directions_run

โครงการแก้ไขปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อม บ้านลานช้าง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ โครงการแก้ไขปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อม บ้านลานช้าง ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสมจิตร หมวดมณี

ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อม บ้านลานช้าง

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-01865 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2018 ถึง 30 กันยายน 2019


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ไขปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อม บ้านลานช้าง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อม บ้านลานช้าง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อม บ้านลานช้าง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-01865 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2018 - 30 กันยายน 2019 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 99,505.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้คณะทำงานและชุมชนจัดการขยะสู่ความยั่งยืนของชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 1
  2. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 2
  3. กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะทำงานเพื่อออกแบบวางแผนการดำเนินงานโครงการ
  4. กิจกรรมที 2 เวทีสร้างความเข้าใจเรียนรู้สถานการณ์ขยะในชุมชนรับสมัครครัวเรือนต้นแบบและครัวเรือนเข้าร่วมโครงการร่วมออกแบบเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ก่อนและหลัง
  5. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 3
  6. กิจกรรมที่ 6 ศึกษาดูงานการจัดการขยะ บ้านควนโดน จ.สตูล
  7. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 4
  8. กิจกรรมที่ 3 คณะทำงานและครัวเรือนต้นแบบร่วมรณรงค์ Big Cleaning Day ครั้งที่ 1
  9. กิจกรรรมที่ 10 ประชุมประชุมเดือน ครั้งที่ 5
  10. กิจกรรมที่ 4 อบรมคณะทำงานและครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะและการนำขยะไปใช้ประโยชน์
  11. กิจกรรมที่ 3 คณะทำงานและครัวเรือนต้นแบบร่วมรณรงค์ Big Cleaning Day ครั้งที่ 2
  12. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 6
  13. กิจกรรมที่ 5 ประชุมให้ความรู้การจัดการขยะแก่คณะทำงานและครัวเรือนเข้าร่วม
  14. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 7
  15. กิจกรรมที่ 7 จัดทำแผนการจัดการขยะของชุมชน
  16. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือนครั้งที่ 8
  17. กิจกรรมที่ 9 หนุนเสริมครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะ รวมกลุ่มเลี้ยงไส้เดือนบำบัดขยะอินทรีย์
  18. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือนครั้งที่ 9
  19. กิจกรรมที่ 8 รณรงค์ติดตามประเมินผล โดยประกวดบ้านต้นแบบ ครั้งที่ 1
  20. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือนครั้งที่ 10
  21. กิจกรรมที่ 8 รณรงค์ติดตามประเมินผล โดยประกวดบ้านต้นแบบ ครั้งที่ 2
  22. กิจกรรมที่ 10 กิจกรรมประชุมประจำเดือนครังที่ 11
  23. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือนครั้งที่ 12
  24. กิจกรรมที่ 8 รณรงค์เปลี่ยนกองขยะเป็นสวนดอกไม้ ครั้งที่ 3
  25. กิจกรรมที่ 11 เวทีคืนข้อมูลสรุปผลงานโครงการสู่ชุมชน
  26. เวทีคืนข้อมูล
  27. เวทีคืนข้อมูล
  28. ประเมินติดตามผลโครงการการแก้ไขปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อมบ้านลานช้าง
  29. ประเมินติดตามผลโครงการการแก้ไขปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อมบ้านลานช้าง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
คณะทำงานและครัวเรือนต้นแบบ 59% ของครัวเรือนทั้งชุม 60

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ปริมาณขยะในชุมชนลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 1

วันที่ 9 ธันวาคม 2018

กิจกรรมที่ทำ

เริ่มประชุมเวลา 13.00 น. ได้รับสมัครครัวเรือนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ                     14.00 น คัดเลือกคณะทำงานแต่ละกลุ่มบ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ครัวเรือนต้นแบบ 60 ครัวเรือน ได้คณะทำงาน 30 คน

 

16 0

2. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 2

วันที่ 9 มกราคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเรื่องกำหนดการวันเปิดโครงการ
แบ่งหน้าที่รับผิดชอบที่ละฝ่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กำหนดวันเวลาที่เปิดโครงการ ในวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 62 โดยนายอำเภอเขาชัยสน (นายชอบ จันทร์ฉาย) เป็นประธานเปิดโครงการ

 

20 0

3. กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะทำงานเพื่อออกแบบวางแผนการดำเนินงานโครงการ

วันที่ 22 มกราคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงาน จำนวน 30 คนเข้าร่วมออกแบบวางแผนการจัดการขยะทั้งชุมชน แบ่งคณะทำงานตามกลุ่มบ้านมี 6 กลุ่มบ้าน
1.บ้านลานช้าง 5 คน 2.บ้านทุ่งอ้อ 5 คน
3.บ้านควนสัมพันธ์ 5 คน
4.บ้านควนหญ้าคา 5 คน
5.บ้านควนอ้ายเม่น 5 คน
6.บ้านห้วยโพรงหมี 5 คน คณะทำงานมีหน้าที่เชิญชวนรับสมัครครัวเรือนเป้าหมายเข้าร่วมโครงการการจัดการขยะ ภาคีร่วม มี พี่เลี้ยงสสส.3 คน ตัวแทนรพสต. บ้านลานช้าง1 คน และ ตัวแทนโรงเรียน 1 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้คณะทำงาน 30 คน แต่ละคนมีหน้าที่ที่รับผิดชอบ

 

30 0

4. กิจกรรมที 2 เวทีสร้างความเข้าใจเรียนรู้สถานการณ์ขยะในชุมชนรับสมัครครัวเรือนต้นแบบและครัวเรือนเข้าร่วมโครงการร่วมออกแบบเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ก่อนและหลัง

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2019

กิจกรรมที่ทำ

13.00 -14.00 น. -คุณประพันธ์ อินทรสุขเป็น พิธีกรดำเนินรายการ
ลงทะเบียนเข้าร่วมเวทีฯ คุณประพันธ์ อินทรสุขคุณภียภัทร อินราช คุณอาภรณ์ พรหมบุญแก้ว คุณราตรี จันทร์บ่อน้อย 14.00 – 14.30 น. -จนท.รพสต.ลานช้างพูดถึงสถานการณ์ปัญหาขยะและผลกระทบจากการไม่คัดแยกขยะ ระดับชาติ ระดับจังหวัด และระดับพื้นที่บ้านลานช้าง
14.30 – 15.00 น. -ผู้ใหญ่สมจิตร หมวดมณีชี้แจงรายละเอียดโครงการ รับสมัครครัวเรือนเข้าร่วมโครงการ 60 ครัวเรือน
15.00- 15.30 น. -นายอำเภอเขาชัยสนประธานปาฐกถาเพื่อสร้างความร่วมมือดูแลสุขภาพฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมด้วยการคัดแยกขยะและใช้ไส้เดือนย่อยสลายขยะอินทรีย์
15.30 – 16.00 น. -ผู้ใหญ่สมจิตร หมวดมณีปิดโครงการ
ภาคีร่วม พี่เลี้ยงสสส. 5 คน ครูจากม.ทักษิณสงขลา 1คน นักศึกษาจากม.ทักษิณสงขลา 10 คน ตัวแทนรพสต. 1 คน ท้องที่ (กำนัน) 1 คน นายอำเภอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีครัวเรียนสมัครครัวเรือนต้นแบบ 60 ครัวเรือน

 

211 0

5. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 3

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2019

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมวางแผนการศึกษาดูงาน
กำหนด วัน เวลา และสถานที่ศึกษาดูงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับสมัครคนที่สนใจเพื่อไปดูงานที่บ้านควนโดน จ.สตูล จำนวน 45 กำหนดวันศึกษาดูงานวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2562

 

21 0

6. กิจกรรมที่ 6 ศึกษาดูงานการจัดการขยะ บ้านควนโดน จ.สตูล

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2019

กิจกรรมที่ทำ

เรียนรู้การคัดแยกขยะและการจัดการขยะเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในชุมชน คณะทำงานและครัวเรือนเป้าหมายจำนวน 45 คน พี่เลี้ยงสสส. 2 คน
วิทยากรให้ความรู้การจัดการขยะของบ้านควนโดน ถานที่1ทำแก๊สจากขยะเปียก ถานที่2ทำน้ำหมักจากขยะเปียก ถานที่3ธนาคารศูนย์บาท ถานที่4ถังขยะรักษ์โลกนำขยะเปียกเช่น เศษข้าวแกง นำไปใส่ถังรักษ์โลกแล้วปิดฝาทิ้งไว้ใกล้ๆต้นไม้ คณะทำงานสนใจทุกฐานการเรียนรู้ และชอบถังขยะรักษ์โลกกันทุกคน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครัวเรือนต้นแบบจำนวน 45 ครัวเรือน ได้ความรู้การจัดการขยะสามารถบอกได้ว่าขยะมีกี่ประเภท

 

50 0

7. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 4

วันที่ 9 มีนาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะแก่คณะทำงานและครัวเรือนเข้าร่วม 60 ครัวเรือน สรุปผลจากการศึกษาดูงานที่บ้านควนโดน จ.สตูล และกำหนดการขับเคลื่อนโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กำหนดวัน big cleanning day ครั้งที่1 ในวันที่ 11 มีนาคม 62

 

31 0

8. กิจกรรมที่ 3 คณะทำงานและครัวเรือนต้นแบบร่วมรณรงค์ Big Cleaning Day ครั้งที่ 1

วันที่ 11 มีนาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงาน และครัวเรือนเป้าหมาย 60 คนร่วมทำความสะอาดบริเวณลานวัดลานช้างและเดินเก็บขยะบริเวณริมถนนหน้าวัดลานช้างไปจนถึงบริเวณศาลาอเนกประสงค์หมู่บ้าน เพื่อเป็นแบบอย่างให้คนในชุมชนได้ตระหนักและได้มีส่วนร่วมในการจัดการขยะของชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ

 

60 0

9. กิจกรรรมที่ 10 ประชุมประชุมเดือน ครั้งที่ 5

วันที่ 9 เมษายน 2019

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานทบทวนกฎกติกา และรายงานเอกสารการเงิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ให้ครัวเรือนต้นแบบได้ทำถังรักษ์โลกครัวละ 1 ถัง

 

30 0

10. กิจกรรมที่ 4 อบรมคณะทำงานและครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะและการนำขยะไปใช้ประโยชน์

วันที่ 21 เมษายน 2019

กิจกรรมที่ทำ

สถานที่ ศาลาประจำหมู่บ้าน สมาชิกครัวเรือนจำนวน 187 คน กำนันเอิบ ยางสูงเป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่องขยะ หมอชัยมงคล กองเอียดตัวแทนรพสต.บ้านลานช้างเป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่องขยะติดเชื้อ และมีพี่เลี้ยงสสส. 2 คนเข้าร่วม เกิดกติกาชุมชน 5 ข้อ 1.ลดขยะนำเข้า 2.ใช้ถุงผ้าใช้ตะกร้าไปจ่ายตลาดแทนถุงพลาสติก 3.ไม่ใช้โฟม 4.จะไม่ดุด่าคนทิ้งขยะแต่จะใช้วิธีใครทิ้งเราเก็บ 5.มีการรับซื้อขยะรีไซเคิลทุกวันที่ 9 เดือน
1.ชุมชนบ้านลานช้าง คัดแยกขยะแล้ว 15 ครัว 2.ชุมชนบ้านทุ่งอ้อ คัดแยกขยะแล้ว 50 ครัว 3.ชุมชนบ้านควนสัมพันธ์ คัดแยกขยะแล้ว 15 ครัว 4.ชุ่มชนบ้านควนหญ้าคา คัดแยกขยะแล้ว 20 ครัว 5.ชุมชนบ้านควนอ้ายเม่น คัดแยกขยะแล้ว 10 ครัว 6.ชุมชนบ้านห้วยโพรงหมี คัดแยกขยะแล้ว 20 ครัว ขยะที่มีปัญหาในการจัดการคือ ขยะทั่วไป มีการเลี้ยงไส้เดือนเพื่อย่อยสลายขยะอินทรีย์ 1 ครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้การคัดแยกขยะ ขยะติดเชื้อ การใช้ปุ้ยอินทรีย์ในการปลูกผักโดยไม่ใช้สารพิษ การคัดแยกขยะและนำขยะไปใช้ประโยชน์

 

211 0

11. กิจกรรมที่ 3 คณะทำงานและครัวเรือนต้นแบบร่วมรณรงค์ Big Cleaning Day ครั้งที่ 2

วันที่ 25 เมษายน 2019

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานและครัวเรือนเป้าหมาย 60 คน และภาคีเครือข่ายร่วมรณรงค์ลด ละเลิก ขยะนำเข้า และโฟม รณรงค์ลด ละเลิก ขยะนำเข้า และโฟม ใช้ถุงผ้า ตะกร้า ปิ่นโต กล่องใส่อาหารแทนถุงพลาสติกเวลาไปจ่ายตลาด ที่ตลาดนัดบ้านควนยวน
เก็บขยะจากตลาดนัดบ้านควนยวนมาถึงศาลาประจำหมู่บ้านลานช้าง คณะทำงานและครัวเรือนเป้าหมาย สร้างแรงจูงใจในการคัดแยกขยะโดยทำเป็นแบบอย่าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การจ่ายตลาดโดยใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก
ลดการนำเข้าขยะในชุมชน

 

60 0

12. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 6

วันที่ 4 พฤษภาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานประชุมทบทวนติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนเรื่องการจัดการขยะในการทบทวนครั้งนี้มีการมอบหมายบทบาทหน้าที่ใหม่ให้แก่คณะทำงานโดยมีการถ่ายภาพเก็บไว้เพื่อจะได้ตามงานได้ถูกคน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กำหนดจัดกิจกรรมในวันที่ 9 พฤษภาคม 62

 

16 0

13. กิจกรรมที่ 5 ประชุมให้ความรู้การจัดการขยะแก่คณะทำงานและครัวเรือนเข้าร่วม

วันที่ 9 พฤษภาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 188 คน ประกอบด้วย คณะทำงานและครัวเรือนเป้าหมายจำนวน 60 คน ภาคีเครือข่าย เกษตรอำเภอเขาชัยสน ปลัดอำเภอเขาชัยสน ปราชญ์ชาวบ้าน ชาวบ้านทั่วไป 125 คน
คณะทำงานและครัวเรือนเป้าหมายจำนวน 60 คน และ ชาวบ้านทั่วไป 125 คน มีความรู้ในการคัดแยกขยะ และรู้วิธิการจัดการขยะอินทรีย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถนำความรู้การจัดการขยะนำไปเผยแพร่แก่สมาชิกในครัวเรือน

 

211 0

14. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 7

วันที่ 9 มิถุนายน 2019

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเตรียมจัดทำแผนการจัดการขยะของชุมชน รับสมัครประกวดครัวเรือนต้นแบบการกำจัดขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ครัวเรือนต้นแบบที่จะประกวดจำนวน 30 ครัวเรือน

 

30 0

15. กิจกรรมที่ 7 จัดทำแผนการจัดการขยะของชุมชน

วันที่ 12 มิถุนายน 2019

กิจกรรมที่ทำ

13.00 น สมาชิกมาพร้อมกันที่ศาลาประจำหมู่บ้าน 13.30 น รับครัวเรือนต้นแบบเพิ่มเติมจากเดิม       ให้แต่ละกลุ่มบ้านส่งตัวแทนออกมาพูดถึงความก้าวหน้าว่ามีการพัฒนาถึงขั้นไหน 14.00 น สรุปแนวทางการกำจัดขยะอย่างเป็นระบบ
คณะทำงานและครัวเรือนเป้าหมายเกิดความรู้ความเข้าใจต้นทางของขยะแต่ละประเภทและปลายทางของขยะไปไหน ขยะอินทรีย์นำไปทำน้ำยาล้างจาน ทำปุ๋ยหมัก เลี้ยงไส้เดือน ขยะรีไซเคิลนำไปขาย ขยะอันตรายให้อบต.นำไปจัดการ เหลือขยะทั่วไปยังจัดการเผาอยู่บ้าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีครัวเรือนสนใจเพิ่มเติมจากเดิม ครัวเรือนมีควาเข้าใจเรื่องขยะมากขึ้นและสามารถแยกขยะได้

 

21 0

16. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือนครั้งที่ 8

วันที่ 2 กรกฎาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน จำนวน 35 คน ทบทวนติดตามประเมินผลกิจกรรมครั้งก่อนหน้านี้ และวางแผนเตรียมการเพื่อขับเคลื่อนการทำงานในครั้งต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีมติให้แกนนำจำนวน 60 ครัวเรือนได้เลี้ยงไส้เดือนเพื่อกำจัดและบำบัดขยะอินทรีย์

 

20 0

17. กิจกรรมที่ 9 หนุนเสริมครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะ รวมกลุ่มเลี้ยงไส้เดือนบำบัดขยะอินทรีย์

วันที่ 9 กรกฎาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

ครัวเรือน เป้าหมายได้นำไส้เดือนไปเลี้ยงเพื่อขยายผลให้กับบุคคลที่สนใจจะเลี้ยงไส้เดือนเพื่อช่วยสลายขยะอินทรีย์ คณะทำงานเกิดความรู้ความเข้าใจและประโยชน์ของการเลี้ยงไส้เดือน เกิดตัวแทนผู้รับผิดชอบติดตามประเมินผลครัวเรือนเป้าหมายทั้ง 6 คุ้มบ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มึสมาชิกทั้ง 6 กลุ่มบ้าน กลุ่มบ้านละ 10 คน มีการแจกไส้เดือนคนละ 1 ชุดทอลองเลี้ยง

 

16 0

18. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือนครั้งที่ 9

วันที่ 20 กรกฎาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

สถานที่ ศาลาประจำหมู่บ้าน มีคณะทำงาน 36 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นัดประชุมปรึกษาหารือที่ศาลาประจำหมู่บ้าน มีคณะทำงานจำนวน 36 คน

 

36 0

19. กิจกรรมที่ 8 รณรงค์ติดตามประเมินผล โดยประกวดบ้านต้นแบบ ครั้งที่ 1

วันที่ 5 สิงหาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงาน 15 คน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 15 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทุกคนพร้อมเพรียงกัน ณ ศาลาประจำหมู่บ้าน เพื่อดำเนินกิจกรรม คณะทำงานรวบรวมภาพผู้ร่วมเข้าประกวดบ้านต้นแบบ จำนวน 20 บ้าน

 

30 0

20. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือนครั้งที่ 10

วันที่ 9 สิงหาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานจำนวน 36 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานวางแผนปรึกษาเผื่อดำเนินกิจกรรมต่อไป

 

36 0

21. กิจกรรมที่ 8 รณรงค์ติดตามประเมินผล โดยประกวดบ้านต้นแบบ ครั้งที่ 2

วันที่ 15 สิงหาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานพร้อมกันที่ศาลาประจำหมู่บ้าน ออกเดินทางไปตรวจบ้านที่ส่งประกวดทุกกลุ่มบ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานออกไปตรวจดูบ้านที่ส่งประกวด แต่ละกลุ่มบ้าน

 

30 0

22. กิจกรรมที่ 10 กิจกรรมประชุมประจำเดือนครังที่ 11

วันที่ 18 สิงหาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงาน 15 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานพูดคุยวางแผนเพื่อดำเนินงานครั้งต่อไป

 

25 0

23. กิจกรรมที่ 8 รณรงค์เปลี่ยนกองขยะเป็นสวนดอกไม้ ครั้งที่ 3

วันที่ 23 สิงหาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานมีการประชุมเพื่อแก้ปัญหาขยะริมถนนสายเอเชียที่บุคคลภายนอกทิ้ง ได้มีมติว่า เราจะเปลี่ยนกองขยะเป็นสวนดอกไม้ริมทาง เปลี่ยนขยะริมทางเป็นมีดอกไม้ริมทาง และต่อไปหน้าบ้านทุกครัวเรือนจะมีแปลงดอกไม้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานร่วมกันพิจารณาเลือกบ้านดีเด่น

 

23 0

24. กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือนครั้งที่ 12

วันที่ 9 กันยายน 2019

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงาน 15 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วางแผนปรึกษาเพื่อดำเนินการโครงการครั้งต่อไป

 

15 0

25.

วันที่ 9 กันยายน 2019

กิจกรรมที่ทำ

มีการประเมินผลติดตามหลังคืนข้อมูลให้กับชุมชนโดยการสอบถามคณะทำงานว่าเราได้อะไรจากการทำโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1.ได้ปุ๋ยมูลไส้เดิอนจากการเลี้ยงไส้เดือนย่อยสลายขยะอินทรีย์ 2.น้ำหมักชีวภาพ 3.ผลิตภัณฑ์น้ำยาล้างจานขจัดสารเคมีบ้านลานช้าง 4.ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ 5.ไม่มีแหล่งเพาะพันธ์ยุงและเชื้อโรค 6.คนในชุมชนไม่นำขยะไปทิ้งที่จุดเสี่ยง 4 จุด 7.มีการคัดแยกขยะ ผลลัพธ์ เกิดความรู้ความตระหนักเรื่องขยะ เกิดคณะทำงานจำนวน 23 คน จากตัวแทน 6 กลุ่มบ้าน และมีภาคีร่วม รพสต. โรงเรียน วัด และ อบต.ปริมาณขยะในชุมชนลดลง 25,845 กก/เดือน  จากปริมาณขยะก่อนเริ่มโครงการ 37,695 กก/เดือน.คงเหลือขยะในชุมชน 11,850 กก./เดือน ซึงเป็นขยะทั่วไปที่ชุมชนกำลังหาวิธีการจัดการ จุดเสี่ยงทั้ง 4 จุดไม่มีขยะ ด้านเศรษฐกิจ  -ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้    ด้านสังคม  - เกิดกลไกการมีส่วนร่วม เกิดความรักความสามัคคึของคณะทำงาน  ด้านสุขภาพ -ลดไข้เลือดออก - ลดโรคNCD -กินผักผลไม้ปลอดสารพิษ ด้านสิ่งแวดล้อม -บ้านเมืองสวยงาม -ลดละเลิกใช้สารเคมี -มลพิษลดลง มีหน่วยเคลื่อนที่เร็วในการเก็บขยะ เกิด นวัตกรรมขึ้นมาคือ "เปลี่ยนกองขยะเป็นสวนดอกไม้ "

 

0 0

26. คณะทำงานและทีมพี่เลี้ยงร่วมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ครั้งที่1 ก่อนคืนข้อมูลให้กับชุมชน

วันที่ 15 กันยายน 2019

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินติดตามผลการดำเนินกิจกรรมโครงการก่อนคืนข้อมูลให้ชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานโดยนางสมจิตร  หมวดมณี ขยะลดลง 25,845กก.คิดเป็น  68.56%
ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ 132 ครัวเรือนคิดเป็น 62.559% จาก 211ครัวเรือน จุดเสี่ยง4 จุดไม่มีขยะ การแก้ไขปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อมบ้านลานช้าง

 

0 0

27. กิจกรรมที่ 11 เวทีคืนข้อมูลสรุปผลงานโครงการสู่ชุมชน

วันที่ 18 กันยายน 2019

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงาน ผู้เข้าร่วมงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปิดโครงการ คืนข้อมูลการขับเคลื่อนงานของคณะทำงาน

 

211 0

28. เวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)พื้นที่โครงการภายใต้หน่วยจัดการระดับจังหวัดในการสร้างเสริมสุขภาพจังหวัดพัทลุง

วันที่ 18 กันยายน 2019

กิจกรรมที่ทำ

รายงานสรุปผลลัพธ์จากการดำเนินโครงการให้ทีมประเมินสสส.จากส่วนกลางรับทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการดำเนินงานโดยนางสมจิตร  หมวดมณี สภาวะขยะที่ลดลงหลังจากดำเนินการโครงการ บรรยายผลกระทบการจัดการขยะกับการควบคุมโรค โดยนายยิ่งยศ  ยิ่งพลพงศ์ จนท. รพสต.บ้านลานช้าง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการดำเนินการการจัดการขยะในอนาคต โดยนายสุชิต ชูเชิด รองนายกอบต.เขาชัยสน สาธิตการเลี้ยงไส้เดือน โดย นางสุภร  เพ็งมี สาธิตการทำน้ำยาล้างจาน โดย นางยุพิน  มณีพันธ์

 

0 0

29. ประเมินติดตามผลโครงการการแก้ไขปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อมบ้านลานช้าง

วันที่ 7 ตุลาคม 2019

กิจกรรมที่ทำ

มีการประเมินผลติดตามหลังคืนข้อมูลให้กับชุมชนโดยการสอบถามคณะทำงานว่าเราได้อะไรจากการทำโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1.ได้ปุ๋ยมูลไส้เดิอนจากการเลี้ยงไส้เดือนย่อยสลายขยะอินทรีย์ 2.น้ำหมักชีวภาพ 3.ผลิตภัณฑ์น้ำยาล้างจานขจัดสารเคมีบ้านลานช้าง 4.ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ 5.ไม่มีแหล่งเพาะพันธ์ยุงและเชื้อโรค 6.คนในชุมชนไม่นำขยะไปทิ้งที่จุดเสี่ยง 4 จุด 7.มีการคัดแยกขยะ ผลลัพธ์ เกิดความรู้ความตระหนักเรื่องขยะ เกิดคณะทำงานจำนวน 23 คน จากตัวแทน 6 กลุ่มบ้าน และมีภาคีร่วม รพสต. โรงเรียน วัด และ อบต.ปริมาณขยะในชุมชนลดลง 25,845 กก/เดือน  จากปริมาณขยะก่อนเริ่มโครงการ 37,695 กก/เดือน.คงเหลือขยะในชุมชน 11,850 กก./เดือน ซึงเป็นขยะทั่วไปที่ชุมชนกำลังหาวิธีการจัดการ จุดเสี่ยงทั้ง 4 จุดไม่มีขยะ ด้านเศรษฐกิจ  -ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้    ด้านสังคม  - เกิดกลไกการมีส่วนร่วม เกิดความรักความสามัคคึของคณะทำงาน  ด้านสุขภาพ -ลดไข้เลือดออก - ลดโรคNCD -กินผักผลไม้ปลอดสารพิษ ด้านสิ่งแวดล้อม -บ้านเมืองสวยงาม -ลดละเลิกใช้สารเคมี -มลพิษลดลง มีหน่วยเคลื่อนที่เร็วในการเก็บขยะ เกิด นวัตกรรมขึ้นมาคือ "เปลี่ยนกองขยะเป็นสวนดอกไม้ "

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้คณะทำงานและชุมชนจัดการขยะสู่ความยั่งยืนของชุมชน
ตัวชี้วัด : 1 ประชาชนในชุมชนได้เรียนรู้สถานการณ์ปัญหาขยะในชุมชนไม่น้อยกว่า 50 %ของครัวเรือน 2. รับสมัครครัวเรือนต้นแบบเข้าร่วมโครงการ 60 ครัวเรือน 3.คณะทำงานมีความรู้ไม่น้อยกว่า 15 คนจาก 6 กลุ่มบ้าน 4. มีแกนนำขับเคลื่อนการจัดการขยะ 15 คน ครอบคลุม 6 กลุ่มบ้านของชุมชน 5. มีกติกาการจัดการขยะที่ได้รับการยอมรับจากชุมชน 6. ครัวเรือนร่วมปฏิบัติการตามกติการ้อยละ 50% ของครัวเรือน 7.ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะได้และปฏิบัติการตามกติกา ไม่น้อยกว่าร้อยละ50% 8.นำขยะอินทรีย์ในครัวเรือนมาทำปุ๋ยหมักหมักไม่น้อยกว่า 1 กลุ่ม 9. ปริมาณขยะของครัวเรือนลดลงร้อยละ 50% ของขยะทั้งชุมชน
469.00 211.00

คณะทำงานบ้านลานช้างได้มีประชุมแลกเปลี่ยนความคิดกันว่าบริเวณจุดเสี่ยงและริมถนนจะทำอย่างไรไม่ให้คนที่สัญจรไปมาแอบทิ้งขยะจึงเกิดไอเดียขึ้นมาว่าเราจะเปลี่ยนกองขยะเป็นสวนดอกไม้และจะขยายไปหน้าบ้านทุกครัวเรือนในชุมชนด้วย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
คณะทำงานและครัวเรือนต้นแบบ 59% ของครัวเรือนทั้งชุม 60

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คณะทำงานและชุมชนจัดการขยะสู่ความยั่งยืนของชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 1 (2) กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 2 (3) กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะทำงานเพื่อออกแบบวางแผนการดำเนินงานโครงการ (4) กิจกรรมที 2 เวทีสร้างความเข้าใจเรียนรู้สถานการณ์ขยะในชุมชนรับสมัครครัวเรือนต้นแบบและครัวเรือนเข้าร่วมโครงการร่วมออกแบบเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ก่อนและหลัง (5) กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 3 (6) กิจกรรมที่ 6 ศึกษาดูงานการจัดการขยะ บ้านควนโดน จ.สตูล (7) กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 4 (8) กิจกรรมที่ 3 คณะทำงานและครัวเรือนต้นแบบร่วมรณรงค์ Big Cleaning Day ครั้งที่ 1 (9) กิจกรรรมที่ 10 ประชุมประชุมเดือน ครั้งที่ 5 (10) กิจกรรมที่ 4  อบรมคณะทำงานและครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะและการนำขยะไปใช้ประโยชน์ (11) กิจกรรมที่ 3 คณะทำงานและครัวเรือนต้นแบบร่วมรณรงค์  Big Cleaning Day ครั้งที่ 2 (12) กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 6 (13) กิจกรรมที่ 5  ประชุมให้ความรู้การจัดการขยะแก่คณะทำงานและครัวเรือนเข้าร่วม (14) กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือน ครั้งที่ 7 (15) กิจกรรมที่ 7 จัดทำแผนการจัดการขยะของชุมชน (16) กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือนครั้งที่ 8 (17) กิจกรรมที่  9  หนุนเสริมครัวเรือนต้นแบบการคัดแยกขยะ รวมกลุ่มเลี้ยงไส้เดือนบำบัดขยะอินทรีย์ (18) กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือนครั้งที่ 9 (19) กิจกรรมที่ 8 รณรงค์ติดตามประเมินผล โดยประกวดบ้านต้นแบบ ครั้งที่ 1 (20) กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือนครั้งที่ 10 (21) กิจกรรมที่ 8 รณรงค์ติดตามประเมินผล โดยประกวดบ้านต้นแบบ ครั้งที่ 2 (22) กิจกรรมที่ 10 กิจกรรมประชุมประจำเดือนครังที่ 11 (23) กิจกรรมที่ 10 ประชุมประจำเดือนครั้งที่ 12 (24) กิจกรรมที่ 8 รณรงค์เปลี่ยนกองขยะเป็นสวนดอกไม้ ครั้งที่ 3 (25) กิจกรรมที่ 11 เวทีคืนข้อมูลสรุปผลงานโครงการสู่ชุมชน (26) เวทีคืนข้อมูล (27) เวทีคืนข้อมูล (28) ประเมินติดตามผลโครงการการแก้ไขปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อมบ้านลานช้าง (29) ประเมินติดตามผลโครงการการแก้ไขปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อมบ้านลานช้าง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อม บ้านลานช้าง

รหัสโครงการ 61-01865 ระยะเวลาโครงการ 15 พฤศจิกายน 2018 - 30 กันยายน 2019

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

เปลี่ยนกองขยะเป็นสวนดอกไม้ เปลี่ยนขยะริมทางเป็นดอกไม้ริมทาง

จากรายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุขและการถอดบทเรียน

จะทำแปลงปลูกดอกไม้หน้าบ้านขยายผลทุกครัวเรือนในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

มีการทำน้ำยาล้างจานขจัดสารเคมีจากขยะอินทรีย์ และการใช้ปุ๋ยมูลไส้เดือนจากการเลี้ยงไส้เดือนช่วยย่อยสลายขยะอินทรีย์

จากผลิตภัณฑ์ที่ได้ทำมาแจกจ่ายในเวทีคืนข้อมูลและนำมาออกบู๊ทเวทีสานพลังขับเคลื่อนเมืองลุงมุ่งสู่กรีนซิตี้

มีการผลิตน้ำยาล้างจานและมีการขยายการเลี้ยงไส้เดือนเพิ่มในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

เกิดคณะทำงานที่มีความสามัคคีรักใคร่กลมเกลียวกันซึ่งภาพเหล่านี้มันเลือนหายไปเป็น10ปีแล้วจากชุมชน

จากการถอดบทเรียนของชุมชน

ความสามัคคีเป็นจุดแข็งของชุมชนในการต่อยอดแหล่งงบประมาณใหม่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ "ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ไข" บ้านลานช้างใช้หลักการทำงานแบบมีส่วนร่วม

จากการถอดบทเรียนของชุมชนและรายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุข

เจอคนที่ใช่ใด้คนที่จะเข้ามาร่วมพัฒนา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิดกลไกการมีส่วนร่วมจากกลุ่มตัวแทนต่างๆคือรพสต.โรงเรียน อบต. อสม. ปราชญ์ชาวบ้าน กรรมการหมู่บ้าน วัด ตัวแทน 6 คุ้มบ้าน

จากการถอดบทเรียนของชุมชนและรายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุข

ให้โอกาสสนับสนุนคนเก่งคนกล้าเข้ามามีส่วนร่วม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

มีสวนดอกไม้จากกองขยะเป็นจุดเช็คอิน มีปราชย์ผู้เชี่ยวชาญในการทำน้ำยาล้างจานและการทำน้ำหมัก

จากการถอดบทเรียนของชุมชนและรายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุข

ขยายสู่ครัวเรือนในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ไข้เลือดออกลดลงจาก5คนเหลือ1 คน คนกินผักปลอดสารพิษเพิ่มขึ้น ลดภาระเสี่ยงจากการเป็นโรคNCD
แหล่งเพาะพันธ์ยุงและเชื้อโรคลดลง

รายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุขและการประเมินติดตามผล

เกิดโครงการร่วมใจกำจัดขยะป้องกันโรค

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

คนกินผักปลอดสารพิษเพิ่มขึ้น มีการปลูกผักและใช้ปุ๋ยมูลไส้เดือน

จากรายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุขและการประเมินติดตามผล

ส่งเสริมการปลูกผักและผลไม้ในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

คณะทำงานและทีมอสม.มีการออกกำลังกายทุกตอนเย็นที่ศาลาหมู่บ้าน

รายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุขและภาพถ่ายในไลน์กลุ่ม

ให้มีการออกกำลังต่อเนื่องและเชิญชวนคนในชุมชนมาออกกำลังกายด้วย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ประชาชนในชุมชนเกิดความตื่นตัว ลุกขึ้นมาจัดการตนเอง ปลุกสามัญสำนึกในการมีส่วนร่วม เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม

จากภาพถ่ายและจากการถอดบทเรียน

สนับสนุนส่งเสริมให้ทุกคนตระหนักรู้ถึงอันตรายที่เกิดจากขยะมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

ลานช้างสะอาดสวยงาม การใช้สารเคมี ลดลง มลพิษลดลง

รายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุขและการประเมินติดตามผล

เกิดโครงการร่วมใจกำจัดขยะป้องกันโรค

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

เกิดกลไกการมีส่วนร่วมจากกลุ่มตัวแทนต่างๆคือรพสต.โรงเรียน อบต. อสม. ปราชญ์ชาวบ้าน กรรมการหมู่บ้าน วัด ตัวแทน 6 คุ้มบ้าน

จากการถอดบทเรียนของชุมชนและรายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุข

ให้โอกาสสนับสนุนคนเก่งคนกล้าเข้ามามีส่วนร่วม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

ลดขยะเพิ่มรายได้

จากรายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุขและการประเมินติดตามผล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

เกิดกติกาชุมชนในเรื่องการจัดการขยะ 8 ข้อ 1.คณะทำงานมีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ1 ครั้ง 2.ใช้ถุงผ้า เวลาไปจ่ายตลาด 3.มีการรณรงค์อย่างน้อยเดือนละ1 ครั้งใน 6 กลุ่มบ้าน 4.มีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ ทั้ง 4 ประเภท 5.มีแผนการจัดการขยะ 6.คณะทำงานติดตามการจัดการขยะในชุมชนอย่างต่อเนื่อง 7.มีการขายขยะรีไซเคิลทุกวันที่ 9 ของเดือน 8.มีการบังคับใช้มาตรการทางกฎหมาย

จากรายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุขและการประเมินติดตามผล

ใช้กฎ กติกา เป้นกลไกขับเคลื่อนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

มีการบังคับใช้มาตรการทางกฎหมายเช่นขึ้นป้ายห้ามทิ้งขยะบริเวณนี้ฝ่าฝืนมีโทษปรับ

จากรายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุขและการประเมินติดตามผล

มาตรการนี้จะใช้เป็นทางออกสุดท้าย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีภาคีเครือข่ายเชื่อมโยงทั้งภายในและภายนอก บ้าน วัด โรงเรียน รพสต. อบต. อสม.

จากรายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุขและการประเมินติดตามผล

มีการเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายเพิ่มมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

มีการประชุมคณะทำงานทุกเดือนเพื่อทบทวนติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

จากรายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุขและการประเมินติดตามผล

เกิดทักษะและวิธีการในการแก้ไขปัญหา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

บ้านลานช้างมีทุนที่เป็นทรัพยากรบุคคลแยะมากทั้งคนดี คนเก่ง เพราะคณะทำงานเน้นการมีส่วนร่วมและเปิดโอกาสให้ทุกคนที่อยากทำงานเข้ามามีส่วนร่วม

จากรายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุขและการประเมินติดตามผล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

ยังมีการขับเคลื่อนโครงการอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอโดยคณะทำงาน

ภาพถ่ายในไลน์กลุ่มและในเฟส

มีการปลูกดอกไม้ปรับทิวทัศน์ที่กองขยะให้สวยงามและมีการเก็บขยะอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

คณะทำงานและคนในชุมชนเกิดความรู้ ความตระหนักในการจัดการขยะ

ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ /จากรายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุขและการประเมินติดตามผล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

คณะทำงานมีทักษะและเกิดความรู้ความเข้าใจในการจัดการโครงการ

รู้เส้นทางของแผนที่ขยะ/จากรายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุขและการประเมินติดตามผล

พัฒนาทักษะให้มีความเชี่ยวชาญชำนาญมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

“สวนสวยข้างทางกลางใจฉัน เพราะพวกเราช่วยกันฝันสดใส เพราะพวกเราลานช้างได้ใส่ใจ ลานช้างจึงสวยใสในใจชน”

มีสวนดอกไม้เกิดขึ้น2แปลง/จากรายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุขและการประเมินติดตามผล

ทำแปลงปลูกดอกไม้หน้าบ้านขยายผลทุกครัวเรือนในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

คณะทำงานฯ มีความรักใคร่ปรองดองสมัครสมานสามัคคี

ทุกคนจะทำกิจกรรมด้วยแววตาที่เปี่ยมความสุข/ภาพถ่ายในไลน์กลุ่มและจากเฟสและจากรายงานหน้าwebคนใต้สร้างสุขและการประเมินติดตามผล

สร้างคุณค่าสร้างมูลค่าให้กับตนเองและชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการแก้ไขปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อม บ้านลานช้าง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-01865

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสมจิตร หมวดมณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด