directions_run

ฟื้นเลให้สมบูรณ์ด้วยเขตอนุรักษ์ พื้นที่ทะเลสาบสงขลาตอนกลาง จ.พัทลุง

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
เวที่การประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ 10 ธ.ค. 2561 10 ธ.ค. 2561

 

ประชุมคณะทำงานผู้เข้าร่วมประชุม เพื่อทบทวนและสร้างความเข้าใจรวมบริหารการจัดการพร้อมบทบาทภาระกิจการทำงานของแต่ละฝ่ายให้สอดคลองกับเป้าหมายของโครงการ

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง -คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจในเป้าหมายวัตถุประสงค์โครงการ ตัวชี้วัด ตลอดถึงการบริหารการจัดการโครงการและบทบาทภาระกิจของคณะทำงานแต่ละฝ่ายสามารถปฎิบัติภาระกิจของตัวเองได้ ผลผลิต -คณะทำงานเข้าร่วมประชุมจำนวน 15 คน ครอบคลุมตามบทบาทฝ่ายการทำงานในการบริหารจัดการโครงการ ผลลัพธ์ -คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจเป้าหมาย วัตถุประสงค์ในการขับเคลื่อนโครงการตลอดถึงการบิหารจัดการที่เชื่อมโยงกับตัวชี้วัดและสามารถนำไปปฎิบัติและบอกเล่ากับคณะทำงานได้ ผลสรุปที่เกิดขึ้นจากการทำกิจกรรม คณะทำงานจำนวน 15 คน มีความรู้ความเข้าใจเป้าหมายวัตถุประสงค์โครงการตลอดถึงการมีร่วมบริหารจัดการให้ขับเคลื่อนไปได้ภายใต้ผลลัพธ์และตัวชี้วัดภายใต้การทำงานตามบทบาทภาระกิจหน้าที่ของแต่ละฝ่าย

 

เวที่การประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ 10 ม.ค. 2562 10 ม.ค. 2562

 

เวทีประชุมคณะทำงานโครงการและผู้เกี่ยวข้องผู้เข้ารวมประชุม 15 คน เพื่อทบทวนและสร้างความเข้าใจรวมบริหารการจัดการพร้อมบทบาทภาระกิจการทำงานของแต่ละฝ่ายให้สอดคลองกับเป้าหมายของโครงการ

 

ผลผลิต -ประชุมคณะทำงานผู้เข้ารวมประชุมครบ จำนวน 15 คน ผลลัพธ์ -คณะทำงานรับรู้ เข้าใจถึงกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนโครงการ สามรถนำไปปฎิบัติในการขับเคลื่อนโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลที่เกิดขึ้นจริง -คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการบริหารการจัดการโครงการและบททาบภาระกิจของแต่ละฝ่ายสามารถปฎิบัติภาระกิจของตัวเองได้

 

จัดทำขอมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลาง 15 ม.ค. 2562 15 ม.ค. 2562

 

จัดเก็บข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำในพื้นที่นเวศน์ทะเลสาบตอนกลางซึ่งเป็นพื้นทีที่ชาวประมงทำมาหากินในบริเวณดังกล่าวโดยใช้แบบสอบถามข้อมูล จำนวน 100 ชุด ในการหาข้อมูลแบ่งทีมรับผิดชอบในการทำแบบสอบถามและมีช่วงเวลาที่ชัดเจนในการนัดประชุมงานแต่ละครั้งเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนพร้อมที่จะนำไปใช้ในการวิเคราะห์นำเสนอข้อมูลให้สมาชิกในชุมชนได้รับรู้ พร้อมที่จะนำไปใช้ในการวางแผนการทำงมนของชุมชนในโอกาศต่อไป

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง ได้จัดเก็บข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำในพื้นที่ชุมชนนเวศน์ทะเลสาบตอนกลาง จังหวัดพัทลุง ผลผลิต-ได้ข้อมูลชนิดพันธุ์สัตว์น้ำที่ชาวประมงหากินได้ในพื้นที่ จำนวน 21 ชนิด เช่น ปลาหัวโม่ง ปลาชะโด ปลานิล ปลาดุกทะเล ปลาขี้ต้ง ปลากระเบน ปลากระบอก ปลากะพง ปลาวัว ปลาขี้เกะ ปลา ล่าปัง ปลาแมว ปลาช่อน ปลาซิวไม้ไผ่ ปลากะพงหิน กุ้งก้ามกราม กุ้งหัวแข็ง กุ้งหัวมัน กุ้งกุลาดำ กุ้งเคย และจำนวนเรือชาวประมงที่ทำมาหากินในพื้นที่ จำนวน 213 ลำ ซึ่งเป็นเรือหางยาว ขนาด ก้วาง 1.5 ยาว 12เมตร ใช้เครื่อง ฮอนด้า 13 แรงม้า ผลลัพธ์- แกนนำและสมาชิกในชุมชนได้รู้สถานการณ์ ชนิพันธุ์สัตว์น้ำที่จับได้ในพื้นที่นิเวศน์ทะเลสาบตอนกลาง อ ปากพะยูน ตลอดถึง จำนวน และประเภทเรือที่ชาวประมงในชุนชนใช้ทำมาหากินในพื้นที่บริเวณดังกล่าว พร้อมทั้สามารถนำข้อมูลไปบอกเล่าขยยายผล ห้กับสมาชิกคนอื่นๆในชุมชนได้ ผลที่เกิดขึ้นจริง คนในชุมชน ได้รับรู้สถานการณ์ นำนวนเรือประมงที่ใช้ในการทำมาหากิน ตลอดถึงชนิดพันธุ์สัตว์น้ำที่จับได้ในชุมชนที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับเครื่องมือที่ใช้ทำมาหากินในพื้นที่ดังกล่าวที่นำไปสู่การวิเคราะห์การทำแผนฟื้นฟูทะเลและชายฝั่งในอนาคต

 

เวทีพูดคุยทำความเข้าใจสถานการณ์ปัญหาของทะเลสาบสงขลาตอนกลาง (เวทีเปิดโครงการ) 30 ม.ค. 2562 30 ม.ค. 2562

 

1.ทำความเข้าใจและบอกเล่าที่มา เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตลอดถึงรายละเอียดการบริหารจัดการโครงการ ที่มีเป้าหมายในการฟื้นควาอุดมสมบูรณ์ของทะเลสาบรวมถึงการทำความเข้าใจสถานการณ์ของทะเลสาบ โดยมีวิทยากรที่มีความรู้เรื่องการทำงานด้านการอนุรักษ์ฟื้นฟู มาให้ความรู้ 2.ประชุมคณะทำงานโครงการ หน่วยที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมแสดงความคิดเห็นหาวิธีการที่จะฟื้นฟูทะเลสาบตลอนกลาง ที่่ต้องมีอาสาสมัครชาวประมงทำหน้าที่เป็นตัแทนในการตรวจตราเขตอนุักษ์

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง ได้ทำความเข้าใจสถาณการณ์ของทะเลสาบและบอกเล่าที่มาเป้าหมายวัตถุประสงค์พร้อมถึงความสำคัญของประมงอสาที่มาจากชาวประมงในชุมชนอาสาเข้ามาเพื่อตรวจตราเขตอนุรักษ์ ผลผลิต - มีชาวประมงสมัครใจที่เข่าร่วมเป็นอาสมสมัครจำนวน 5 พื้นที่พื้นที่ละ15 คน รวมจำนวน 75 คน ที่มีความสนใจอาสาเข้ามามีสส่วนร่วมในกาดุแลรักาาทะเล ผลลัพธ์- แกนนำและประมงอาสาจำนวน 75 คนมีความรู้ความเข้าใจในการทำหน้าที่เป็นประมงอาสาออกตรวจตราเขตอนุรักษ์โดยมีแผนงานที่ชัดเจนและเป็นที่ยอมรับของคนในชุมชน ผลสรุปสำคัญของกิจกรรม - ผู้เข้าร่วมตลอดถึงแกนนำชาวประมงในชุมชนมีความรูความเข้าใจถึงเป็าหมายการดำเนินโครงการตลอดถึงสถานการณ์ปัญหาทะเลสาบพร้อมทั้งร่วมหาแนวทางในการแก้ไขฟื้นฟูทะเลสาบโดยมีประมงอาสาทำหน้าที่ในการตรวจตราเขตอนุรักษ์ ทั้ง 5 ชุมชน จำนวน 75คน

 

กิจกรรมสมัครประมงอาสาเพื่อทำความเข้าใจบทบาทหน้าที่ของประมงอาสา 31 ม.ค. 2562 31 ม.ค. 2562

 

ประชุมคณะทำงานกรรมการแลแกนนำประมงอาสา 1.ทบทวนคณะกรรมการ/กลไกโครงสร้าง 2.วัตถุประสงศ์ 2.1 ต้องการให้ชุมชนมีสว่นร่วมในการรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้ม 2.2 เพื่อประสานความร่วมมือกับภาคีต่างๆในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 2.3 เพื่อสงเสริมอาชีพประมงที่ยั่งยืนเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและผู้บริโภค 3. ระเบียบข้อบังคบสมาคมฯ 4. ที่ทำการสมาคมฯ/สถานที่ติดต่อ/ที่อยู่ คณะกรรมการ สมาคม ชาวประมงรักษ์ทะเลสาบตอนกลาง จังหวัด พัทลุง ชุดก่อตั่ง 1.นาย น้อย แก่นแท่น นายกสมาคมฯ 2.นาย สมปอง เก่งแก้ว อุปนายก 1 3. นาย สุเดน พรรณราย อุปนายก 2 4. นาย อวบ ชูปู นายทะเบียน 5. นาง วรรณดี ทิพภักดี เลขานุการ 6. นาย อุเส็น หมัดหีม เหรัญญิก 7. นาง หนูเล็ก มูสิกะสา ประชาสัมพันธ์ 8. นาย คลิ้ง ดำสุ้น กรรมการ 9 นาย อนันต์ คงจันทร์ ปฎิคม 10. นาย หมัดอาหลี วีมาคะ กรรมการ 11. นาย สมชาย นิยมเดชา ผู้ช่วยเลขานุการ ที่ปรึกษา 1. นาย สุรสิทธ์ สุวรรโร ผุ้ใหญ่บ้าน ม.6 2.นาย เจริญ สุวรรณเจริญ ผุ้ใหญ่บ้าน ม. 8 3. นา ยสมชาย ชอบงาม ผุ้ใหญ่บ้าน ม.14 4. นาย สมใจ ดิษฐ์สุวรรณ ผุ้ใหญ่บ้าน ม.11 5. นาย ดนัย ด้วงแก้ว ผุ้ใหญ่บ้าน ม.1 6. นาย อูสัน แหละหีม นายกสมาคมรักษ์ทะเลสาบอ.ปากพะยูน จ.พัทลุง 7. นาง เบญจวรรณ เพ็งหนู เจ้าหน้าทีรักษ์ทะเลไทย

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง ได้ประมงอาสาที่เข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตัวเอง ผลลัพธ์ ที่เกิดจริง

 

เวทีคืนข้อมูลชุมชน -จัดทำร่างแผนการดำเนินงานของแต่ละชุมชน-คืนข้อมูลชนิดพันธ์ส้ตว์น้ำและเครื่องมือประมง 3 ก.พ. 2562 3 ก.พ. 2562

 

นำเสนอและจัดทำแผนอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งแต่ละพื้นที่ นำเสนอร่างข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำ และเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลาง จัดทำข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลางย้อนหลัง 10 ปีเพื่อนำไปสู่การเผยแพร่ตลอดถึงออสามัครทำหน้าที่ในการดูแลเขตแต่ละพื้นที่

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง จัดทำแผนการอนุรักษ์ฟื้นฟูแต่ละพื้นที่ รวม 5 พื้นที่พร้อมทั้งจัดทำต้นฉบับข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลางย้อนหลังปีเพื่อนำไปสู้การเผยแพร่โดยมีคณะทำงานรับผิดชอบที่ชัดเจน ผลผลิต- ได้มีการจัดทำแผนฟื้นฟูและแนวเขตอนุรัก์ที่ชัเจน ทั้ง 5 พื้นที่ พร้อม ระมงอาสา พื้นที่ละ 15 คน ทำหน้าที่ในการตรวจตราดูแลเขตอรชนุรักษ์ของแต่ละชุมชน ผลลัพธ์ - ผู้เข้าร่วมสามรถบอกเล่าแผนการฟื้นฟูทรัยากรชายฝั้งได้ตลอดึงมี ระมงอาสาทำหน้าที่ออกตรวจตราดูแลเขตอนุรักษ์ของตัวเองอย่างชัดเจน ผลสรุปที่ได้จากกิจกรรม. - ทั้ง5 ชุมชนมีแผนการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรพร้อมอาสาสมัครทำหน้าที่ในการออกตรวจตราดูแลเขตอย่างชชต่อเนื่องชัดเจน

 

เวที่ประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ 10 ก.พ. 2562 10 ก.พ. 2562

 

เวทีประชุมคณะทำงานโครงการและผู้เกี่ยวข้องผู้เข้ารวมประชุม 15 คน เพื่อทบทวนและสร้างความเข้าใจรวมบริหารการจัดการพร้อมบทบาทภาระกิจการทำงานของแต่ละฝ่ายให้สอดคลองกับเป้าหมายของโครงการ

 

ผลผลิต -ประชุมคณะทำงานผู้เข้ารวมประชุม15 คน ผลลัพธ์ -คณะทำงานรับรู้ เข้าใจถึงกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจริง -คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการบริหารการจัดการโครงการและบททาบภาระกิจของแต่ละฝ่ายสามารถปฎิบัติภาระกิจของตัวเองได้

 

เวทีค้นหาจิตอาสาเพื่อเข้ามาเป็นคณะทำงานขับเคลื่อนร่วมบริหารจัดการโครงการ 13 ก.พ. 2562 13 ก.พ. 2562

 

ปรึกษาหารือแกนนำชาวประมง เรื่่อง การอนุรักษ์ฟื้ฟู ดว้ย -เขตอนุรักษ์ -บทบาทหน้าที่ประมงอาสา -การจดทะเบียนเรือ แผนกิจกรรมทำเขตอนุรักษ์ -พื้นที่เขตอนุรักษ์ ม.1 บ้านจองถนน แนวเขตยาว 2 กิโลเมตร กว้าง 150 เมตร ช่วงเวลา มีนาคม ปี 62 -พื้นที่เขตอนุรักษ์ ม.11 บ้านหัวปอ แนวเขตยาว 500เมตร กว้าง150 เมตร ช่วงเวลา มีนาคม ปี 62 -พื้นที่เขตอนุรักษ์ ม.14 บ้านคลองกะอาน แนวเขตยาว 2 ไร่ จากตะลิ่ง 1,000 เมตร ช่วงเวลา มีนาคม ปี 62 -พื้นที่เขตอนุรักษ์ ม. 6 บ้านบางขวน แนวเขตจากตะลิ่ง 500 เมตร กว้าง 3 กิโลเมตร ช่วงเวลา มีนาคม ปี 62 -พื้นที่เขตอนุรักษ์ ม.8 บ้านแหลมไก่ผู้ แนวเขตตะลิ่ง 500 เมตร กว้าง 2,000 เมตร ช่วงเวลา มีนาคม ปี 62.รับสมัครแกนนำชาวประมงและสนใจเพื่อเข้ามาทำหน้าที่หลักในการขับเคลื่อนโครงการ

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง รับสมัครแกนนำชาวประมงและผู้สนใจเพื่อเข้ามาทำหน้าที่หลักในการขันเคื่อนโครงการ ผลผลิต -

 

เก็บข้อมูลรายได้จากการทำประมงย้อนหลัง10ปี 26 ก.พ. 2562 26 ก.พ. 2562

 

คณะทำงานลงพื้นที่จัดเก็บข้อมูลรายได้ จากการทำประมงของชาวประมงในแต่ละพื้นที่ใช้แบบสอบถามในการจัดเก็บข้อมูลรายได้เศรษฐกิจในพื้นที่ ย้อนหลัง10ปี

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง คณะทำงานใช้แบบสอบถามในการจัดเก็บข้อมูล จัดทำข้อมูลรายได้เศรษฐกิจในพื้นที่ทะเลสาบสงขลาตอนกลาง ผลผลิต - การจัดเก็บข้อมูลรายได้ของชาวประมงในพื้นที่นิเวศน์ทะเลสาบรอนกลางโดยใช้แบบสอบถามและสนทนากลุ่มย่อย จำนวน 100 ชุด ผลลัพธ์ - ได้ข้อมูลลรายได้จากการประกอบอาชีพประมงที่เป็นรายได้หลักของครอบครัว เฉลี่ย วันละ 500-800 บาทต่อวัน เฉลี่ย ดือนละ12,000- 14,000 บาท สรุปผลที่สำคัญจากการทำกิจกรรม - ชุมชนมีระบบฐานข้อมูลยืนยันที่ชัดเจนที่มาจากการประกอบอาชีพประมง ซึ่งจะเป็นฐานข้อมูลที่จะนำไปเปรียบเทียบวางแผนการทำงานในอนาคตที่เชื่อมโยงกับการอนุรักษ์ฟื้นฟูในรูปแบบต่างๆที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน

 

เวที่การประชุมคณะทำงานเพื่่อขับเคลื่อนโครงการ 7 มี.ค. 2562 7 มี.ค. 2562

 

เวทีประชุมคณะทำงานโครงการและผู้เกี่ยวข้องผู้เข้ารวมประชุม 15 คน เพื่อทบทวนและสร้างความเข้าใจรวมบริหารการจัดการพร้อมบทบาทภาระกิจการทำงานของแต่ละฝ่ายให้สอดคลองกับเป้าหมายของโครงการ กำหนดทิศทางวางแผนการทำงาน

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง- มีการประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปทบทวนการทำงานที่ผ่านมาพร้อมทั้งปัญหาและข้อเสนอแนะวางแผนการทำงานในระยะต่อไปผลผลิต -ประชุมคณะทำงานผู้เข้ารวมประชุม15 คน ผลลัพธ์ -คณะทำงานรับรู้ เข้าใจถึงกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนโครงการและการหนุนเสริมอุดช่องว่งการทำกิจกรรมให้สามรถดำเสินงานไปได้ ผลที่เกิดขึ้นจริง -คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการบริหารการจัดการโครงการและบททาบภาระกิจของแต่ละฝ่ายสามารถปฎิบัติภาระกิจของตัวเองได้

 

เวทีทบทวนและปรับปรุงกติกาเขตอนุรักษ์ 11 มี.ค. 2562 11 มี.ค. 2562

 

: เวทีทบทวน กติกาขอตกลง เรื่องเขตรักษ์ -พื้ที่แนวเขตแต่ละพื้ที่ -ประมงอาสาที่มีอยู่แต่ละเขต -กติกาข้อตกลงแต่ละพื้ที่ กฏกติกาข้อตกลงพื้ที่เขตอนุรักษ์ 2 พื้นที่ 1. หมู่ที่ 8 บ้านแหลมไก่ผู้ 2. หมู่ที่ 6 บ้านบางขวน 1.กำหนดตาอวนไม่ตำ่กว่า4.5ซม. 2.ห้ามทำการประมงทุกชนิดในพื้ที่เขตอนุรักษ์(ยกเว้นช่วงมรสุม งมหอย) 3.ห้ามช็อดปลา 4.ห้ามใช้เครื่องมือผิดกฎหมายทุกชนิด (ตามประกาศกรมประมง) 5.ในกรณีทำประมงด้วยอวนล้อมกระทุ้งน้ำจะต้องทำประมงนอกเขตอนุรักษ์ 50 เมตรเป็นกันชน บทลงโทษ -พบผู้กระทำผิด ครั้งที่1 ตักเตือน ครั้งที่ 2 จับริบเครื่งมือและนำไปประมูลที่ศาลาหมู่บ้านตามราคาประมูลของเครื่องมือแต่ละชนอดภายใน1เดือน ครั้งที่3 เงินที่ได้จากการประมูลนำไปใช้ในการตรวจตราเขตอนุรักษ์

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง -ได้มีกติกาข้อตกลงชุมชนว่าด้วยเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำในพื้นทั้ง5หมู่บ้าน ผลผลิต- เกิดการทบทวนกติกาข้อตลลงชุมชในการดูแลเขตอนุรักษ์ ที่มาจากความต้องการของชุมชนและนำไปใช้ปฎิบัติจริง จำนวน 5 พื้นที่ ผลลัพธ์- สมาชิกและแกนนำชาวประมงในชุมชนและชุมชนใกล้เคียงรู้และเข้าใจในกติกาข้อตกลงพร้อมที่จะนำไปสู่ปฎิบัติการจริงได้ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม- ได้ทำความเข้าใจร่วมกันคิดและตกลงกติกาข้อตกลงในพื้นที่ของแต่ละพื้นที่และเกิดการยอมรับนำไปสู่การใช้ปฎิบัติจริงได้

 

ทำป้ายประชาสัมพันธ์กติกาข้อตกลงของเขตอนุรักษ์แต่ละพื้นที่ 20 มี.ค. 2562 20 มี.ค. 2562

 

ทำป้ายประชาสัมพันธ์กติกาข้อตกลงของเขตอนุรักษ์ของแต่ละพื้นที่ ทั้ง5พื้นที่ 1.หมู่ 6 บ้านบางขวน 2. หมู๋ 8 บ้านแหลมไก่ผู้ 3.หมู่ 11 บ้านหัวปอ 4. หมู่ 14 บ้านคลองกะอาน 5. หมู่ 1บ้านแหลมจองถนน

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง- ทั้ง5พื้นที่มีป้ายประชาสัมพันธ์และป้ายเขตอนุรักษ์ กติกาข้อตกลงชุมชนในการดูแลเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตวน้ำ ผลผลิต -แต่ละพื้นที่มีป้ายประชาสัมพันธ์ 1 ป้ายใหญ่ ป้ายเขตอนุรักษ์ 2 ป้าย ผลลัพธ์ - ประชาชนคนในพื้นที่ได้รับรู้ถึงข้อกำหนดกฎกติกาและสามารถนำไปปฎิบัติและบอกเล่าสมาชิกทั้งในแลนอกชุมชนได้ ผลที่ได้จากการทำกิจการม - มีป้ายประชาสัมพันธ์เพื่อรณรงค์บอกเล่าเผยแพร่ระเบียบกติกาข้อตกลงในการร่วมดูแลเขตอนุรักษ์ที่สมาชิกในและนอกชุมชนยอมรับและตกลงที่จะปฎิบัติร่วมกันอันจะส่งผลในการเพิ่มความสมบูรณ์ของชนิดและปริมาณสัตว์น้ำในพื้นที่ทะเลสาบและอาชีพประมงที่ยั่งยืน

 

เวทีสรุปและติดตามประเมินผลการดำเนินงาน4เดือน/ครั้ง (ARE) 28 มี.ค. 2562 28 มี.ค. 2562

 

สรุปติดตามประเมินผลการดำเนินงาน4เดือนครั้ง ประชุมคณะทำงานโครงการและผู้ที่เกียวข้องทบทวนการทำกิจกรรมที่ผ่านมากำหนดทิศทางแผนการทำงานแต่ละช่วง

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง ทบทวนการดำเนินงานกิจกรรมในรอบ4เดือนที่ผ่านมาว่าเป็นไปตามที่วางไว้และกำหนดแผนในการดำเนินงานของกิจกรรมครั่งต่อไปตลอดถึงปัญหาอุสรรค พร้อมแนวทางแก้ไขในการทำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ ผลผลิต- มีคณะกรรมการและแกนนำชาวประมงพร้อมด้ายพีเลี้ยงและตัวแทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสรุปประเมิลผลการทำกินกรรม จำนวน 26 คน ผลลัพธ์ - ผู้เข้าร่วมได้ร่วมกันสรุปสะท้อนผลการขับเคลื่อนกิจกรรมที่ผ่านมาโดยดูตามบันไดผลลัพธ์และตัวชี้วัดของโครงการ ทำให้รู้ความคืบหน้าในการทำงาน พร้อมทั้งร่วมกันวิเคราะห์ค้นหาสาเหตุของผลที่เกิดขึ้นจากการทำกิจกรรม จุดออ่น จุดแข็ง และแนวทางการขับเคลื่อนการทำงานในระยะต่อไปที่ตอบโจทย์เป้าหมาย วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดภายใต้ผลลัพธ์. และสามารถนำไปอกเล่าได้ ผลทที่เกิดขึ้นจากดารทำกิจกรรม. ได้ผลการสรุปประเมิลในการขับเคลื่อนโครงการ พร้อมทั้งแนวทางที่จะนำไปสู่เป้าหทายความสำเร็จตามตัวชี้วัดและบันไดผลลัพธ์ที่แกนนำสามรถนำไปวางแผนขับเคลื่อนทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 

เวที่การประชุมคณะทำงานเพื่่อขับเคลื่อนโครงการ 10 เม.ย. 2562 10 เม.ย. 2562

 

ประชุมคณะทำงานผู้เข้ารวมประชุม 15 คน ทบทวนรายชื่อคณะกรรมการชุดก่อตั่ง การทำโลโก เอกสารของกรรมการ แผนที่ของ ม.6 บ้านบางขวน ความคืบหน้าของการจัดตั่งสมาคมฯ

 

ผลผลิต -ประชุมคณะทำงานผู้เข้าร่วมประชุม15 คน ผลลัพธ์ -คณะทำงานรับรู้ เข้าใจถึงกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนโครงการ ตลอดถึงการสรุปทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมา และวางแผนการขับเคลื่อนโครงการในระยะต่อไป ผลที่เกิดขึ้นจริง -คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการจดทะเบียนของสมาคมคนรักษ์ทะเลสาบตอนกลาง จังหวัดพัทลุง ผลสรุปที่เกิดขึ้นจากการทำกิจการม - คณะทำงานและผู้เข้าร่วมประชุมได้ทราบความคืบหน้าในการดำเนินกิจกรรม พร้อมกับมการทบทวนความชัดเจน ของคณะกรรมการ ที่จจะยื่นจดทะเบียนในนามสมาคมชาวประมงรักษ์ทะเลสาบ กอภอปากพะยูน นังหวัดพัทลุง พร้อมโลโก้ที่สอดคล้องกับการเป้าหมายการทำงานของสมาคมที่ มุ่งหวังสร้างการมีส่วนร่วมของชาวประมงในการฟื้นฟูทะเลสาบ. ละเกิดอาชีพประมงที่สั่งยืนในอนาคต

 

เวทีแลกเปลียนเรียนรู้บทบาทการทำงานของประมงอาสาในนอกพื้นที่ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงานกับพื้นที่บ้านในถุ้ง ต.ท่าศาลา อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช 24 เม.ย. 2562 24 เม.ย. 2562

 

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทบาทการทำงานของประมงอาสา5 หมู่บ้าน ม.1 บ้านจองถนน ม. 6 บ้านบางขวน ม. 8 บ้านแหลมไก่ผู้ ม.11 บ้านหัวปอ ม. 14 บ้านคลองกะอาน ได้มาศึกษาดูงานที่ บ้านในถุ้ง ม.5 ต.ท่าศาลา อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช การทำธนาคารปูม้า แลร้านคนจับปลา ท่าศาลาอ่าวทองคำ จ.นครศรีฯได้รวมกันลงเรือเพื่อปล่อยลูกปูม้าผูดคุยที่มาที่ไปของการก่อตั่งธนาคารปูม้า และร้านคนจับปลา ท่าศาลาอ่าวทองคำ

 

ผลผลิต - ประมงอาสาคณะทำงานจำนวน24คนได้ไปศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรโดยมีประมงอสาทำหน้าที่เป็นอาสาสมัครในการดูแลเขตอนุรักษ์ ผลลัพธ์ - ประมงอาสาคณะทำงานได้รับรู้และเข้าใจถึงการทำงานการจัดการของธนาคารปูม้าและร้านคนจับปลา ท่าศาลาอ่าวทองคำ จ.นครศรีฯ ผลที่เกิดขึ้นจริง - ประมงอาสาคณะทำงานทุกพื้นที่ได้เอาไปปรับใช้กับพื้นที่ของตนเอง จำนวน 5 พื้นที่ในเขตทะเลสาบตอนกลาง จังหวัดพัทลุง ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม -ประมงอาสาและแกนนำที่ไปศึกษาดูงานมีความรู้ ได้เข้าใจและได้เอาไปปฎิบัติจริงในพื้นที่ของตนเอง

 

เวที่ประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ 14 พ.ค. 2562 14 พ.ค. 2562

 

ประชุมคณะทำงานผู้เข้าร่วมประชุม 15 คน ทบทวนรายชื่อคณะกรรมการชุดก่อตั่ง การทำโลโก เอกสารของกรรมการ แผนที่ของ ม.6 บ้านบางขวน ความคืบหน้าของการจัดตั่งสมาคมฯ

 

ผลผลผลิต -ประชุมคณะทำงานผู้เข้ารวมประชุม15 คน ผลลัพธ์ -คณะทำงานรับรู้ เข้าใจถึงกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนโครงการสามารถนำไปช่วยในการดำเนินโครงการตามบทบาทหน้าที่ได้

ผลที่เกิดขึ้นจริง -คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการจดทะเบียนของสมาคมคนรักษ์ทะเลสาบตอนกลาง จังหวัดพัทลุง ผลสรุปที่ได้จากการทำกิจกรรม - คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่. และสามรถปฎิบัติงานตามแผนงานที่ได้รับมอบหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การจดทะเบียนสมาคมชาวประมงรักษ์ทะเลสาบตอนกลางจังหวัดพัทลุง ที่แสดงเห็นถึงการทำงานขององค์กรชาวประมงถูกต้องตามกฎหมาย มีแผนการทำงานที่ชัดเจน มีกลไกการขับเคลื่อนสอดคล้องกับความถนัด และมีการประชุมอย่างต่อเนื่อง

 

เก็บขัอมูลการเปลี่ยนแปลงชนิดพันธ์สัตว์น้ำหลังการมีเขตอนุรัก 4 มิ.ย. 2562 4 มิ.ย. 2562

 

  1. จัดเก็บขัอมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลาง
  2. ใช้แบบสอบถามในการหาข้อมูล
  3. แบ่งทีมรับผิดชอบในการทำแบบสอบถาม และมีช่วงเวลาที่ชัดเจนในการนัดสรุปงานแต่ละครั้งและข้อมูลที่สรุปได้ไปนำเสนอที่เวทีประชุมสมาคมเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนและสมบรูณ์มากที่่สุด
  4. นำข้อมูลเพื่อนำเสนอเข้าแผนยุทธศาสตร์จัวหวัดผ่านกลไกลกรรมการประมงจังหวัด

 

นิเวศทะเลสาบสงขลาตอนกลางมีสัตว์น้ำอุดมสมบรูณ์

 

เวทีคืนข้อมูลชุมชน -จัดทำร่างแผนการดำเนินงานของแต่ละชุมชน-คืนข้อมูลชนิดพันธ์ส้ตว์น้ำและเครื่องมือประมง 12 มิ.ย. 2562 12 มิ.ย. 2562

 

นำเสนอและจัดทำแผนอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งแต่ละพื้นที่ นำเสนอร่างข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำ และเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลาง จัดทำข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลางย้อนหลัง 10 ปีเพื่อนำไปสู่การเผยแพร่ตลอดถึงออสามัครทำหน้าที่ในการดูแลเขตแต่ละพื้นที่

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง จัดทำแผนการอนุรักษ์ฟื้นฟูแต่ละพื้นที่ รวม 5 พื้นที่พร้อมทั้งจัดทำต้นฉบับข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลางย้อนหลังปีเพื่อนำไปสู้การเผยแพร่โดยมีคณะทำงานรับผิดชอบที่ชัดเจน ผลผลิต- ได้มีการจัดทำแผนฟื้นฟูและแนวเขตอนุรัก์ที่ชัเจน ทั้ง 5 พื้นที่ พร้อม ระมงอาสา พื้นที่ละ 15 คน ทำหน้าที่ในการตรวจตราดูแลเขตอรชนุรักษ์ของแต่ละชุมชน ผลลัพธ์ - ผู้เข้าร่วมสามรถบอกเล่าแผนการฟื้นฟูทรัยากรชายฝั้งได้ตลอดึงมี ระมงอาสาทำหน้าที่ออกตรวจตราดูแลเขตอนุรักษ์ของตัวเองอย่างชัดเจน ผลสรุปที่ได้จากกิจกรรม. - ทั้ง5 ชุมชนมีแผนการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรพร้อมอาสาสมัครทำหน้าที่ในการออกตรวจตราดูแลเขตอย่างชชต่อเนื่องชัดเจน

 

เวที่การประชุมคณะทำงานเพื่่อขับเคลื่อนโครงการ 14 มิ.ย. 2562 14 ก.ค. 2562

 

เวทีประชุมคณะทำงานโครงการและผู้เกี่ยวข้องผู้เข้ารวมประชุม 15 คน เพื่อทบทวนและสร้างความเข้าใจรวมบริหารการจัดการพร้อมบทบาทภาระกิจการทำงานของแต่ละฝ่ายให้สอดคลองกับเป้าหมายของโครงการ กำหนดทิศทางวางแผนการทำงาน

 

ผลผลิต -ประชุมคณะทำงานผู้เข้ารวมประชุม15 คน ผลลัพธ์ -คณะทำงานรับรู้ เข้าใจถึงกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อผลลัพธ์ -คณะทำงานรับรู้ เข้าใจถึงกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนโครงการและการหนุนเสริมอุดช่องว่งการทำกิจกรรมให้สามรถดำเสินงานไปได้ ผลที่เกิดขึ้นจริง -คนโครงการสามารถนำไปช่วยในการดำเนินโครงการตามบทบาทหน้าที่ได้ ณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการบริหารการจัดการโครงการและบททาบภาระกิจของแต่ละฝ่ายสามารถปฎิบัติภาระกิจของตัวเองได้

 

ซ่อมแซมปรับปรุงและขยายพื้นที่เขตอนุรักษ์ทั้ง6ชุมชน 5 ก.ค. 2562 5 ก.ค. 2562

 

  1. จัดทำซอมแซมปรับปรุงโดยการปักหลักเขตและแนวเขต
  2. บำรุงดูแลรักษาป้ายและแนวเขตอย่างต่อเนื่อง

 

มีพื้นที่เขตอนุรักษ์จากแนวเดิมออกไปเพิ่มขึ้นไม่ตำ่กว่า100เมตร

 

ปล่อยพันธ์สัตว์น้ำอย่างน้อยปีละ2ครั้ง 8 ก.ค. 2562 8 ก.ค. 2562

 

  1. ประมงอาสาร่วมกับชาวประมงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ร่วมกันปล่อยพันธ์สัตว์น้ำเพื่อเป็นการเพิ่มความอุดมสมนรูณ์ให้กับทะเบสาบสงขลาตอนกลาง
  2. คณะทำงานจัดทีมติดตามสังเกตอัตราการรอดของสัตว์น้ำที่ปล่อยโดยการถ่ายภาพสัตว์น้ำหลังจากการปล่อยประมาณ3-4 เดือน

 

พันธ์สัตว์น้ำเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นไม่ตำ่กว่า3ชนิดเช่นปลาแป้น(ปลาลาปัง)ปลากระบอกกุ้งก้ามกราม

 

ประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ 14 ก.ค. 2562 14 มิ.ย. 2562

 

เวทีประชุมคณะทำงานโครงการและผู้เกี่ยวข้องผู้เข้ารวมประชุม 15 คน เพื่อทบทวนและสร้างความเข้าใจรวมบริหารการจัดการพร้อมบทบาทภาระกิจการทำงานของแต่ละฝ่ายให้สอดคลองกับเป้าหมายของโครงการ กำหนดทิศทางวางแผนการทำงาน

 

ผลผลิต -ประชุมคณะทำงานผู้เข้ารวมประชุม15 คน ผลลัพธ์ -คณะทำงานรับรู้ เข้าใจถึงกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนโครงการสามารถนำไปช่วยในการดำเนินโครงการตามบทบาทหน้าที่ได้

 

เวทีคืนข้อมูลชุมชน -จัดทำร่างแผนการดำเนินงานของแต่ละชุมชน-คืนข้อมูลชนิดพันธ์ส้ตว์น้ำและเครื่องมือประมง 16 ก.ค. 2562 16 ก.ค. 2562

 

นำเสนอและจัดทำแผนอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งแต่ละพื้นที่ นำเสนอร่างข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำ และเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลาง จัดทำข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลางย้อนหลัง 10 ปีเพื่อนำไปสู่การเผยแพร่ตลอดถึงออสามัครทำหน้าที่ในการดูแลเขตแต่ละพื้นที่

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง จัดทำแผนการอนุรักษ์ฟื้นฟูแต่ละพื้นที่ รวม 5 พื้นที่พร้อมทั้งจัดทำต้นฉบับข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลางย้อนหลังปีเพื่อนำไปสู้การเผยแพร่โดยมีคณะทำงานรับผิดชอบที่ชัดเจน ผลผลิต- ได้มีการจัดทำแผนฟื้นฟูและแนวเขตอนุรัก์ที่ชัเจน ทั้ง 5 พื้นที่ พร้อม ระมงอาสา พื้นที่ละ 15 คน ทำหน้าที่ในการตรวจตราดูแลเขตอรชนุรักษ์ของแต่ละชุมชน ผลลัพธ์ - ผู้เข้าร่วมสามรถบอกเล่าแผนการฟื้นฟูทรัยากรชายฝั้งได้ตลอดึงมี ระมงอาสาทำหน้าที่ออกตรวจตราดูแลเขตอนุรักษ์ของตัวเองอย่างชัดเจน ผลสรุปที่ได้จากกิจกรรม. - ทั้ง5 ชุมชนมีแผนการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรพร้อมอาสาสมัครทำหน้าที่ในการออกตรวจตราดูแลเขตอย่างชชต่อเนื่องชัดเจน

 

เวทีสรุปและติดตามประเมินผลการดำเนินงาน4เดือน/ครั้ง (ARE) 28 ก.ค. 2562 28 ก.ค. 2562

 

สรุปติดตามประเมินผลการดำเนินงาน4เดือนครั้ง ประชุมคณะทำงานโครงการและผู้ที่เกียวข้องทบทวนการทำกิจกรรมที่ผ่านมากำหนดทิศทางแผนการทำงานแต่ละช่วง

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง ทบทวนการดำเนินงานกิจกรรมในรอบ4เดือนที่ผ่านมาว่าเป็นไปตามที่วางไว้และกำหนดแผนในการดำเนินงานของกิจกรรมครั่งต่อไปตลอดถึงปัญหาอุสรรค พร้อมแนวทางแก้ไขในการทำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้

 

เวที่การประชุมคณะทำงานเพื่่อขับเคลื่อนโครงการ 14 ส.ค. 2562 14 ส.ค. 2562

 

เวทีประชุมคณะทำงานโครงการและผู้เกี่ยวข้องผู้เข้ารวมประชุม 15 คน เพื่อทบทวนและสร้างความเข้าใจรวมบริหารการจัดการพร้อมบทบาทภาระกิจการทำงานของแต่ละฝ่ายให้สอดคลองกับเป้าหมายของโครงการ กำหนดทิศทางวางแผนการทำงาน

 

ผลผลิต -ประชุมคณะทำงานผู้เข้ารวมประชุม15 คน ผลลัพธ์ -คณะทำงานรับรู้ เข้าใจถึงกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อผลลัพธ์ -คณะทำงานรับรู้ เข้าใจถึงกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนโครงการและการหนุนเสริมอุดช่องว่งการทำกิจกรรมให้สามรถดำเสินงานไปได้ ผลที่เกิดขึ้นจริง -คนโครงการสามารถนำไปช่วยในการดำเนินโครงการตามบทบาทหน้าที่ได้ ณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการบริหารการจัดการโครงการและบททาบภาระกิจของแต่ละฝ่ายสามารถปฎิบัติภาระกิจของตัวเองได้

 

จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา 20 ส.ค. 2562 20 ส.ค. 2562

 

  1. จัดเวทีสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
  2. พูดคุยแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นของแกนนำชุมชนและกลุ่มเป้าหมายที่เกี้ยวข้องเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน
  3. จัดทำเอกสารเพื่อจัดทำรายงาน

 

คนในชุมชนอย่างน้อย ร้อยละ40เข้าใจปัญหาที่ผ่านมาเสื่อมโทรมของทะเลสาบสงขลาและร่วมกันแก้ใขปัญหาได้

 

เวทีคืนข้อมูลชุมชน -จัดทำร่างแผนการดำเนินงานของแต่ละชุมชน-คืนข้อมูลชนิดพันธ์ส้ตว์น้ำและเครื่องมือประมง 25 ส.ค. 2562 25 ส.ค. 2562

 

นำเสนอและจัดทำแผนอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งแต่ละพื้นที่ นำเสนอร่างข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำ และเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลาง จัดทำข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลางย้อนหลัง 10 ปีเพื่อนำไปสู่การเผยแพร่ตลอดถึงออสามัครทำหน้าที่ในการดูแลเขตแต่ละพื้นที่

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง จัดทำแผนการอนุรักษ์ฟื้นฟูแต่ละพื้นที่ รวม 5 พื้นที่พร้อมทั้งจัดทำต้นฉบับข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลางย้อนหลังปีเพื่อนำไปสู้การเผยแพร่โดยมีคณะทำงานรับผิดชอบที่ชัดเจน ผลผลิต- ได้มีการจัดทำแผนฟื้นฟูและแนวเขตอนุรัก์ที่ชัเจน ทั้ง 5 พื้นที่ พร้อม ระมงอาสา พื้นที่ละ 15 คน ทำหน้าที่ในการตรวจตราดูแลเขตอรชนุรักษ์ของแต่ละชุมชน ผลลัพธ์ - ผู้เข้าร่วมสามรถบอกเล่าแผนการฟื้นฟูทรัยากรชายฝั้งได้ตลอดึงมี ระมงอาสาทำหน้าที่ออกตรวจตราดูแลเขตอนุรักษ์ของตัวเองอย่างชัดเจน ผลสรุปที่ได้จากกิจกรรม. - ทั้ง5 ชุมชนมีแผนการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรพร้อมอาสาสมัครทำหน้าที่ในการออกตรวจตราดูแลเขตอย่างชชต่อเนื่องชัดเจน

 

เวทีคืนข้อมูลชุมชน -จัดทำร่างแผนการดำเนินงานของแต่ละชุมชน-คืนข้อมูลชนิดพันธ์ส้ตว์น้ำและเครื่องมือประมง 2 ก.ย. 2562 2 ก.ย. 2562

 

นำเสนอและจัดทำแผนอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งแต่ละพื้นที่ นำเสนอร่างข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำ และเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลาง จัดทำข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลางย้อนหลัง 10 ปีเพื่อนำไปสู่การเผยแพร่ตลอดถึงออสามัครทำหน้าที่ในการดูแลเขตแต่ละพื้นที่

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง จัดทำแผนการอนุรักษ์ฟื้นฟูแต่ละพื้นที่ รวม 5 พื้นที่พร้อมทั้งจัดทำต้นฉบับข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลางย้อนหลังปีเพื่อนำไปสู้การเผยแพร่โดยมีคณะทำงานรับผิดชอบที่ชัดเจน ผลผลิต- ได้มีการจัดทำแผนฟื้นฟูและแนวเขตอนุรัก์ที่ชัเจน ทั้ง 5 พื้นที่ พร้อม ระมงอาสา พื้นที่ละ 15 คน ทำหน้าที่ในการตรวจตราดูแลเขตอรชนุรักษ์ของแต่ละชุมชน ผลลัพธ์ - ผู้เข้าร่วมสามรถบอกเล่าแผนการฟื้นฟูทรัยากรชายฝั้งได้ตลอดึงมี ระมงอาสาทำหน้าที่ออกตรวจตราดูแลเขตอนุรักษ์ของตัวเองอย่างชัดเจน ผลสรุปที่ได้จากกิจกรรม. - ทั้ง5 ชุมชนมีแผนการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรพร้อมอาสาสมัครทำหน้าที่ในการออกตรวจตราดูแลเขตอย่างชชต่อเนื่องชัดเจน

 

เวทีสรุปและติดตามประเมินผลการดำเนินงาน4เดือน/ครั้ง (ARE) 3 ก.ย. 2562 3 ก.ย. 2562

 

สรุปติดตามประเมินผลการดำเนินงาน4เดือนครั้ง ประชุมคณะทำงานโครงการและผู้ที่เกียวข้องทบทวนการทำกิจกรรมที่ผ่านมากำหนดทิศทางแผนการทำงานแต่ละช่วง

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง ทบทวนการดำเนินงานกิจกรรมในรอบ4เดือนที่ผ่านมาว่าเป็นไปตามที่วางไว้และกำหนดแผนในการดำเนินงานของกิจกรรมครั่งต่อไปตลอดถึงปัญหาอุสรรค พร้อมแนวทางแก้ไขในการทำงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้

 

เวที่การประชุมคณะทำงานเพื่่อขับเคลื่อนโครงการ 14 ก.ย. 2562 14 ก.ย. 2562

 

เวทีประชุมคณะทำงานโครงการและผู้เกี่ยวข้องผู้เข้ารวมประชุม 15 คน เพื่อทบทวนและสร้างความเข้าใจรวมบริหารการจัดการพร้อมบทบาทภาระกิจการทำงานของแต่ละฝ่ายให้สอดคลองกับเป้าหมายของโครงการ กำหนดทิศทางวางแผนการทำงาน

 

ผลผลิต -ประชุมคณะทำงานผู้เข้ารวมประชุม15 คน ผลลัพธ์ -คณะทำงานรับรู้ เข้าใจถึงกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อผลลัพธ์ -คณะทำงานรับรู้ เข้าใจถึงกิจกรรมเพื่อขับเคลื่อนโครงการและการหนุนเสริมอุดช่องว่งการทำกิจกรรมให้สามรถดำเสินงานไปได้ ผลที่เกิดขึ้นจริง -คนโครงการสามารถนำไปช่วยในการดำเนินโครงการตามบทบาทหน้าที่ได้ ณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการบริหารการจัดการโครงการและบททาบภาระกิจของแต่ละฝ่ายสามารถปฎิบัติภาระกิจของตัวเองได้

 

เวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงานกับพื้่นที่ บ้านช่องฟืนตำบลเกาะหมาก อำเภอปากพะยูนจังหวัดพัทลุง 19 ก.ย. 2562 19 ก.ย. 2562

 

แลกเปลียนประสบการณ์ การทำงานของประมงอาสา พื้นทีทะเลสาบตอนกลาง กับบ้านช่องฟืน ความคาดหวังที่มาวันนี้ -แนวคิดการทำงานเป็นประมงอาสา -บทบาทหน้าที่ของประมงอาสา -การทำงานมีปัญหาอุปสรรคและผลสำเร็จ -ทิศทางข้อคิดเห็นข้อเสนอแนะในการทำงาน ชี้แจงแนวเขตอนุรักษ์และการทำเขตอนุรักษ์ ตั่งแต่เริ่มทำจนถึงปัจจุบัน ปัญหาของการเริ่มต้นการทำเขตอนุรักษ์ การปล่อยพ้นธ์สัตว์น้ำ

 

ได้แผนการทำงานของประมงอาสาแต่ละพื้นที่

 

เวทีคืนข้อมูลชุมชน -จัดทำร่างแผนการดำเนินงานของแต่ละชุมชน-คืนข้อมูลชนิดพันธ์ส้ตว์น้ำและเครื่องมือประมง 26 ก.ย. 2562 26 ก.ย. 2562

 

นำเสนอและจัดทำแผนอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งแต่ละพื้นที่ นำเสนอร่างข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำ และเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลาง จัดทำข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลางย้อนหลัง 10 ปีเพื่อนำไปสู่การเผยแพร่ตลอดถึงออสามัครทำหน้าที่ในการดูแลเขตแต่ละพื้นที่

 

ผลที่เกิดขึ้นจริง จัดทำแผนการอนุรักษ์ฟื้นฟูแต่ละพื้นที่ รวม 5 พื้นที่พร้อมทั้งจัดทำต้นฉบับข้อมูลชนิดพันธ์สัตว์น้ำและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนกลางย้อนหลังปีเพื่อนำไปสู้การเผยแพร่โดยมีคณะทำงานรับผิดชอบที่ชัดเจน ผลผลิต- ได้มีการจัดทำแผนฟื้นฟูและแนวเขตอนุรัก์ที่ชัเจน ทั้ง 5 พื้นที่ พร้อม ระมงอาสา พื้นที่ละ 15 คน ทำหน้าที่ในการตรวจตราดูแลเขตอรชนุรักษ์ของแต่ละชุมชน ผลลัพธ์ - ผู้เข้าร่วมสามรถบอกเล่าแผนการฟื้นฟูทรัยากรชายฝั้งได้ตลอดึงมี ระมงอาสาทำหน้าที่ออกตรวจตราดูแลเขตอนุรักษ์ของตัวเองอย่างชัดเจน ผลสรุปที่ได้จากกิจกรรม. - ทั้ง5 ชุมชนมีแผนการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรพร้อมอาสาสมัครทำหน้าที่ในการออกตรวจตราดูแลเขตอย่างชชต่อเนื่องชัดเจน

 

เวทีปิดโครงการ 29 ก.ย. 2562 29 ก.ย. 2562

 

เวทีสรุปผลการดำเนินงานโครงการ -ความสมบรูณ์ของสัตว์น้ำทั้งชนิด/ปริมาณก่อนหลังการทำเขตอนุรัษ์สัตว์น้ำเพิ่มขึ้นเช่นปลากระบอก/ปลาลาปัง/นวลจันทร์/ปลากด/ปลาจิ้มฟันเข้/ปลากระเบน/ปลาวัว/กุ้งก้ามกาม - จำนวนเรือเพิ่มขึ้น หมู่6บ้านบางขวน เดิม27ลำ เพิ่มเป็น32ลำ หมู่ที่14บ้านคลองกะอาน เดิม50ลำ เพิ่มเป็น 51ลำ หมู่11บ้านหัวปอ เดิม25ลำ เพิ่มเป็น27ลำ
- รายได้จาการทำประมงก่อนหลังการมีเขตอนุรักษ์ จาก500บาทถึ่ง1000บาท - การบริโบริโภคสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น - จำนวนประมงอาสาบทบาทของารทำมือ

 

ผลที่เกิดขึ้นจริงคณะทำงาน ละผู้เข้าร่วมตลอดถึงชาวประมงและสมาชิกในชุมชนแต่ละพื้ที่มีความรู้ความเช้าใจ​ถึง เป้าหมาย วัตถุประสงค์และแนวทางในการดำเนินงานโครงการที่เป็นเครื่องมือในการฟื้นฟูเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของชนิดแลพันธ์ุสัตว์น้ำในทะเลสาบสงขลาตลอนกลางและได้ทราบ ถึงปัญหาสถานการณ์​ทะเลสาบและสามารถบอกต่อกันได้