directions_run

ฟื้นเลให้สมบูรณ์ด้วยเขตอนุรักษ์ พื้นที่ทะเลสาบสงขลาตอนกลาง จ.พัทลุง

แบบการวิเคราะห์และการสังเคราะห์ปัจจัยกำหนดความสำเร็จของโครงการ

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับคน กลุ่มคน เครือข่าย (เช่น มีความรู้ มีทักษะ มีความชำนาญ มีศักยภาพและขีดความสามารถเพิ่มขึ้น)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ
  1. การเปลี่ยนแปลงที่คาดการณ์ไว้ กับคน จากการทำกิจกรรมดังกล่าวคนส่วนใหญ่ที่เข้าร่วมกิจกรรมจะเป็นชาวประมงที่เป็นเพศชาย ที่ไม่คาดการณไว้คือ เนื่องจากการขับเคลื่อนโครงการเกี่ยวข้องกับเรื่องปากท้อง และรายได้ของคนในชุมชน จนเกิดรูปธรรมความสำเร็จการทำกิจกรรมส่งผลให้มีคนเข้าร่วมที่หลากหลายเพศ และวัย ทั้แต่ เยาวชนในโรงเรียน วัยทำงาน และผ็สูงอายุที่อยู่ในพื้นที่เป้าหมายและชุมชนใกล้เคียง
  2. การเปลี่ยนแปลงกับกลุ่มคน ที่คาดการณ์ไว้ พบว่า การทำกิจกรรมดังกลา่วได้คาดการณ์ว่า กลุ่มที่สนใจแและเป็นแกนหลักในการขับเคลื่อนการทำงานจะเป็นชาวประมงที่อยู่ในชุมชนเป้าหมาย แต่พบว่า สิ่งเกิดขึ้นที่ไม่คาดการณ์ คือ มีทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้องในชุมชนเข้้ามามีส่วรร่วมเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนการทำงานร่วมถึงการบริหารจัดการโครงการ เช่น กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเครื่องแกง กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่ม อสม.
  3. การเเปลี่ยนแปลงที่คาดการณ์ไว้้ ในระดับเครือข่าย จากเป้าหมายการขับเคลื่อนโครงการ จะเป็นกระบวนการหนึ่งในการเชื่อมร้อยการทำกิจกรรมฟื้นฟูของชาวประมงในชุมชนประมงรอบทะเลสาบของจังหวัดพัทลุง แต่พบว่า การขัเคลื่อนกิจกรรมการฟื้นเลด้วยเขตอนุรักษ์ในพื้นที่ทะเลสาบตอนกลาง สามรถขับเคลื่อนเชื่อมร้อยการทำงานด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการทำงานกับเครือข่ายชาวประมงรอบทะเลสาบสงขลา-พัทลุง ซึ่งเป็นเรื่องเกินคาดหมายจากเป้าหมายการขับเคลื่อนโครงการที่กำหนดไว้
  1. การเปลี่ยนแปลงที่คาดการณไว้ ในประเด็นคน ในชุมชนประมงส่วนใใหญ่จะเป็นผู้ชาย แต่พบว่าจากการขับเคลื่อนแต่ละกิจกรรม สามารสร้างการมีส่วนร่วมให้ทุกคน มุกเพศ ทุกวัย สนใจเข้ามาร่วมิจกรรม เพราะกิจกรรมดังกล่าวเมื่อดำเนินการแล้ว เกิดรูปธรรมชัดเจนส่งผลให้เกิดการยอมรับและสนใจเข้าร่วมกิจการในแต่ละครั้ง

  2. การเปลี่ยแปลงกุ่มคนที่คาดการณ์ไว้ จะเป็นกลุ่มประมงที่สนใจเข้าร่วมกินกรรม แต่พบว่า จากการขับเคลื่อจกิจกรรมจนเกิดเป็นรูปธรรมที่ตอบโจทย์เรื่องปากท้อง และเศรฐกิจรายได้ ส่งผลให้ครอบคลุมทุกกลุ่มกิจกรรมในชุมชนเข้าร่วมการทำกิจกรรมในชุมชน โดยดูจากกลุ่มเป้าหมายมี่เข้าร่วมกิจกรรม และการเข้าร่วมเป็นกลไกในการขับคลื่อนการทำงานที่หลากหลายครอบคลุมทุกกลุ่มกิจกรรมที่อยู่ในชุมชน

  3. การเปลี่ยแปลงที่คาดการณ์ไว้ในระดับเครือข่าย ที่คาดการณ์ไว้คือ การขับเคลื่อนกิจกรรมดังกล่าว จะเป็นกระบวนการหนึ่งที่สร้างกานเชื่อมร้อยขยายผลการื้นฟูทะเลสาบในเขตพื้นที่ชุมชนประมงชายฝั่งในพื้นที่จังหวัดพัทลุง ตั้งแต่ทะเลสาบตอนบน คือ ทะเลน้อย ทะเลสาบตอนกลาง รวมทั้งสิ้น 5 เภอ คือ ควนขนุน เมือง เขาชัยสน บางแก้ว และปากพะยูน เพื่อผลักดันไปสู่การขับเคลื่อนนโยบายจังหวัด ว่าด้วยการบริหารจัดก่รทรัพยากรชายฝั่งอย่างยั่งยืน จนนำไปสู่การแลกเปลี่ยนเรียรรู้กับเครือข่ายชาวประมงรอบทะเลสาบสงขลา-พัทลุง ตลอดถึงเครือข่ายประมงแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นการขับเคลื่นเชื่อมร้อยเครือข่ายการทำงานที่เป็นพลังนำไปสู่การจัดทำประสานนโยบายระดับส่วนกลาง
  1. การเปลี่ยนแปลงที่คาดการณไว้ ในประเด็นคน ในชุมชนประมงส่วนใใหญ่จะเป็นผู้ชาย แต่พบว่าจากการขับเคลื่อนแต่ละกิจกรรม สามารสร้างการมีส่วนร่วมให้ทุกคน มุกเพศ ทุกวัย สนใจเข้ามาร่วมิจกรรม เพราะกิจกรรมดังกล่าวเมื่อดำเนินการแล้ว เกิดรูปธรรมชัดเจนส่งผลให้เกิดการยอมรับและสนใจเข้าร่วมกิจการในแต่ละครั้ง โดยดูจากใบลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ภาพถ่ายการทำกิจกรรม ตลอดถึง บันทึกการประชุมการพูดคุยการทำกิจกรรมในแต่ละครั้ง

  2. การเปลี่ยแปลงกุ่มคนที่คาดการณ์ไว้ จะเป็นกลุ่มประมงที่สนใจเข้าร่วมกินกรรม แต่พบว่า จากการขับเคลื่อจกิจกรรมจนเกิดเป็นรูปธรรมที่ตอบโจทย์เรื่องปากท้อง และเศรฐกิจรายได้ ส่งผลให้ครอบคลุมทุกกลุ่มกิจกรรมในชุมชนเข้าร่วมการทำกิจกรรมในชุมชน โดยดูจากกลุ่มเป้าหมายมี่เข้าร่วมกิจกรรม และการเข้าร่วมเป็นกลไกในการขับคลื่อนการทำงานที่หลากหลายครอบคลุมทุกกลุ่มกิจกรรมที่อยู่ในชุมชน โดยดูจากบันทึกสรุปผลการพูดคุยของผู้ราวมกิจกรรม และใบลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม

  3. การเปลี่ยแปลงที่คาดการณ์ไว้ในระดับเครือข่าย ที่คาดการณ์ไว้คือ การขับเคลื่อนกิจกรรมดังกล่าว จะเป็นกระบวนการหนึ่งที่สร้างกานเชื่อมร้อยขยายผลการื้นฟูทะเลสาบในเขตพื้นที่ชุมชนประมงชายฝั่งในพื้นที่จังหวัดพัทลุง ตั้งแต่ทะเลสาบตอนบน คือ ทะเลน้อย ทะเลสาบตอนกลาง รวมทั้งสิ้น 5 เภอ คือ ควนขนุน เมือง เขาชัยสน บางแก้ว และปากพะยูน เพื่อผลักดันไปสู่การขับเคลื่อนนโยบายจังหวัด ว่าด้วยการบริหารจัดก่รทรัพยากรชายฝั่งอย่างยั่งยืน จนนำไปสู่การแลกเปลี่ยนเรียรรู้กับเครือข่ายชาวประมงรอบทะเลสาบสงขลา-พัทลุง ตลอดถึงเครือข่ายประมงแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นการขับเคลื่นเชื่อมร้อยเครือข่ายการทำงานที่เป็นพลังนำไปสู่การจัดทำประสานนโยบายระดับส่วนกลาง โดยดูจากใบลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ใบลงทะเบียนผู้ร่วมกิจกรรม ภาพถ่ายการมำกืจกรรม และการพูดคุยปากต่อปากของแกนนำตามร้านน้ำชา ตรวมถึงการประชุมประจำเดือนกำนันผู้ใหญ่บ้าน
  1. ควรจะมีการชวนทั้งคน กลุ่มคน และเครือข่าย เข้ามามีส่วนรนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อสร้างการเรียนรู้ในการเท่าทันข้อมูลและพลังการขับเคลื่อนการทำงานในระดับเครือข่าย ที่จะนำไปศุ่การผลักดันนโยบายระดับต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันเป็นการสร้างการเรียนรู้ในกสรเชื่แงพลังเครือข่ายประมงชายฝั่งที่นำไปสู่การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการชายฝั่ง ซึ่งเป็นยุทธศาตร์หนึ่งของการทำงานภาคประชาสังคม ที่จะรว่มผลักดันยุทธศาตร์จังหวัด ความมั่นคงทางด้านอาหารทะเลปลอดภัย ตอบโจทย์ พัทลุง เมืองสีเขียว คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี

 

 

 

 

การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (เช่น เกิดนโยบาย เกิดข้อตกลงชุมชน เกิดมาตรการทางสังคม)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ

การเปลี่ยนกลไก และกระบวนการในชุมชนที่เอื้อต่อผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (เช่น เกิดกลุ่ม ชมรม เครือข่าย เกิดกระบวนการเรียนรู้ เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม)

การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดการณ์ไว้และไม่ได้คาดการณ์ไว้ล่วงหน้ารายละเอียดหลักฐานแนวทางการพัฒนาต่อ

เกิดการเปลี่ยนแปลงกลไกและกระบวนการในชุมชนที่เอื้อต่อสุขภาวะที่คาดการณ์ไว้ คือ การทำกิจกรรมที่เกิดกลไกมาจากการมีส่วนร่วมขิงกลุ่มคนที่หลากหลายเอื้้อต่อการเกิดสุขภาวะมางด้านจิตใจของของผู้ร่วมทำกิจกรรมในชุมชน

การเปลี่ยนแปลงของกลไไก จากรูปแบบเดิมๆที่มีผู้ใหญ่บ้าน หรือฝ่ายปกครองเป็นแกนนำการขับเคลื่อกิจกรรมในชุมชน แต่การทำกิจกรรมในครั้งนี้มีแกนนำนำจากทุกกลุ่มกิจกรรมในชุมชนร่วมกำบผู้นำท้องถิ่น/ท้องที่เข้ามาร่วมเป็นกลไกในการขับเคลื่อนการทำงานภายใต้บทบาทหน้าที่ตามความถนัด ทำให้มีความสุข สนุกกับการทำงาน ส่งผลให้มีการกระจายการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ดูจาก รายงานผลการทำกิจกรรม และผังกลไกโครงสร้างการทำงานของกรรมการแต่ละคณะ ตลอดถึงบันทึกกาพูดคุยการประชุมในแต่ละครั้ง

ควรจะมีการพัฒนา ออกแบบกระบวนการที่สามรรถยกระดับการทำงานของผู้นำในแต่ละคน ที่สามารถทำงานหรือทำหน้าที่แทนกันได้โดยไม่ยึดตามผังกลไกโครงสร้าง เพราะจะเป็นการสร้างผู้นำที่สามารถทำงานแทนกันได้อย่างหลากหลายและมีประสิทธิภาพ