจัดเก็บขยะ สปสช รพสต
พมจ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. ทรัพยากรอื่นๆ

การมีส่วนร่วมของกลุ่ม องค์กร  เช่น อสม อพม จิตอาสา

แผนชุมชน