directions_run

โครงการการจัดการขยะ บ้านป่าตอ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ โครงการการจัดการขยะ บ้านป่าตอ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายประเสริฐ บุญแก้วคง

ชื่อโครงการ โครงการการจัดการขยะ บ้านป่าตอ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-0186 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2018 ถึง 30 กันยายน 2019


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดการขยะ บ้านป่าตอ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการขยะ บ้านป่าตอ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการจัดการขยะ บ้านป่าตอ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-0186 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2018 - 30 กันยายน 2019 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 77,410.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บ้านป่าตอ หมู่ที่ 8 ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง ประกอบด้วย 198 หลังคาเรือน  ประชากร 707 คน แบ่งเป็นชาย 368 คน คิดเป็นร้อยละ 52.53 และ หญิง 339 คน คิดเป็นร้อยละ 47.94 หมู่บ้านป่าตอได้แบ่งเขตบ้านการดูแลออกเป็น 4 เขตบ้าน โดยมีหัวหน้าและผู้รับผิดชอบแต่ละเขต ดังนี้ เขตที่ 1 กลุ่มบ้านปากช่อง มีนายประเสริฐ บุญแก้วคง เป็นหัวหน้าเขต เขตที่ 2 กลุ่มบ้านป่าตอ มีนายบันจง พรหมแก้ว เป็นหัวหน้าเขต เขตที่ 3 กลุ่มบ้านเหนือ มีนายประเสริฐ คำเพ็ง เป็นหัวหน้าเขตและเขตที่ 4 กลุ่มบ้านนอก มีนายพิจิตร ชูเพ็ง เป็นหัวหน้าเขตนอกจากนี้ยังมีกลุ่มองค์กร 11 องค์กรคือ กองทุนอาสาพัฒนาป้องกันหมู่บ้านและตนเอง(อพป.)กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองกลุ่มพัฒนาสตรีระดับหมู่บ้านกองทุนแก้ไขปัญหาความยากจน (กขคจ.)กองทุนแม่ของแผ่นดินกลุ่มผลิตภัณฑ์สมุนไพรกลุ่มปลูกปาล์มและปุ๋ยอินทรีย์กลุ่มซื้อน้ำยางสด กลุ่มดอกไม้จันทน์กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์กล้วยไข่แก้วกลุ่มชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง จากการร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาของชุมชน พบว่าขยะเป็นปัญหาหลักในปัจจุบันปริมาณขยะร้อยละ 80 ของขยะทั้งหมดถูกกำจัดโดยการเผา รองลงมาคือการนำไปทิ้งในที่สาธารณะ ซึ่งยังขาดการจัดการที่เป็นระบบและถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล มีจุดเสี่ยงที่มักจะมีการนำขยะมาทิ้งกองไว้ในที่สาธารณะและไม่มีการจัดการ2 จุดส่งผลกระทบไปในอีกหลายๆปัญหา เช่น ปัญหาการหมักหมมของขยะในที่สาธารณะเกิดกลิ่นเหม็น เป็นแหละเพาะพันธุ์และอยู่อาศัยของสัตว์นำโรค  นอกจากนี้ยังมีขยะทิ้งอยู่ข้างถนน ริมสวนยาง ใกล้บ้านเรือนสร้างความจนเป็นเหตุของความขัดแย้ง 2 รายทั้งยังมีผู้ได้รับบาดเจ็บจากขยะเป็นเหตุโดยเฉพาะขยะประเภทกระป้อง แก้ว ภาชนะมีคม เกิดการบาดเจ็บจากแก้ว กระเบื้องบาด 4 รายส่วนขยะถุงพลาสติก เมื่อมีฝนตกมีน้ำขังในภาชนะเกิดเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ที่เป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก มีเด็กป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 1 ราย และทำให้ประชาชนในชุมชนต้องเสียเวลา เสียเงินค่ารักษาพยาบาล เนื่องมาจากผลกระทบมาจากไข้เลือดออก นอกจากนี้ยังส่งผลต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่สวยงาม เป็นแหล่งที่อยู่ของสัตว์และแมลงมีพิษเมื่อมีฝนตกก็มีการชะล้างเอาสิ่งสกปรกลงไปในลำห้วยหลักของหมู่บ้าน ทำให้เกิดภาวะน้ำเสียประชาชนใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำไม่ได้ ส่งผลทางด้านเศรษฐกิจมีรายจ่ายในเรื่องของการเฝ้าระวังและรักษาโรคที่เกิดจากปัญหาขยะ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักเรื่องการจัดการขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เวทีสร้างความเข้าใจให้ชุมชนรับทราบสถานการณ์ ขยะ และผลกระทบจากขยะ
  2. ประชุมกลไกขับเคลื่อนการจัดการขยะ
  3. ประชุมกลุ่มครัวเรือนที่สมัครเข้าร่วมจัดการขยะจัดตั้งกลไกขับเคลื่อน กำหนดกฎกติกา
  4. อบรมการจัดการขยะครัวเรือน
  5. ศึกษาดูงาน เรียนรู้ต้นแบบ สร้างแรงจูงใจ ประกวด คัดเลือกบ้านต้นแบบ บุคคลตัวอย่างด้านการจัดการขยะ
  6. การรณรงค์จัดการขยะชุมชน ขยะในที่สาธารณะ ครั้งที่ 1
  7. สรุปผล คืนข้มูลการจัดการขยะ
  8. รณรงค์จัดการขยะชุมชน ขยะในที่สาธารณะ ครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
จำนวนครัวเรือน 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนมีความเข้าใจ ในเรื่องปัญหาที่เกิดจากขยะ และผลกระทบที่เกิดขึ้นในชุมชน  และครัวเรือน มีการสมัครร่วมโครงการ จำนวน 72 ครัวเรือน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เวทีสร้างความเข้าใจให้ชุมชนรับทราบสถานการณ์ ขยะ และผลกระทบจากขยะ

วันที่ 5 ธันวาคม 2018

กิจกรรมที่ทำ

ประชาชนเผู้เข้าร่วมประชุม ลงทะเบียนพร้อม ผู้ใหญ่บ้าน/ผู้รับผิดชอบโครงการ ดำเนินการประชุมตามวาระดังนี้ 1. แจ้งวัตถุประสงค์ แผนงานกิจกรรม และผลลัพธ์ และงบประมาณ โครงการแก่ผู้เข้าประชุม 2. พี่เลี้ยงแนำ สสส.  แนะนำหน่วยจัดการ Node Flag Ship  แนวทางการดำเนินงานตามโครงการที่หวังผลลัพธ์
3. พักรับประทานอาหารกลางวัน 3. วิทยากรนำเสนอสถานการณ์ขยะระดับชาติ (ยุทธศาสตร์ชาติ)  ระดับจังหวัด (นโยบายจังหวัด) สถานการขยะในพื้นที่ตำบลเขาปู่ และข้อมูลขยะชุมชนบ้านป่าตอ 4. คณะทำงานร่วม AAR

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีคณะทำงานตามโครงการ 4 คน ประกอบด้วยผู้ใหญ่บ้าน แกนนำชุมชน ส.อบต. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ร่วมดำเนินการจัดการประชุมตามแผนงาน
  2. ประชาชนตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วมประชุม 85ครัวเรือน คลอบคลุม 4 กลุ่มบ้าน ร้อยละ 42.92 และมีภาคีร่วมคือ ปลัด อบต. /ครู กศน.
  3. ครัวเรือนสมัครเข้าร่วมโครงการ 92 ครัวเรือน ร้อยละ 46.46
  4. ที่ประชุมคัดเลือกแนนำขับเคลื่อนโครงการรวม 15 คน คลอบคลุม 4 กลุ่มบ้าน

 

88 0

2. ประชุมกลุ่มครัวเรือนที่สมัครเข้าร่วมจัดการขยะจัดตั้งกลไกขับเคลื่อน กำหนดกฎกติกา

วันที่ 25 ธันวาคม 2018

กิจกรรมที่ทำ

ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ 72 ครัวเรือน คณะทำงานและภาคีที่เกี่ยว มี รพ.สต. อบต. กศน. พร้องกันเวลา 10.00 น. ดำเนินการประชุมตามวาระดังนี้

1.ผู้รับผิดชอบโครงการประชุมตัวแทนครัวเรือนคัดเลือกแกนนำ ตามกลุ่มบ้าน มีการคัดเลือกโดยให้ทั้ประชุมเสนอตัวแทนแต่ละกลุ่มบ้านและขอมติรับรองจนได้คณะทำงานครบ 15 คน

2.ที่ประชุมร่วมกันเพื่อกำหนดกติกาในการจัดการขยะครัวเรือน
      1. ทุกครัวเรือนต้องมีการคัดแยกขยะ       2. ห้ามทิ้งขยะในที่สาธารณะ ฝ่าฝืนปรับ 2000 บาท             2.1 ห้ามทิ้งขยะ 2ข้างถนน และที่สาธารณะ             2.2 ห้ามทิ้งขยะในบริเวณแหล่งท่องเที่ยว             2.3 ห้าทิ้งขยะในที่สาธารณะ  แม่น้ำ  ลำคลอง 3. หากคณะกรรมการไม่ดำเนินการคัดแยกขยะ ปรับ 100 บาท/เดือน 4. หากสมาชิกไม่ดำเนินการคัดแยกขยะ ปรับ 50 บาท/เดือน


3.พักรับประทานอาหารกลางวัน 4.ร่วมกันออกแบบการเก็บข้อมูล การติดตาม การประเมินผล การคืนข้อมูลสู่ชุมชน(เอกสารตามไฟน์ที่แนบ) 5.คณะทำงานร่วมกันทบทวนผลการประชุม AAR

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผลผลิตมีการประชุมตามแผน  ผู้เข้าร่วมประชุมครบตามเป้าหมาย

2.มีคณะทำงาน จำนวน 15 คน (ตามไฟน์ที่แนบ)

3.มีกฎกติกา (ตามไฟน์ที่แนบ)

 

50 0

3. ประชุมกลไกขับเคลื่อนการจัดการขยะ

วันที่ 25 มกราคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงาน 15 คนร่วมประชุมตามวาระดังนี้ 1. ผุ้ใหญ่ชี้แจงวัตถุประสงค์ กิจกรรม ผลลัพธ์โครงการให้คณะทำงานทราบ
2. มอบหมายหน้าที่แก่คณะทำงาน (การเก็บข้อมูลขยะครัวเรือน 189ครัวเรือน /ทำป้าย 5 ป้าย/จัดหาวัสดุสำนักงาน 3. สรุปรายงานผลการเปิดโครงการ แจ้งรายชื่อผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ ให้คณะทำงานแต่ละกลุ่มบ้านทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานทราบ และเข้าใจตถุประสงค์ กิจกรรม ผลลัพธ์โครงการให้คณะทำงานทราบ
ทราบหน้าที่ได้รับมอบหมาย

 

30 0

4. อบรมการจัดการขยะครัวเรือน

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2019

กิจกรรมที่ทำ

1.มีการประชุมครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการจัดการขยะในครัวเรือน

2.มีการให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะทั่วไป ขยะอินทรีย์ และการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง

3.ชี้แจงเรื่องการจัดเก็บข้อมูลขยะในครัวเรือน

4.ชี้แจงรายละเอียดการประกวดคัดเลือกต้นแบบ และบุคคลตัวอย่างด้านการจัดการขยะในครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีการประชุมตามแผน

2.ครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 64 ครัว จากครัวเรือนที่สมัครร่วมโครงการ 72 ครัวเรือน ร้อยละ 88.88 2.1 การคัดแยกขยะขายได้ 2.2 คัดแยกขยะอินทรีย์ทำปุ๋ยโดยใช้ถังโคนไม้

 

73 0

5. ศึกษาดูงาน เรียนรู้ต้นแบบ สร้างแรงจูงใจ ประกวด คัดเลือกบ้านต้นแบบ บุคคลตัวอย่างด้านการจัดการขยะ

วันที่ 5 มีนาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

1.ตัวแทนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการทั้ง 4 เขต และคณะกรรมการขับเคลื่อนงาน ไปดูงานที่เทศบาลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง  ไปเรียนรู้ดูงานการจัดการขยะทั่วไป และการทำปุ๋ยหมักอินทรีย์จากขยะอินทรีย์ และการจัดตั้งธนาคารขยะ

2.ดูงานหมู่ที่ 11 บ้านทุ่งยาว อำเภอเขาชัยสน พื้นที่ต้นแบบหมู่บ้านจัดการขยะในครัวเรือน  และการทำปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์ การปลูกผักปลอดสารพิษ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.คณะทำงานตามโครงการ แกนนำขับเคลื่อนดครงการในชุมชน รวม 15 คน และแกนนำกลุ่มบ้านที่สมัครร่วมจัดการขยะได้การศึกษาดูงานการจัดการขยะครัวเรือนที่บ้านทุ่งยาว

2.ครัวเรือนที่เข้าร่วมและคณะกรรมการขับเคลื่อน และภาคีเครือข่าย ศึกษาดูงาน จำนวน 30 คน เข้าใจการจัดการขยะ

 

30 0

6. การรณรงค์จัดการขยะชุมชน ขยะในที่สาธารณะ ครั้งที่ 1

วันที่ 23 มิถุนายน 2019

กิจกรรมที่ทำ

1.กลไกขับเคลื่อนการจัดการขยะ สมาชิกครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ  อสม.  นักเรียน  และประชาชน  ร่วมรณรงค์เก็บขยะในชุมชน  จัดการจุดทิ้งขยะในชุมชนทั้ง 2  จุด 2.ประชาสัมพันธ์ทุกช่องทาง  เพื่อกระตุ้นเตือนใหประชาชนใส่ใจการจัดการขยะในครัวเรือนและชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.สมาชิกครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการมาร่วมรณรงค์  จำนวน 68  ครัวเรือน  คิดเป็นร้อยละ  94.4
2. มี อสม.  และนักเรียนเข้าร่วมรณรงค์  จำนวน  22  คน 3. มีการร่วมรณรงค์เก็บขยะ 2 ข้างถนน  และ จุดที่จัดเป็นที่สาธารณะทั้ง 2  แห่งคือ  ศาลาหมู่บ้าน  และที่ท่องเที่ยวถ้ำฤษี 4.มีการประชาสัมพันธ์ทางหอกระจายข่าวหมู่บ้าน  และรถประชาสัมพันธ์

 

85 0

7. รณรงค์จัดการขยะชุมชน ขยะในที่สาธารณะ ครั้งที่ 2

วันที่ 5 กรกฎาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

1.กลไกขับเคลื่อนการจัดการขยะ สมาชิกนโครงการ  อสม. นักเรียน  และประชาชน  ร่วมรณรงค์ร่วมกันเก็บขยะในชุมชน  จัดการจุดทิ้งขยะในชุมชน ทั้ง 2 จุด 2.ประชาสัมพันธ์ทุกช่องทาง เพื่อกระตุ้น้ตือนให้ประชาชนใส่ใจในการจัดการขยะในครัวเรือน และชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.สมาชิกครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ  มาร่วมรณรงค์ับเคลื่อนจัดการขยะในชุมชน  2 ข้างทาง  และ ที่สาธารณะทั้ง 2 จุด  ในชุมชน    จำนวน  70  คน  คิดเป็น ร้อยละ 97.2 2.มีนักเรียน  และ  อสม  ร่วมรณรงค์  จำนวน  18  คน

 

100 0

8. สรุปผล คืนข้มูลการจัดการขยะ

วันที่ 17 กรกฎาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชาชน  ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ  ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเข้า่วมเรียนรู้ผลการจัดการขยะชุมชน 2.มีการรายงานผลสรุปการดำเนินการจัดการขยะตลอดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีประชาชน  ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ  และภาคีเครือข่าย ร่วมเรียนรู้การจัดการขยะชุมชน  จำนวน  86  คน
2.มีการสรุปผลการดำเนินงานตลอดโครงการ 2.1 มีการคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบแต่ละกลุ่มบ้านในเรื่องการจัดการขยะครัวเรือน  จำนวน 4 กลุ่ม  จำนวน 4  ครัวเรือนที่เป็นต้นแบบในการจัดการขยะจากครัวเรือน 2.2มีการจัดบู้ทการจัดการขยะในครัวเรือนทั้ง 4 กลุ่มบ้าน 2.3มีการเรียนรู้เรื่องการนำขยะมาผลิตเป็นเครื่องใช้  เช่น  ทำหมวกจากกล่องนม  การทำกระเป๋าจากซองกาแฟ
3.มีการสรุปคืนข้อมูลชุมชน เรื่องการจัดการขยะ  พบว่ามีขยะลดลงจากการคัดแยกขยะในครัวเรือน  และมีขยะน้อยละในที่สาธารณะทั้ง 2 จุดที่ได้ดำเนินการ 4.ชุมชนได้มีการจัดตั้งธนาคารขยะขึ้นในหมู๋บ้าน  เพื่อดำเนินการต่อไป  และจะขยายเรื่องการจัดการขยะในครัวเรือนให้ได้ 100%  ในหมู่ที่ 8  บ้านป่าตอ 5.มีนวตกรรมเกิดขึ้นจากเศษผ้าขี้ริ้ว  คือ  กระถางต้นไม้

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักเรื่องการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนเข้าร่วมเรียนรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 2. ครัวเรือนสมัครเข้าร่วมจัดการขยะไม่น้อยกว่าร้อยละ.25
0.00 85.00

สมัครเข้าร่วมโครงการเกินเป้าร้อยละ 84 (เป้า 50/ สมัคร 92)

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนครัวเรือน 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักเรื่องการจัดการขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เวทีสร้างความเข้าใจให้ชุมชนรับทราบสถานการณ์ ขยะ และผลกระทบจากขยะ (2) ประชุมกลไกขับเคลื่อนการจัดการขยะ (3) ประชุมกลุ่มครัวเรือนที่สมัครเข้าร่วมจัดการขยะจัดตั้งกลไกขับเคลื่อน กำหนดกฎกติกา (4) อบรมการจัดการขยะครัวเรือน (5) ศึกษาดูงาน เรียนรู้ต้นแบบ สร้างแรงจูงใจ ประกวด คัดเลือกบ้านต้นแบบ  บุคคลตัวอย่างด้านการจัดการขยะ (6) การรณรงค์จัดการขยะชุมชน ขยะในที่สาธารณะ ครั้งที่ 1 (7) สรุปผล คืนข้มูลการจัดการขยะ (8) รณรงค์จัดการขยะชุมชน ขยะในที่สาธารณะ ครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการการจัดการขยะ บ้านป่าตอ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

รหัสโครงการ 61-0186 ระยะเวลาโครงการ 15 พฤศจิกายน 2018 - 30 กันยายน 2019

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

กระบวนการสร้างแรงจูงใจในการลดการนำขยะกลับบ้าน การนำภาชนะมาใส่ของจากร้านค้า แม่ค้า ประกวด คัดเลือกบ้านต้นแบบการจัดการขยะ บุคคลตัวอย่างด้านการจัดการขยะ การนำขยะกลับมาใช้ซ้ำหรือผลิตเป็นชิ้นงานใหม่

รายงานตามแผนงานกิจกรรมโครงการ

ประชาสัมพันธ์ กระตุ้นเตือน และการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง นำผลการเฝ้าระวังเข้าสูการประชุมหมู่บ้านทุกเดือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

การทำหมวกปีกจากกล่องนม กล่องกระดาษแข็ง ขายในหมู่บ้านใบละ 25 บาท ทำกระถางแฟนซีสำหรับปลูกต้นไม้จากเศษผ้าขี้ริ้ว

รายงานตามแผนงานกิจกรรมโครงการ

พัฒนาคุณภาพให้เป็นสินค้าที่ใช้ได้กับอาชีพและวิถีของชุมชน ยกระดับเป็นสินค้า ผลิตภัณชุมชนร่วมกับ หน่วยงานพัฒาชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

เป็นกระบวนการสร้างความร่วมมือระหว่างแกนนำชุมชน ผู้นำชุมชน ท้องถิ่น ราชการ ที่สามารถร่วมกันทำงานบูรณาการกันได้เป็นอย่างดี

รายงานตามแผนงานกิจกรรมโครงการ

พัฒนาเป็นกระบวนการจัดการขยะระดับตำบล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

การทำหมวกปีกจากกล่องนม กล่องกระดาษแข็ง ขายในหมู่บ้านใบละ 25 บาท
ทำกระถางแฟนซีสำหรับปลูกต้นไม้จากเศษผ้าขี้ริ้ว

รายงานตามแผนงานกิจกรรมโครงการ

พัฒนาคุณภาพให้เป็นสินค้าที่ใช้ได้กับอาชีพและวิถีของชุมชน ยกระดับเป็นสินค้า ผลิตภัณชุมชนร่วมกับ หน่วยงานพัฒาชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

แกนนำการจัดการขยะกลุ่มบ้าน หมู่บ้าน

รายงานตามแผนงานกิจกรรมโครงการ

คงความเข้มแข็ง เพื่อเฝ้าระวัง สร้างความต่อเนื่อง ยั่งยืน และการขยายผล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ
  1. มีการเรียนรู้สร้างชิ้นงานจากขยะ หมวกปีก กระถางปลูกต้นไม้ สามารถขายสร้างรายได้ให้กับกลุ่มผู้ผลิต

รายงานตามแผนงานกิจกรรม

พัฒนาคุณภาพให้เป็นสินค้าที่ใช้ได้กับอาชีพและวิถีของชุมชน ยกระดับเป็นสินค้า ผลิตภัณชุมชนร่วมกับ หน่วยงานพัฒาชุมชน

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

มีการนำขยะกลับบ้าน ไม่ทิ้งในที่สาธารณะ

รายงานกิจกรรม

ขยายผลสู่ทุกครัวเรือนในหมู่บ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การตัดแยกขยะในครัวเรือน ของครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย

รายงานกิจกรรม

ขยายผลสู่ครัวเรือนอื่นในหมู่บ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

การตัดแยกขยะในครัวเรือน ของครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย มีการจัดการกองขยะในที่สาธารณะ 3 จุด

รายงานกิจกรรม

ประชาสัมพันธ์ กระตุ้นเตือน และการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง นำผลการเฝ้าระวังเข้าสูการประชุมหมู่บ้านทุกเดือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

กติกาชุมชน

  1. ทุกครัวเรือนต้องมีการคัดแยกขยะ
  2. ห้ามทิ้งขยะในที่สาธารณะ ฝ่าฝืนปรับ 2000 บาท 2.1 ห้ามทิ้งขยะ 2ข้างถนน และที่สาธารณะ 2.2 ห้ามทิ้งขยะในบริเวณแหล่งท่องเที่ยว 2.3 ห้าทิ้งขยะในที่สาธารณะ แม่น้ำ ลำคลอง
    1. หากคณะกรรมการไม่ดำเนินการคัดแยกขยะ ปรับ 100 บาท/เดือน
    2. หากสมาชิกไม่ดำเนินการคัดแยกขยะ ปรับ 50 บาท/เดือน

รายงานกิจกรรม

ประชาสัมพันธ์ กระตุ้นเตือน และการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง นำผลการเฝ้าระวังเข้าสูการประชุมหมู่บ้านทุกเดือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

กติกาชุมชน

ทุกครัวเรือนต้องมีการคัดแยกขยะ ห้ามทิ้งขยะในที่สาธารณะ ฝ่าฝืนปรับ 2000 บาท 2.1 ห้ามทิ้งขยะ 2ข้างถนน และที่สาธารณะ 2.2 ห้ามทิ้งขยะในบริเวณแหล่งท่องเที่ยว 2.3 ห้าทิ้งขยะในที่สาธารณะ แม่น้ำ ลำคลอง หากคณะกรรมการไม่ดำเนินการคัดแยกขยะ ปรับ 100 บาท/เดือน หากสมาชิกไม่ดำเนินการคัดแยกขยะ ปรับ 50 บาท/เดือน

รายงานกิจกรรม

ประชาสัมพันธ์ กระตุ้นเตือน และการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง นำผลการเฝ้าระวังเข้าสูการประชุมหมู่บ้านทุกเดือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

การสร้างกลไกขับเคลื่อนกิจกรรมตามโครงการการจัดการขยะ แบ่งเป็น 2 กลไก กล่าวคือกลไกขับเคลื่อนที่ประกอบด้วยแกนนำจาก 4 กลุ่มรวม 8 คน ผู้นำชุมชน 4 คน และผู้แทนภาคีที่เกี่ยวข้อง 3 คน โดยมีหน้าที่ขับเคลื่อนกิจกรรมตามโครงการ ประสานงาน ประชาสัมพันธ์ ติดตามเสริมพลังครัวเรือนสมาชิกโครงการ และจัดทำรายงานกิจกรรมและรายงานการเงินตามแผน และยังมีกลไกติดตาม จำนวน 7 คน ที่ประกอบด้วยผู้นำชุมชน 4 คน และภาคี 3 คน กลไกนี้มีหน้าที่ประเมินผลความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรค การปรับแผนการดำเนินงานโครงการ โดยใช้บันไดผลลัพธ์เป็นเครื่องมือ

รายงานกิจกรรม/เอกสารการถอดบทเรียน

ขยายผลสู่ระดับตำบล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

มีการประเมินผล การสรุปงานตามโครงการโดยใช้บันไดผลลัพธ์เป็นเครื่องมือ

รายงานกิจกรรม/เอกสารการถอดบทเรียน

สร้างการเรียนรู้การใช้บันไดผลลัพธ์ ในกลไกระดับตำบล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยใช้ที่ประชุมหมู่บ้านในการติดตาม ประเมินผล ทุกเดือน

รายงานกิจกรรม

สร้างความต่อเนื่องโดยใช้ที่ประชุมหมู่บ้านกับกิจกรรมอื่น โดยเทียบเคียงกับการตัดการขยะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

มีการส่งเสริมความรู้ ความก้าวหน้าของโครงการผ่านที่ประชุมหมู่บ้านทุกเดือน

รายงานกิจกรรม

สร้างความต่อเนื่องโดยใช้ที่ประชุมหมู่บ้านกับกิจกรรมอื่น โดยเทียบเคียงกับการตัดการขยะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

คณะทำงานรู้จักใช้เกณฑ์ผลลัพธ์ในการติดตามประเมินผล โดยใช้เครื่องบันไดผลลัพธ์

รายงานกิจกรรม

ส่งเสริม และสร้างการเรียนรู้การใช้บันไดผลลัพธ์ กับโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์ของชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

ได้รับการยกย่องจากท้องถิ่น มีการจัดบูธนำเสนอกิจกรรม คณะทำงาน และภาคียังคงประสานงานกันทำงานอย่างเข้มแข็ง และมุ่งหวังสู่การขยายผลทั้งตำบล

รายงานกิจกรรม /รายงานการถอดบทเรียน

ประชาสัมพันธ์ กระตุ้นเตือน สร้างครัวเรือนขยายผล สรา้งความภาคภูมใจ เข้าสูการประชุมหมู่บ้านทุกเดือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

เป็นการวางแผนตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลการจัดการขยะครัวเรือน ที่เก้บก่อนดำเนินงาน และมีการทบทวนสถานการณ์ทุกวันประชุมประจำเดือน

ครัวเรือนสมัครเข้าร่วมเกินเป้า และเกิดครัวเรือนขยายผลในระยะกลางโครงการ จากรายงานกิจกรรมโครงการ

ขยายผลสู่การใช้ข้อมูลกับทุกแผนงานดครงการ และกิจกรรมใดๆของชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

เกิดสำนึกร่วม ทำตามกติกาชุมชน ยังไม่มีการละเมิดจากบ้านใดๆในทุกกลุ่มบ้าน และสามารถจัดการกองขยะในที่สาธารณะได้อย่างถาวร 3 จุด ชุมชนช่วยกันเฝ้าระวัง รายงานผลทุกวันประชุมประจำเดือน

รายงานกิจกรรม

กระตุ้นการปฏิบัติตามมาตรการ กติกาชุมชน โดยใช้ที่ประชุมหมู่บ้าน

โครงการการจัดการขยะ บ้านป่าตอ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-0186

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประเสริฐ บุญแก้วคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด