directions_run

ใส่ใจครอบครัว รั้วป้องกันโรค เลือกบริโภคปลอดภัยบ้านฝาละมี

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ ใส่ใจครอบครัว รั้วป้องกันโรค เลือกบริโภคปลอดภัยบ้านฝาละมี ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิยม ณ พัทลุง

ชื่อโครงการ ใส่ใจครอบครัว รั้วป้องกันโรค เลือกบริโภคปลอดภัยบ้านฝาละมี

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-01865 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ใส่ใจครอบครัว รั้วป้องกันโรค เลือกบริโภคปลอดภัยบ้านฝาละมี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ใส่ใจครอบครัว รั้วป้องกันโรค เลือกบริโภคปลอดภัยบ้านฝาละมี



บทคัดย่อ

โครงการ " ใส่ใจครอบครัว รั้วป้องกันโรค เลือกบริโภคปลอดภัยบ้านฝาละมี " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-01865 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 99,700.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และตระหนักถึงประโยชน์ของพืชผักสมุนไพรทั้งด้านอาหารและสรรพคุณการรักษาโรค
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และตระหนักถึงประโยชน์ของพืชผักสมุนไพรทั้งด้านอาหารและสรรพคุณการรักษาโรค
  3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และตระหนักถึงประโยชน์ของพืชผักสมุนไพรทั้งด้านอาหารและสรรพคุณการรักษาโรค
  4. เพื่อให้ประชาชนปลูกพืชผักสมุนไพร ไว้ใช้ในการบริโภคและรักษาโรค
  5. เพื่อให้ประชาชนปลูกพืชผักสมุนไพร ไว้ใช้ในการบริโภคและรักษาโรค
  6. เพื่อให้ประชาชนปลูกพืชผักสมุนไพร ไว้ใช้ในการบริโภคและรักษาโรค
  7. เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคผักปลอดภัย
  8. เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคผักปลอดภัย
  9. เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคผักปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 ประชุมคณะทำงาน
  2. ตรวจวัดปริมาณสารเคมีในเลือด
  3. อบรมให้ความรู้
  4. ศึกษาดูงานชุมชนต้นแบบด้านสมุนไพรและการแพทย์แผนไทย
  5. สื่อสารให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง
  6. สร้างครอบครัวต้นแบบด้านสมุนไพรและการแพทย์แผนไทย
  7. ปลูกเพิ่ม เสริมการป้องกัน
  8. ประกวดครอบครัวต้นแบบด้านสมุนไพรและการแพทย์แผนไทย
  9. การจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้พืชผักสมุนไพรใช้ในการรักษาโรค
  10. สรุปบทเรียนคืนข้อมูลให้กับชุมชน มหกรรม “ชุมชนสุขภาวะ ผักผลไม้ ปลอดสารพิษ”
  11. ตรวจปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด ครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
คณะทำงาน 20
ครัวเรือนต้นแบบเดิม 75

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ประชาชนมีความรู้ และตระหนักถึงประโยชน์ของพืชผักสมุนไพร 2ประชาชนปลูกพืชผักสมุนไพร ไว้ใช้ในการบริโภคและรักษาโรค
3เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคผักปลอดภัย ให้ประชาชนปลูกพืชผักสมุนไพร ไว้ใช้ในการดูแลสุขภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1 ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 20 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะทำงานของพื้นที่และแกนนำเพื่อสร้างเครือข่ายชุมชนกำหนดแนวทางการดำเนินงานตามโครงการ
  2. การมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบของคณะทำงาน
  3. ออบแบบสำรวจเพื่อลงพื้นที่เก็บข้อมูลครัวเรือนที่มีการปลูกผักสมุนไพรกินเอง
  4. การสำรวจข้อมูลครัวเรือนและการปลูกผักสมุนไพรของครัวเรือน ชนิดของผักสมุนไพรที่ปลูก
  5. กำหนดจัดทำปฏิทินการดำเนินงานตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีคณะทำงาน เข้าร่วมประชุม จำนวน 25 คน ผู้เข้าร่วมประชุมมีความเข้าใน แนวทางการดำเนินงานและวัตถุประสงค์ของโครงการ
  2. มีมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบของคณะทำงาน  จำนวน 1 ชุด
  3. จัดทำแบบสำรวจครัวเรือนที่มีการปลูกผักสมุนไพรกินเอง  จำนวน 1 ชุด
  4. การสำรวจข้อมูลครัวเรือนและการปลูกผักสมุนไพรของครัวเรือน ชนิดของผักสมุนไพรที่ปลูก จำนวน 220  ครัวเรือน
  5. กำหนดจัดทำปฏิทินการดำเนินงานตามโครงการ จำนวน 1 ชุด

 

20 0

2. ศึกษาดูงานชุมชนต้นแบบด้านสมุนไพรและการแพทย์แผนไทย

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชาสัมพันธ์ รับสมัรผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทางเวทีประชุมหมู่บ้าน หอกระจายข่าว
  2. ติดต่อประสานงานกับฝ่ายต่างๆ เช่น สถานที่ศึกษาดูงาน  พาหนะการเดินทาง วิทยากร
  3. จัดหาวัสดุ การจัดกิจกรรม ของที่ระลึกการดูงาน
  4. จัดกิจกรรมศึกาาดูงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้่กับชุมชนต้นแบบ
  5. การสรุปผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีตัวแทนครัวเรือน ร่วมกิจกรรมศึกษาดูงาน แลกเปี่ยนเรียนรู้ กับชุมชนต้นแบบการปลูกพืชผักสมุนไพรปลอดสารพิษ  จำนวน  50 ครัวเรือน
  2. ผู้ร่่วมกิจกรรม ได้มีการเรียนรู้ และการแลกเปลียนประสบการณ์ การปลูกพืชผักสมุนไพรปลอดสารพิษ ในประเด็นต่างๆ เช่น     - การเตรียมดิน และวิธีการปลูกผักสมุนไพร     - พืชผักสมุนไพรในชีวิตประจำวันที่มีสรรพคุณช่วยในการรักษาโรค     - การปลูกโดยไม่ใช้สารเคมี     - การทำปุ๋ยหมัก/น้ำหมักชีวภาพ
  3. ได้เครือข่าย การเกษตรอินทรีย์

 

45 0

3. อบรมให้ความรู้

วันที่ 6 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชาสัมพันธ์โครงการ ผ่านเวที่ประชุมหมู่บ้าน หอกระจายข่าว การประชุมผู้สูงอายุ การประชุม อสม.
  2. ติดต่อประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง ติดต่อวิทยากร
  3. จัดหาวัสดุ และอุปกรณ์ จัดทำเอกสาร ประกอบการอบรม
  4. จัออบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย
  5. ประเมินผลการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 80  คน
  2. ผู้เข้าร่วมอบรม ร้อยละ 85  มีความรู้ ที่ถูกต้องเรื่องประโยชน์ของพืชผักสมุนไพรพร้อมทั้งอธิบายสรรพคุณการรักษาโรคได้
  3. ครัวเรือน สนใจ และมีการปลูกพืชผักสมุนไพรปลอดสารพิษ เพิ่มมากขึ้น

 

80 0

4. สร้างครอบครัวต้นแบบด้านสมุนไพรและการแพทย์แผนไทย

วันที่ 14 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. เปิดรับสมัครครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ                                                                                                              2. ส่งเสริมครัวเรือนปลูกพืชผักสมุนไพรไว้บริโภคในครัวเรือน                                                                              3. จัดทำแบบบันทึกการปลูกและบริโภคพืชผักในครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีรัวเรือน สมัครครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ          จำนวน  100 ครัวเรือน                                                                                                    2. ส่งเสริมครัวเรือนปลูกพืชผักสมุนไพรไว้บริโภคในครัวเรือน        จำนวน  100 ครัวเรือน                                                                    3. ครัวเรือนมีการบันทึกการปลูกและบริโภคพืชผักในครัวเรือน  จำนวน  70 ครัวเรือน

 

50 0

5. ปลูกเพิ่ม เสริมการป้องกัน

วันที่ 30 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. รณรงค์การปลูกพืชผัก สมุนไพรที่ใช้สาหรับการบริโภคและรักษาโรคพื้นฐาน
  2. จัดตั้งธนาคารพันธุ์พืชผักสมุนไพรของชุมชน เพื่อรวบรวมพันธุ์พืชผักสมุนไพรในชุมชน และเป็นแหล่งกระจายพันธุ์ให้กับครัวเรือนในชุมชน
  3. จัดบริการน้ำดื่มสมุนไพรในสถานบริการ และกิจกรรมของชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ส่งเสริมการปลูกพืชผัก สมุนไพรที่ใช้สาหรับการบริโภคและรักษาโรคพื้นฐาน  ในชุมชน จำนวน 40 ครัวเรือน
  2. มีรวบรวมพันธุ์พืชผักสมุนไพรในชุมชน และเป็นแหล่งกระจายพันธุ์ให้กับครัวเรือนในชุมชน 40 ครัวเรือน
  3. จัดบริการน้ำดื่มสมุนไพรในสถานบริการ และกิจกรรมของชุมชน จำนวน  9  ครั้ง
  4. ครัวเรือนมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการปลูกและจำหน่ายพืชสมุนไพร

 

50 0

6. ตรวจวัดปริมาณสารเคมีในเลือด ครั้งที่ 1

วันที่ 14 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดหาวัสดุอุปกรณ์ จัดกิจกรรมตรวจวัดปริมาณสารเคมีในเลือด แจ้งผลการตรวจเลือดให้กลุ่มเป้าหมายทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 83 คน
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ และเกิดความตระหนัก ในการลด เลิกการใช้สารเคมี และยาปราบศรัตรูพืช
    • ผลการตรวจเลือด  มีความปลอดภัย 2  ราย  มีความเสี่ยง  69 ราย  และไม่ปลอดภัย 12 ราย

 

120 0

7. ประกวดครอบครัวต้นแบบด้านสมุนไพรและการแพทย์แผนไทย

วันที่ 15 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. มีครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการครอบครัวต้นแบบด้านสมุนไพรและการแพทย์แผนไทย  จำนวน  40  ครัวเรือน
  2. มีครอบครัวต้นแบบด้านสมุนไพรและการแพทย์แผนไทย จำนวน  10  ครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เยี่ยมติดตาม ครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการครอบครัวต้นแบบด้านสมุนไพรและการแพทย์แผนไทย 2. คัดเลือกครอบครัวต้นแบบด้านสมุนไพรและการแพทย์แผนไทย

 

10 0

8. การจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้พืชผักสมุนไพรใช้ในการรักษาโรค

วันที่ 11 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมประชุมกลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ชุมชน
  2. การกำหนดบทบาทหน้าที่รับผิดชอบประจำศูนย์การเรียนรู้ชุมชน
  3. ปรับปรุงแปลงสาธิตปลูกพืชผักสมุนไพร ที่มีอยู่เดิม
  4. การประชุมวางแผนเพื่อทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.  ให้ความรู้แก่แกนนำและผู้สนใจเข้าร่วมโครงการเพื่อจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ชุมชน
2.  มีการมอบหมายหน้าที่ของกรรมการรับผิดชอบโครงการ
3. มีการปรับปรุงแปลงสาธิตปลูกพืชผักสมุนไพร ที่มีอยู่เดิม  จำนวน 2 แปลง

 

1 0

9. ตรวจปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด ครั้งที่ 2

วันที่ 12 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์กิจกรรม จัดหาวัสดุและอุปกรณ์ ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง จัดกิจกรรมการตรวจหาสารเคมีในเลือด
การให้ความรู้การลดสารเคมีในเลือด สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีประชาชน เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน  102  คน ผลการตรวจเลือด ปลอดภัย  12  คน  มีความเสี่ยง  74  คน  และไม่ปลอดภัย  16 คน

 

0 0

10. สรุปบทเรียนคืนข้อมูลให้กับชุมชน มหกรรม “ชุมชนสุขภาวะ ผักผลไม้ ปลอดสารพิษ”

วันที่ 12 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุม สรุปผลการดำเนินงานโครงการ
    1. มหกรรม “ชุมชนสุขภาวะ ผักผลไม้ ปลอดสารพิษ”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชุม สรุปผลการดำเนินงานโครงการ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 110  คน
    1. จัดมหกรรม “ชุมชนสุขภาวะ ผักผลไม้ ปลอดสารพิษ” จำนวน  1  ครั้ง       - เจาะเลือดหาสารเมีตกค้างในเลือด       - การตรวจสุขภาพทั่วไป       - การให้ความรู้ การปลูกพืชปลอดสารพิษ การทำปุ๋ย น้ำหมักชีวภาพ       - การจัดนิทรรศการ การปลูกพืชปลอดสารพิษ       - การนำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครอบครัวต้นแบบ

 

270 0

11. สื่อสารให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง

วันที่ 20 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชาสัมพันธ์ ตามช่องทางต่างๆ
  2. การทำป้ายประชาสัมพันธ์ภายในชุมชน
  3. การประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน และชมรมผู้สูงอายุทุกเดือน
  4. การประชุมแกนนำ ผู้รับผิดชอบโรงการเพื่อ ติดตาม วางแผน ประเมินผลโครงการ ทุกเดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาสัมพันธ์ ตามช่องทางต่างๆ เช่น  หอกระจายข่าวของหมู่บ้าน การประชุมของหมู่บ้าน การประชุม อสม.  จำนวน 9  ครั้ง
  2. การทำป้ายประชาสัมพันธ์ภายในชุมชน จำนวน 6 ป้าย
  3. การประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน และชมรมผู้สูงอายุทุกเดือน จำนวน 9  ครั้ง
  4. การประชุมแกนนำ ผู้รับผิดชอบโรงการเพื่อ ติดตาม วางแผน ประเมินผลโครงการ จำนวน 5  ครั้ง

 

350 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และตระหนักถึงประโยชน์ของพืชผักสมุนไพรทั้งด้านอาหารและสรรพคุณการรักษาโรค
ตัวชี้วัด : มีคณะทำงาน ทีเข้มแข็งและมีการมอบหมายหน้าที่รับผิดชอบที่ชัดเจน
20.00 15.00

การทำงานของคณะทำงานจะมีแกนนำที่เป็นผู้ร่วมจัดการ คิด ตัดสินใจ อยู่หลักๆ ประมาน 5 คน ส่วนคนอื่นๆ จะเป็นฝ่ายสนับสนุน

2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และตระหนักถึงประโยชน์ของพืชผักสมุนไพรทั้งด้านอาหารและสรรพคุณการรักษาโรค
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00 80.00

การสมัครเข้าร่วมเป็นครัวเรือนปลูกผักสมุนไพรปลอดสารพิษ ทำให้เห็นถึงการตระหนักรู้ถึงประโยชน์ของพืชผักสมุนไพรมากขึ้น

3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และตระหนักถึงประโยชน์ของพืชผักสมุนไพรทั้งด้านอาหารและสรรพคุณการรักษาโรค
ตัวชี้วัด : คนในชุมชน เห็นประโยชน์ เห็นคุณค่าและมีการนำสมุนไพร ผักพื้นบ้านมาบริโภคเป็นอาหาร นำมาใช้ในการดูแลสุขภาพ เพิ่มขึ้น อย่างน้อย 40 ครัวเรือน
40.00 80.00

มีครัวเรือนที่มีผลผลิตผักสมุนไพรปลอดสารพิษเหลือจากบริโภคนำมาขายกันในชุมชน

4 เพื่อให้ประชาชนปลูกพืชผักสมุนไพร ไว้ใช้ในการบริโภคและรักษาโรค
ตัวชี้วัด : 1. ครัวเรือนต้นแบบปลูกพืชผักสมุนไพรปลอดสารพิษ 100 ครัวเรือน(เดิม 75 ครัวเรือน ใหม่ 25 ครัวเรือน)
100.00 100.00

ครัวเรือนต้นแบบเป็นครัวเรือนที่ปลูกผัก และสมุนไพร แบบไม่ใช้สารเคมี และนำมาบริโภคเอง มีพืชผักหลายชนิด โดยไม่ได้คำนึงถึงพื้นที่ในการปลูก

5 เพื่อให้ประชาชนปลูกพืชผักสมุนไพร ไว้ใช้ในการบริโภคและรักษาโรค
ตัวชี้วัด : . เกิดครัวเรือนต้นแบบปลูกพืชพื้นบ้านสมุนไพรปลอดสารพิษ จำนวน 10 ครัวเรือน
100.00 25.00

ครัวเรือนต้นแบบเป็นครัวเรือนที่ปลูกผัก และสมุนไพร แบบไม่ใช้สารเคมี และนำมาบริโภคเอง มีพืชผักหลายชนิด โดยไม่ได้คำนึงถึงพื้นที่ในการปลูก

6 เพื่อให้ประชาชนปลูกพืชผักสมุนไพร ไว้ใช้ในการบริโภคและรักษาโรค
ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนประกอบอาหารจากผักพื้นบ้านที่ปลูกเอง โดยไม่ซื้อจากท้องตลาด และมีการประกอบเมนูเพื่อสุขภาพเพิ่มมากขึ้น อย่างน้อย 5 วันต่อสัปดาห์
100.00 80.00

ในการบริโภคผักแต่ละวัน ไม่ได้มีการวัดปริมาณต่อวันและต่อมื้อว่าได้บริโภคเท่าไหร่ โครงการฯแค่มุ่งหวังให้มีการบริโภคเกิดขึ้น

7 เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคผักปลอดภัย
ตัวชี้วัด : การจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้พืชผักสมุนไพรใช้ในการรักษาโรค จำนวน 1 แห่ง
1.00

 

8 เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคผักปลอดภัย
ตัวชี้วัด : มีแปลงสาธิตปลูกพืชพื้นบ้านสมุนไพรปลอดสารพิษ 2. 4 แปลง
4.00

 

9 เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคผักปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ปริมาณการใช้สารเคมีลดลง ร้อยละ 70
70.00

ปริมาณสารเคมีที่ชุมชนใช้ยังไม่มีการเก็บข้อมูลที่ชัดเจน ทั้งก่อนเข้าร่วมโครงการและหลังเสร็จสิ้นโครงการ จึงไม่สามารถวัดเป็นเปอร์เซ็นที่ลดลงได้ชัดเจนตามที่ตั้งตัวชี้วัดไว้ได้

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 95
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
คณะทำงาน 20
ครัวเรือนต้นแบบเดิม 75

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และตระหนักถึงประโยชน์ของพืชผักสมุนไพรทั้งด้านอาหารและสรรพคุณการรักษาโรค (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และตระหนักถึงประโยชน์ของพืชผักสมุนไพรทั้งด้านอาหารและสรรพคุณการรักษาโรค (3) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ และตระหนักถึงประโยชน์ของพืชผักสมุนไพรทั้งด้านอาหารและสรรพคุณการรักษาโรค (4) เพื่อให้ประชาชนปลูกพืชผักสมุนไพร ไว้ใช้ในการบริโภคและรักษาโรค (5) เพื่อให้ประชาชนปลูกพืชผักสมุนไพร ไว้ใช้ในการบริโภคและรักษาโรค (6) เพื่อให้ประชาชนปลูกพืชผักสมุนไพร ไว้ใช้ในการบริโภคและรักษาโรค (7) เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคผักปลอดภัย (8) เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคผักปลอดภัย (9) เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคผักปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 ประชุมคณะทำงาน (2) ตรวจวัดปริมาณสารเคมีในเลือด (3) อบรมให้ความรู้ (4) ศึกษาดูงานชุมชนต้นแบบด้านสมุนไพรและการแพทย์แผนไทย (5) สื่อสารให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง (6) สร้างครอบครัวต้นแบบด้านสมุนไพรและการแพทย์แผนไทย (7) ปลูกเพิ่ม เสริมการป้องกัน (8) ประกวดครอบครัวต้นแบบด้านสมุนไพรและการแพทย์แผนไทย (9) การจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้พืชผักสมุนไพรใช้ในการรักษาโรค (10) สรุปบทเรียนคืนข้อมูลให้กับชุมชน มหกรรม “ชุมชนสุขภาวะ ผักผลไม้ ปลอดสารพิษ” (11) ตรวจปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด ครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ใส่ใจครอบครัว รั้วป้องกันโรค เลือกบริโภคปลอดภัยบ้านฝาละมี จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-01865

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนิยม ณ พัทลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด