directions_run

โครงการกระบวนการจัดการป่าเสื่อมโทรมบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วม

assignment
บันทึกกิจกรรม
ค่าเปิดบัญชีธนาคาร30 กันยายน 2564
30
กันยายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย Churee
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับทุนโครงการได้ยืมเงินสำรองจ่ายค่าเปิดบัญชีธนาคาร

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับทุนโครงการได้รับเงินคืนค่าเปิดบัญชีธนาคาร

นิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ30 กันยายน 2564
30
กันยายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

การรวบร่วมผลการดำเนินโครงการมารวบร่วมเป็นวีดีโอ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วีดีโอ ที่มาจากการดำเนินโครงการป่าควนเลียบ

จัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์30 กันยายน 2564
30
กันยายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-บันทึกรายละเอียดการรายงาน -ชื่อกิจกรรม -วันที่ปฏิบัติการจัดกิจกรรม -รายละเอียดขั้นตอน การจักกิจกรรม กระบวนการ -รายงานผลที่เกิดขึ้น ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) ที่เกิดขึ้นจริง จากการจักกิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-เรียนรู้พัฒนาการรายงานในระบบออนไลน์ ตามที่หน่วยจัดการพัทลุงจัดขึ้น -รายงานผลการการดำเนินงานตามแผนกิจกรรม ของแต่ละกิจกรรม -มีผู้รับผิดชอบในการรายงาน ของโครงการได้ -สามารถรายงานกิจกรรมผ่านระบบออนไลน์ได้ -เกิดการพัฒนาการรายงานผ่านระบบออนไลน์และขั้นตอนการรายงานได้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากโตนงการ ผลลัพธ์ที่ได้จากการดำเนินกิจกรรมของแต่ละกิจกรรมเข้าสู่การรายงานในระบบออนไลน์ เพื่อที่จะให้ผู้ที่มีความรับผิดชอบสามารถตรวจ การดำเนินงานของโครงการได้ในระบบออนไลน์

ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ครั้งที่ 217 กันยายน 2564
17
กันยายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ผู้รับผิดชอบโครงการ รายงานผลการดำเนินโครงการป่าควนเลียบ -คณะทำงานโครงการป่าควนเลียบ นำเสนอผลลัพธ์จากการดำเนินโครงการป่าควนเลียบ -ภาคีเครือข่าย เติมเต็มการทำงานที่มีส่วนร่วม -หน่วยจัดการพัทลุง เติมเต็มเพื่อการพัฒนาต่อการดำเนินโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ผู้รับผิดชอบโครงการป่าควนเลียบ คณะทำงานป่าควนเลียบ ภาคีเครือข่าย ร่วมทั้งหมด 15 คน -คณะทำงานนำเสนอผลลัพธ์ป่าควนเลียบ -ชุมชนบ้านควนเลียบ 50 % ของครัวเรือนมีความรู้สถานการณ์ป่าเสื่อมโทรของชุมชน -จากการดำเนินการมีครัวเรือนมีความรู้สถานการณ์ป่าเสื่อมโทรของชุมชน 58% -เกิดคณะทำงานฟื้นฟูป่าบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วมจากหลายภาคส่วน -1.คณะกรรมการป่าชุมชน 15 คน 2.คณะทำงานจากชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านหมู่บ้านละ 1คน 3.เทศบาลตำบลโคกม่วง 4.เครือข่าย ทสม. ตำบลโคกม่วง -มีชุดข้อมูลป่าชุมชนบ้านควนเลียบในการใช้แก้ปัญหา -ชุดข้อมูลป่าชุมชนจากการสำรวจป่าปกปัก 17 ไร่จากพื้นที่ป่าสงวนทั้งหมด 223 ไร่
-เกิดกลไกคณะทำงานจัดการป่าบ้านควนเลียบ -1.คณะกรรมการป่าชุมชน 15 คน 2.คณะทำงานจากชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านหมู่บ้านละ 1คน 3.เทศบาลตำบลโคกม่วง 4.เครือข่าย ทสม. ตำบลโคกม่วง ทีมร่วมการขับเคลื่อน -มีจำนวนพันธุ์พืชเพิ่มขึ้นในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมไม่น้อยกว่า 120 ต้น/ไร่ -ปลูกป่าเพิ่ม 3,000 ต้น สำรวจเดิม 768 ต้น สำรวจใหม่พบ 32 ชนิดจำนวน 1,248 ต้น เฉลี่ย 295ต้น/ไร่ ที่ไม่รู้จักชื่อมากกว่า 100 ชนิด มากกว่า 500 ต้น -เกิดกติกาข้อตกลงที่ใช้ได้ของชุมชนในการฟื้นป่าบ้านควนเลียบ -1.ไม่โค่นหรือทำลายป่า 2.การปลูกป่าเพิ่มอย่างต่อเนื่อง 3.การนำทรัพยากรป่ามาใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า 4.เขตห้ามล่าสัตว์ทุกชนิด -เกิดแผนการปรับปรุงและสร้างสภาพแวดล้อมป่าและลำคลองให้มีความอุดมสมบูรณ์ -แผนการทำงานอย่างมีส่วนร่วม 1.การปลูกเพิ่มและการนำพืชสมุนไพรในพื้นที่มาใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า 2.การสร้างฝายชะลอน้ำทำให้น้ำอยู่ในพื้นที่ได้นานที่สุด 3.แผนการทำงานตามแผน พรบ.ป่าชุมชน (คณะกรรมการไม่น้อยกว่า 50 คน)เช่น ทางกั้นไฟ พื้นที่ด้านการกิจกรรมและห่อดูไฟ -จำนวนภาคีฟื้นป่าอย่างน้อย 5 ภาคส่วน -1.ป่าไม้จังหวัดพัทลุง 2.ทสจ.พัทลุง 3.เครือข่าย ทสม.ตำบลโคกม่วง 127 คน 4.เทศบาลตำบลโคกม่วง 5.คณะกรรมการป่าชุมชน 15 คน 6.เครือข่ายหมอพื้นบ้านจังหวัดพัทลุง 7.ทีมชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านหมู่บ้านตำบลโคกม่วง -เกิดกติกาชุมชนในการเฝ้าระวังความเสียหาย -1.ไม่โค่นหรือทำลายป่า 2.การปลูกป่าเพิ่มอย่างต่อเนื่อง 3.การนำทรัพยากรป่ามาใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า 4.เขตห้ามล่าสัตว์ทุกชนิด -เกิดฝ่ายขั้นน้ำเพื่อรักษาสภาแวดล้อมของป่าอย่างน้อย 2 ฝ่าย -เกิดฝ่ายในพื้นที่ 3 ตัวขยายผลลงพื้นที่เกาะทองสม 1 ตัวโดยการสนับสนุนของชมกำนันผู้ใหญ่บ้านหมู่บ้านตำบลโคกม่วง -จำนวนป่าชุมชนที่เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 10 % -ป่าชุมชนที่เพิ่มขึ้น 60 % -มีพันธุ์พืชอย่างน้อย 3 อย่าง (พืชใช้สอย พืชอาหาร พืชสมุนไพร)ในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม
-พืชใช้สอย เช่น ทุ้งฟ้า ยอป่าเป็นต้น -พืชอาหาร เช่น สะต่อ มะม่วงหิมพานต์ ขี้เหล็ก จำปะดะ ลูกเนียงเป็รต้น -พืชสมุนไพร เช่น คนทีดำ อีแหวง ราชดัด เจ็ดหมูนเป็นต้น ผู้จัดการหน่วยพัทลุงอาจารย์ไพทูรย์ สองสมและคุณเสณี จ่าวิศูตรได้เติมเต็มในการขยายพื้นที่ป่า ที่หน้าจำดำเนินการได้มากกว่า 17 ในปี่ถัดไปเรื่องป่าร่วมยางเพราะจากการดำเนินงานโครงการป่าควนเลียบที่ผ่านมา มีพื้นที่ป่า ประมาณ 10% ของพื้นที่ทั้งหมดเพื่อให้การดำเนินโครงการที่สามารถขยายผลได้มากกว่า 10% แนวทางการดำเนินงานต่อคือการสร้างพื้นที่ป่าร่วมยางในพื้นที่ป่าควนเลียบพร้อมๆกับการสร้างฝายชะลอน้ำเพื่อการสร้างความสมบูรณ์ของป่าและการสร้างธนาคารต้นไม้ในพื้นที่เพิ่มให้มากยิ่งขึ้น ผู้รับผิดชอบโครงการนายเจริญศักดิ์ ชูสงได้กล่าวขอบคุณทุกๆฝ่ายที่ช่วยกันทำงานเพื่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของบ้านเราให้กลับมามีความสมบูรณ์ต่อไปและยังคงจะดำเนินงานต่อไป ปิดประชุม

จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มอแอลกอฮอล์13 สิงหาคม 2564
13
สิงหาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มอแอลกอฮอล์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มอแอลกอฮอล์ เพื่อการรณรงค์

ขยายผลฝายชะลอน้ำ หมู่ที่ 1บ้านเกาะทองสม9 มิถุนายน 2564
9
มิถุนายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมสร้างฝาย ชะลอน้ำหมู่ที่ 1 บ้านเกาะทองสม ตามแผนการสนับสนุนงบประมาณจากชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้าน ที่ได้รับความรู้จากการสร้างฝายชะลอน้ำที่พื้นที่ป่าควนเลียบ และเป็นที่สนใจของผู้นำชุมชนเรื่องการสร้างฝายกักเก็บน้ำไว้ใช้ในพื้นที่ให้นานที่สุด ในที่ประชุมของชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านจึงมีมติให้ขยายมายังพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านเกาะทองสม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้นำชุมชนและประชาชนในพื้นที่จำนวน 15 คนร่วมกันสร้างฝายชะลอน้ำตามแผนการขยายผลและสนับสนุนงบประมาณจากชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านตำบลโคกม่วง เกิดการสร้างฝายชะลอน้ำขึ้น 1 ตัว ในพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านเกาะทองสม เพื่อการชะลอน้ำในพื้นที่กักเก็บไว้ใช้ทางด้านการเกษตร ของประชากรในชุมชน

ปลูกป่าเพิ่มพื้นที่ป่า ณ.ควนเลียบ26 พฤษภาคม 2564
26
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เป็นกิจกรรมที่ทางชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านตำบลโคกม่วงได้เตรียมปลูกป่าเพิ่มพื้นที่ป่า จำนวน 1000 ต้น กลุ่มเป้าหมาย ทีมชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านตำบลโคกม่วงและทีมเทศบาลตำบลโคกม่วง กศน ตำบลโคกม่วง ทสม ตำบลโคกม่วงและประชาชนทั่วไป ไม่เกิน 50 คนเนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด 19) -พบกันที่จุดรวมพลศาลา หมู๋ทีท 13 บ้านทุ่งเคียน เวลา 13.00 น -ใช้รถที่เตรียมไว้นำคนขึ้นควนเลีบย เวลา 13.30 น -มีการแจ้งวัตถุประสงค์ในการปลูกป่าโดย นายเจริญศักดิ์ ชูสง กำนันตำบลโคกม่วงผู้รับผิดชอบโครงการและนายประภาส เหตุทอง นายกเทศมนตรีตำบลโคกม่วง -แบ่งทีม 1 ทีมขุดหลุมปลูก 2 ทีมขนต้นไม้ 3 ทีมปลูก 4 ทีมเก็บภาพ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน -มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมร่วมกันปลูกต้นไม้ที่ได้้รับการสนับสนุนจากป่าไม้จังหวัด จำนวน 1000 ต้น -เป็นการทำงานที่มีความร่วมมือกันทั้งส่วนของนายเจริญศักดิ์ ชูสง กำนันตำบลโคกม่วงผู้รับผิดชอบโครงการและนายประภาส เหตุทอง นายกเทศมนตรีตำบลโคกม่วงพร้อมด้วย กศน ตำบลโคกม่วง ทสม ตำบลโคกม่วงและประชาชนทั่วไป -มีการแบ่งการทำงานออกเป็น 4 ทีม แบ่งทีม 1 ทีมขุดหลุมปลูก 2 ทีมขนต้นไม้ 3 ทีมปลูก 4 ทีมเก็บภาพ

สำรวจข้อมูลป่าควนเลียบเพิ่มเติม21 พฤษภาคม 2564
21
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานและผู้รับผิดชอบด้านการเก็บข้อมูลป่าควนเลียบ มีการเปลียนแผนเรื่องเวลาจากที่ตกลงไว้ 09.00 นเป๋นเวลา 13.00 น ตามที่ได้ว่างแผนการเก็บข้อมูล ออกเป็น2 ครั้งวันที่ 21/05/64 เป็นการเก็บข้อมูลครั้งที่ 2 โดยจะมีทีมหมอพื้นบ้านร่วมทีมด้วย คณะทำงานพบกันที่ จุดรวมพลควนเลียบเวลา 13.00 น แบ่งทบบาทหน้าที่ ในการเก็บข้อมูล ผู้นำทาง,ปราช์ญชุมชนบอกชื่อพันธ์ไม้,จดบันทึก,จับGPS,ติดรหัสที่ต้นไม้
1. .ข้อมูลพันธ์ไม้ที่เป็นไม้ป่าท้องถิ่นกี่ชนิด 2. .พื้นที่ๆเหมาะสมกับการปลูกป่ากับกล้าไม้ 3. ความสมบรูณ์ของป่าปัจจุบัน เพิ่มเติมในส่วนของพืชสมุนไพรและประโยชน์การนำพืชสมุนไพรมาใช้อย่างไรบ้าง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ทีมสำรวจข้อมูลลงพื้นที่จุดรวมพลที่ทำการผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 13 บ้านทุ่งเคียน เวลา 13.00 น แบ่งทบบาทหน้าที่ ในการเก็บข้อมูล ผู้นำทาง,ปราช์ญชุมชนบอกชื่อพันธ์ไม้,จดบันทึก,จับGPS,ติดรหัสที่ต้นไม้

ประชุมคณะทำงานติดตามความก้าวหน้าครั้งที่ 511 พฤษภาคม 2564
11
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-คณะทำงานติดตามความก้าวหน้าโครงการ -ประเมินการทำงานอย่างมีสวนร่วม -ผลกระทบที่เกิดจากการดำเนินโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานเข้าร่วมประชุม 15 คน คณะทำงานติดตามความก้าวหน้าโครงการ -ติดตามกิจกรรมที่ได้ทำไปแล้วล่าสุดคือการเก็บข้อมูล 1. ข้อมูลพันธ์ไม้ที่เป็นไม้ป่าท้องถิ่น 23 ชนิดที่ทำทะเบียนแล้วทั้งการเก็บข้อมูลเดิมและครั้งล่าสุดรวม 90 ชนิด 2,106 ต้น 2. พื้นที่ๆเหมาะสมกับการปลูกป่ากับกล้าไม้ พืชที่ทนต้องความแล้งได้และพืชสมุนไพร แต่ยังมีพืชอีกนับร้อยชนิดที่ไม่ทราบชื่อ 3. ความสมบรูณ์ของป่าปัจจุบัน เป็นพื้นที่ความหนาแน่นของไม้ต่อ1ตารางเมตร มีพืช 9 ต้นหลากหลายชนิด -ประเมินการทำงานอย่างมีสวนร่วม ถือว่าเป็นการดำเนินโครงการไปได้มากแล้วยังคงเหลือกิจกรรมประมาณ 4 กิจกรรม จากการทำงานที่ได้รับความร่วมมือทั้งทีมงานของชมรมฯ เครือข่ายเทศบาล ป่าไม้จังหวัด ทสจ ร่วทั้งเจ้าของพื้นที่ๆให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ได้ประสาน ป่าไม้จังหวัดเพื่อขอรับกล้าไม้และได้นัดให้ไปรับวันที่ 17 พค 64 จำนวน 1000 ต้น โดยมอบหมายให้นายพิเชษฐ์ กาญจนอนันต์เป็นผู้ไปรับกล้าไม้เพื่อนำมาดูแลไว้ก่อนแล้วค่อยนัดวันปลูกอีกครั้ง -ผลกระทบที่เกิดจากการดำเนินโครงการ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ที่ทำให้โครงการล่าช้า และการเข้ามาร่วมกิจกรรมจากเครือข่ายนอกตำบลต้องลดลง แต่ได้รับการประสานจากหน่วยว่าจะขยายเวลาให้อีก 2 เดือนเนื่องด้วยสถานการณ์

ประชุมคณะทำงานวิเคราะห์ข้อมูล30 เมษายน 2564
30
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ร่วมวางแผนการฟื้นฟูป่าควนเลียบ
  2. กำหนดแผนงานที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่.
  3. ภาคีร่วมวิเคราะห์การทำแผนงานอย่างมีส่วนร่วม
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ร่วมวางแผนการฟื้นฟูป่าควนเลียบ -เกิดการทำงานแผนงานร่วมกัน/ปลูกป่าเพิ่ม/การนำไปใช้ประโยชน์/แผนการดูแลโดยการมีส่วนร่วม 1.1 ประชาชนในพื้นที่คณะกรรมป่าชุมชน/ป่าปกปัก ตามพรบ ไม่น้อยกว่า 50 คน 1.2 องค์กรภายใน/ เทศบาลตำบลโคกม่วง/ผู้นำหมู่บ้านทั้ง 15 หมู่บ้านโดยชมรมกำนันผู้ใหญบ้านตำบลโคกม่วง/อาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน ทสม 127 คน 1.3 องค์กรภายนอก/ป่าไม้จังหวัดพัทลุง/ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดพัทลุง
  2. กำหนดแผนงานที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่. -ร่วมกันกำหนดแผนเพื่อการพัฒนาส่งเสริมการท่องเที่ยวด้านการเกษตรของตำบลโคกม่วง สามารถพัฒนาได้ตามกรอบ พรบป่าชุมชนโดยมีคณะกรรมการไม่น้อยกว่า 50 คน
  3. ภาคีร่วมวิเคราะห์การทำแผนงานอย่างมีส่วนร่วม -แผนพัฒนาถนนเพื่อการท่องเที่ยว -แผนการเฝ้าระวังป้องกันการทำลายป่า -แผนการสำรวจความสมบูรณ์ของป่าและการนำไปใช้ประโยชน์(พืชสมุนไพร) โดยการมีส่วนร่วม 3 ฝ่าย จากการทำงานร่วม -คณะกรรมป่าชุมชน/ป่าปกปัก -องค์กรภายใน/ เทศบาลตำบลโคกม่วง/ผู้นำหมู่บ้านทั้ง 15 หมู่บ้านโดยชมรมกำนันผู้ใหญบ้านตำบลโคกม่วง/อาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน -องค์กรภายนอก/ป่าไม้จังหวัดพัทลุง/ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดพัทลุง
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาครั้งที่ 228 เมษายน 2564
28
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

09.00 น-09.30 น ลงทะเบียน 90.30 น-10.00 น พิธีเิปิด 10.00 น-12.00 น กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงผลลัพธ์ของพื้นที่ 2. ผลลัพธ์ที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของภาคี. 3. ผลกระทบก่อนและระหว่างการดำเนินโครงการ 12.00 น- 13.00 น รัลประธานอาหารกลางวัน 13.00 น- 15.30 น กิจกรรมทำฝ่ายชะลอน้ำ 1ตัว /ปิดกิจกรรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

09.00 น-09.30 น ลงทะเบียน ณ.ศาลาหมู่บ้านหมู่ที่ 13 บ้านทุ่งเคียน 90.30 น-10.00 น พิธีเิปิด โดยนายประภาส เหตุทอง นายกเทศมนตรีตำบลโคกม่วง เป็นประธาน             นายเจริญศักดิ์ ชูสง กำนันตำบลโคม่วงผู้รับผิดชอบโครงการ กล่าวรายงาน การ
            แลกเปลี่ยนเรียนรู้การฟื้นฟูป่าควานเลียบแบบมีส่วนร่วม             กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม คณะทำงานชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านตำบลโคกม่วง/
            บุคลากรจากเทศบาลตำบลโคกม่วง/ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด
            พัทลุง (ทสจ)/ป่าไม้จังหวัดพัทลุง/เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
            และสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน(ทสม)หมอพื้นบ้าน/ปราช์ญชุมชน 10.00 น-12.00 น กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยนายณัฐพงศ์ คงสงเป็นผู้ขับเคลื่อนกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีนายแก้ว สังข์ชูได้ปลุกจิยตนาการ ปรับแนวคิด เพื่อการป้องสิ่งแวดล้อมด้วยกลไกเครือข่าย ทสม ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตำบลโคกม่วง มีอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน(ทสม)จำนวน 127 คน กระจ่ายทั่วทั้งตำบล จากการทำงานร่วมมีคณะกรรมการป่าชุมชนที่ทำงานดูแลความสมบูรณ์ของป่ามีแนวเขตป่าปกปัก 17 ไร่ และได้มีการเก็บข้อมูลป่าพบ ไม้นาๆชนิด จำนวน 91 ชนิดและยังมีต้นไม้ที่ไม่รู้จักชื่ออีหลายสิบชนิด พบพืชสมุนไพรที่สามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ได้อีก 15 ชนิดเช่น อีแหวง คนทีดำ อนุมานประสานกายเป็นต้น การปลูกป่าเพิ่มมากกว่า 1000 ต้น 20 ชนิดในช่วงปีที่ดำเนินโครงการที่ได้รับสนับสนุนต้นกล้าจากป่าไม้จังหวัดและทสจที่ให้การสนับสนุนกิจกรรมมาอย่างต่อเนื่อง ป่าไม้จังหวัดพัทลุงได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรื่องการใช้ พรบ ป่าชุมชนโดยกรรมการป่าชุมชน ไม่น้อยกว่า 15 คนและได้แนะนำการใช้ พรบ ควบคุมการทำงานเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายต่อผู้ทำงาน โดยมีคณะกรรมการป่าชุมชนเป็นมติในการดำเนินงานต่างๆของป่าชุมชน เช่นการสร้างห่อดูไฟ ทางกันไฟและได้เห็นความสมบูรณ์ของป่าจากที่เคยมาในครั้งก่อนๆ ทสจ โดยนางจิรภา เพชรรักษ์ ผอ.ส่วนทรัพยากรน้ำ สนง.ทสจ.พัทลุง ได้แสดงความคิดเห็นในส่วนการทำงานร่วมระหว่างหน่วยงานและชุมชนก็ขอชมว่าเป็นพื้นที่ๆได้รับการฟื้นฟูได้เร็วมากที่เกิดจากความร่วมมือของคนในชุมชนและองค์กรภายในและภายนอกและจากการทำงานร่วมกันทีว ทสม ตำบลโคกม่วงได้ส่งตำบลโคกม่วงเข้าประกวด ทสม ดีเด่นเรื่องตำบลสิ่งแวดล้อมดี่เด่นได้ที่ 1 ในระดับประเทศจากการลงพื้นที่ประเมินการทำงานของ ทสม ตำบลโคกม่วง ก่อนหน้านี้จะเห็นว่าผลกระทบที่พบคือชาวบ้านไม่ค่อยให้ความร่วมมือคัดค้านต่อต้านแต่ในปัจจุบันชาวบ้านเห็นความสำคัญของระบบธรรมชาติและให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก จากนั้นท่านกำนันเจริญศักดิ์ ชูสงได้ขอบคุณผู้เข้าร่วมกิจกรรมและบทบาทสำคัญในการดูแลและรักษาธรรมชาติบ้านเราให้ถึงลูกหลานต่อไป 12.00 น- 13.00 น รัลประธานอาหารกลางวัน 13.00 น- 15.30 น กิจกรรมลงพื้นที่ทำฝ่ายชะลอน้ำ 1ตัว ผลจากการทำฝ่ายชะลอนำ้ครั้งที่ผ่านมาทำให้น้ำอยู่ในพื้นที่นานมากยิ่งขึ้นจึงเป็นความต่อการจากชุมชนที่จะสร้างฝ่ายชะลอนำ้เพิ่มขึ้น /ปิดกิจกรรม

คณะทำงานเก็บข้อมูลป่าควนเลียบ26 เมษายน 2564
26
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ทีมจัดเก็บข้อมูลป่าควนเลียบพร้อมกัน ณ.จุดรวมพลควนเลียบ -แบ่งบทบาทหน้าที่ให้ทีมจัดเก็บข้อมูล/ผู้นำทางปราช์ญชุมชนนำทาง/เกษตรตำบลออกรหัสและจับGPS/ทสมบันทึกข้อมูล/ทีมป่าปกปักบัมทึกข้อมูล/ป่าชุมชนบันทึกข้อมูล/เจ้าของพื้นที่นำทาง/นักศึกษาผูกป้ายประจำต้นไม้แต่ละต้น แบ่ง 2 ทีมๆละ 15 คน -กำหนดเวลาการจัดเก็บข้อมูลป่าควนเลียบตั้งแต่เวลา 09.00 -16.00 น

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทีมจัดเก็บข้อมูลป่าควนเลียบพร้อมกัน ณ.จุดรวมพลควนเลียบ ตามแผน 30 คน -ได้แบ่งออกเป็น 2 ทีมๆละ 15 คน แต่เนี่องด้วยสถานการณ์โรคโควิด 19 ในช่วงขณะนี้ จึงใช้ทีมแค่ทีมเดียวเพราะอีกทีมเป็นกลุ่มเครือข่ายที่อยู่นิกตำบลจึงขอใช้เฉพาะทีมภายในตำบลโคกม่วง 1 ทีม 15 คน -โดยการแบ่งบทบาทหน้าที่ให้ทีมจัดเก็บข้อมูล/ผู้นำทางปราช์ญชุมชนนำทาง/เกษตรตำบลออกรหัสและจับGPS/ทสมบันทึกข้อมูล/ทีมป่าปกปักบัมทึกข้อมูล/ป่าชุมชนบันทึกข้อมูล/เจ้าของพื้นที่นำทาง/นักศึกษาผูกป้ายประจำต้นไม้แต่ละต้น -จากการเก็บข้อมูลที่ผ่านมาพบพันธ์ไม้ 57 ชนิด 73 ต้นการสำรวจ ของ ปี 2561และ 2562 ทีมสำรวจได้เพิ่มเติมในพื้นป่าปกปัก พบต้นไม้เพิ่มขึ้น 32 ชนิด จำนวน 1,248 ต้น ต้นไม้ที่เคยสำรวจแล้วพบเพิ่มจำนวน 768 ต้น ยังพบต้นไม้มากกว่า 100 ชนิดที่ปราช์ญชุมชนไม่รู้จัก อายุของต้นไม้ที่สำรวจ อยู่ที่ 3-15 ปีในพื้นที่ป่าปกปัก 17-2-13 ไร่ พบพื้ที่ป่าชุมชนมีป่าที่สมบูรณ์ จำนวน 15 ไร่ ไม่สำรวจต้นไม้ที่ปลูกใหม่ พบเห็ดหลายชนิดที่งอกในพื้นที่ รวมถึงสัตว์หลายชนิด และยังพบว่ามีชาวบ้าน 4 รายที่ยังการทำการโค้นไม้ยางเพื่อปลูกใหม่ ทั้งๆที่ทางการห้ามโค้นประมาณ 50 ไร่ จากพื้นที่ทั้งหมด 1,400 ไร่ จากการเก็บข้อมูล 1ตารางเมตร มีต้นไม้จำนวน 9 ต้นที่ผสมกันหลายชนิด ในพื้นที่ ป่าปกปัก 17-2-13 ไร่ วันที่ 21/05/2564 ทีมคณะทำงานด้านการเก็บข้อมูลเพิ่มเติมในส่วนพื้นที่ๆยังไม่ได้สำรวจ และได้มีการสำรวจเรื่องพืชสมุนไพรที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อีกครั้ง

แบ่งบทบาทหน้าที่ตามโชนโดยชุมชนมีส่วนร่วม17 เมษายน 2564
17
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ช่วงเช้า 08.30 น ถึง 13.00 น แบ่งบทบาทหน้าที่คณะทำงานลงพื้นที่ตามโชนโดยชุมชนมีส่วนร่วม เพื่อเตียมการปลูกป่าใหม่ -แบ่งการทำงานการดูแลเป็น 3 โซนการทำงาน 1.โซนป่าปกปัก
2.โซนป่าร่วมยาง 3.โซนป่าสงวน แบ่งการทำงานเพื่อการปลูกป่าแต่ละโซน เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วม -ช่วงบ่าย 13.00 น ปลูกป่าโซนป่าปกปัก

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

แบ่งการทำงานการดูแลเป็น 3 โซนการทำงานแบ่งบทบาทหน้าที่คณะทำงานลงพื้นที่ตามโชนโดยชุมชนมีส่วนร่วม เพื่อเตียมการปลูกป่าใหม่ -แบ่งการทำงานการดูแลเป็น 3 โซนการทำงาน จากการประชุมนอกรอบ ณ.ที่ทำการกำนันตำบลโคกม่วงและเสนอแผนการทำงานต่อนายกเทศมนตรีคนปัจจุบันและฝ่ายบริหาร โดยทีม ทสจ เทศบาลตำบลโคกม่วง ผู้รับผิดชอบโครงการและเครือข่าย ทสม ตำบลโคกม่วง เพื่อการทำงานอย่างมีส่วนร่วม -ช่วงเช้า 08.30 น ถึง 13.00 น แบ่งบทบาทหน้าที่คณะทำงานลงพื้นที่ตามโชนโดยชุมชนมีส่วนร่วม เพื่อเตียมการปลูกป่าใหม่ 1.โซนป่าปกปัก โดยกรรมการป่าปกปักและคณะทำงานที่รับผิดชอบร่วม เทศบาลตำบลโคกม่วง ทีมชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านตำบลโคกม่วง เครือข่าย ทสม
2.โซนป่าร่วมยาง โดยคณะทำงานและเจ้าของสวนยางพารา 3.โซนป่าสงวน โดยป่าไม้และ ทสจ การแบ่งบทบาทหน้าที่ ตามโซนการทำงานทำให้การทำงานเป็นไปได้อย่างเหมาะสมและสามารถปลูกป่าและสร้างฝ่ายได้อย่างเหมาะสมและลงตัวกับการทำงานอย่างมีส่วนร่วมจากทุกๆฝ่าย -จากนั้นก็ปลูกป่าอย่างมีส่วนร่วม

ประชุมคณะทำงานติดตามความก้าวหน้าครั้งที่ 47 เมษายน 2564
7
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กำหนดการประชุม เวลา 10.00 น ณ.ศาลา หมู่บ้านหมู่ที่ 13 บ้านทุ่งเคียน -คืนข้อมูลผลการ ARE ร่วมกับหน่วยจัดการพัทลุงโดยมีตัวแทนร่วม 4 คน -ประเมินผลการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา -กำหนดการดำเนินกิจกรรมต่อ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-มีคณะทำงานเข้าร่วมประชุมในครั้งนี้ 15 คนและมีภาคีจาก ทสจ 1 คน จาก ทสม ตำบล 1 คน มีเกษตรตำบล 1 คน ทีมพี่เลี้ยง 3 คน ตำรวจตำบล 1 นายและปลัดอำเภอเขาชัยสน 1 คน ตัวแทนทีมนวัตกรตำบล 1 คน -คืนข้อมูลผลการร่วมเวที ARE คณะทำงานและผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจถึงข้อมูลที่ได้นำมาสะท้อนและเป็นข้อมูลที่ทุกคนยอมรับแต่ก็มีเพิ่มเติมบ้างเล็กน้อย ถือว่าคณะทำงานและภาคีเครือข่ายได้เข้าใจถึงผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการ -การติดตามประเมินการทำฝ่ายชะลอน้ำที่ทำไปแล้วนั้นจากฝนหนักที่ผ่านมาไม่ได้ทำให้ฝ่ายเสียหารแต่อย่างใดและยังคงมีความชื่นอยู่ในช่วงหน้าแล้งที่ผ่านมา ในวงพูดคุยหน้าจะมีการทำฝ่ายเพิ่มเพื่อการชะลอน้ำได้มากยิ่งขึ้น -ในที่ประชุมได้มีการกำหนดกิจกรรมครั้งถัดไป ในวันที่ 26,27,30 เมย 2564 เพื่อให้เป็นไปตามแผนงานของโครงการ และได้ประสานภาคีถึงกิจกรรมที่จะถึงเพื่อการมีส่วนร่วมในการจัดทำโครงการในครั้งนี้และให้เกิดประโยชน์มากที่สุด

ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)20 มีนาคม 2564
20
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ก ำหนดกำรประชุมประเมินผลกำรเรียนรู้เพื่อกำรพัฒนำ ARE “หน่วยจัดกำร Node Flagship พัทลุง” วันที่ 20 มีนำคม 2564 ณ ห้องหอประชุมองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดพัทลุง อ ำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 8.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน รับเอกสาร ตรวจประเมิน CVD Risk โดยคุณนิรมน ทองค า และทีมสมาคมคุ้มครองผู้บริโภคสงขลา 09.00 – 09.30 น. กิจกรรม กลุ่มสัมพันธ์ โดยคุณไพลิน ทิพย์สังข์ 09.30 – 10.00 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุม โดย คุณไพฑูรย์ ทองสม ผู้จัดการหน่วยจัดการ Node Flagship พัทลุง 10.00 – 11.30 น. แบ่งกลุ่มจ านวน 9 กลุ่ม เพื่อน าเสนอผลการขับเคลื่อนงานของแต่ละพื้นที่ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยน าเสนอตามบันไดผลลัพธ์ของแต่ละพื้นที่ว่าอยู่ในบันไดขั้นไหน มีข้อมูลอะไรยืนยันว่าถึงบันได ขั้นนี้ กลุ่มที่ 1 ประเด็นสิ่งแวดล้อม (ขยะ1) โครงการขยะเทศบาลต าบลโคกม่วง โครงการขยะ อบต.เขาชัยสน โครงการขยะโรงเรียนประภัสสร โครงการขยะโรงเรียนควนพระสาครินทร์ โครงการขยะต าบลชะรัด วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณณัฐพงษ์ คงสง และ คุณประเทือง อมรวิริยะชัย กลุ่มที่ 2 ประเด็นสิ่งแวดล้อม (ขยะ2) โครงการขยะชุมชนเขาย่า โครงการการจัดการขยะแหล่งท่องเที่ยงอ าเภอกงหรา วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณนราพงษ์ สุกใส กลุ่มที่ 2 ประเด็นสิ่งแวดล้อม (น้ าเสีย) โครงการการจัดการน้ าเสียบ้านส้มตรีดออก โครงการการจัดการน้ าเสียบ้านโคกท้อน วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณอ านวย กลับสว่าง กลุ่มที่ 3 ประเด็นทรัพยากร (การจัดการน้ า) โครงการคลองส้านแดง โครงการคลองนาโอ่ วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณวิยะดา วิเชียรบุตร และ คุณอรุณ ศรีสุวรรณ กลุ่มที่ 4 ประเด็นทรัพยากร (การจัดการป่า) โครงการป่าบ้านควนเลียบ โครงการป่าชุมชนตะแพน วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณถาวร คงศรี กลุ่มที่ 5 ประเด็นทรัพยากร (การจัดการทรัพยากรชายฝั่ง) โครงการคลฟื้นทะเลสาบสงขลา วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณเบญจวรรณ เพ็งหนู กลุ่มที่ 6 ประเด็นอาหารปลอดภัย (นาปลอดภัย) โครงการนาบ้านโคกแย้ม โครงการนาต าบลตะโหมด โครงการนาต าบลพนางตุง วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณสมนึก นุ่นด้วง กลุ่มที่ 7 ประเด็นอาหารปลอดภัย (ปลูกและบริโภคผักปลอดภัย) โครงการบ้านควนคง โครงการต าบลเขาปู่ โครงการบ้านลอน วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณไพลิน ทิพย์สังข์ และคุณนิรมน ทองค า กลุ่มที่ 8 ประเด็นอาหารปลอดภัย (อาหารโปรตีนปลอดภัย) โครงการปลาดุกบ้านหานโพ โครงการปลาดุกบ้านศาลาไม้ไผ่ โครงการอาหารโปรตีนปลอดภัยบ้านควนสามโพ วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณสายพิณ โปชะดา และ คุณไพฑูรย์ ทองสม กลุ่มที่ 9 ประเด็นอาหารปลอดภัย (ป่าร่วมยาง) โครงการบ้านโคกไทร โครงการป่าร่วมยางบ้านขาม วิทยากรประจ ากลุ่ม คุณจุฑาธิป ชูสง 11.30 – 12.00 น. น าเสนอผลลัพธ์ภาพรวมของแต่ละกลุ่ม โดยตัวแทนกลุ่ม ด าเนินการและเติมเต็มโดยทีมวิชาการ คุณเสนี จ่าวิสูตร 12.00 – 13.00 น. 13.00 – 13.30 น. รับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน สันทนาการ 13.30 – 14.30 น. แบงกลุ่มจ านวน 6 กลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบ world café ภายใต้โจทย์แต่ละกลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1และ 2 ประเด็นการออกแบบเก็บข้อมูลผลลัพธ์ - โครงการของท่านมีการออกแบบและเก็บข้อมูลผลลัพธ์หรือไม่อย่างไร - ท่านเก็บข้อมูลอย่างไร โดยใคร 14.30 – 15.00 น. 15.00 – 15.30 น. 15.30 – 16.00 น. - ท่านวิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร - มีปัญหาอุปสรรค์อะไรบ้างที่ต้องการความช่วยเหลือจากทีมกลาง วิทยากรประจ ากลุ่ม 1 คุณณัฐพงษ์ คงสง และ คุณประเทือง อมรวิริยะชัย วิทยากรประจ ากลุ่ม 2 คุณไพลิน ทิพย์สังข์และ คุณนิรมน ทองค า กลุ่มที่ 3 และ 4 ประเด็นการเชื่อมร้อยภาคี - โครงการของท่านมีการเชื่อมภาคีมาร่วมด าเนินโครงการหรือไม่ - ใช่เทคนิควิธีการใดในการเชื่อมภาคี - มีปัญหาอุปสรรค์อะไรบ้างที่ต้องการความช่วยเหลือจากทีมกลาง วิทยากรประจ ากลุ่ม 3 คุณอรุณ ศรีสุวรรณ และ คุณวิยะดา วิเชียรบุตร วิทยากรประจ ากลุ่ม 4 คุณถาวร คงศรี และ คุณอ านวย กลับสว่าง กลุ่มที่ 5 และ 6 ประเด็นการจัดกลไกการด าเนินงาน - โครงการของท่านมีการออกแบบกลไกการด าเนินงานอย่างไร - มีการแบ่งบทบาทหน้าที่อย่างไร - มีการพัฒนาศักยภาพของทีมอย่างไร และต้องการการพัฒนาอะไรเพิ่มเติมบ้าง หรือไม่ วิทยากรประจ ากลุ่ม 5 คุณสายพิณ โปชะดา และ คุณจุฑาธิป ชูสง วิทยากรประจ ากลุ่ม 6 คุณสมนึก นุ่นด้วง และ คุณนราพงษ์ สุกใส น าเสนอผลการระดมความคิดเห็น ด าเนินการโดย คุณเบณจวรรณ เพ็งหนู เติมเต็ม ให้ข้อเสนอแนะ เพื่อพัฒนาการด าเนินงานของ Node Flagship พัทลุง โดย นักวิชาการ ส านัก 6 และทีมประเมิน สรุปผลการ ARE และแนวทางการด าเนินงานในระยะต่อไปของโครงการ โดย คุณไพฑูรย์ ทองสม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-พื้นที่ป่าควนเลียบเข้าร่วม 4 คน 1.ผู้้รับผิดชอบโครงการ 2.เลขาโครงการ 3.คณะทำงานด้านข้อมูล 4.คณะทำงานจากพื้นที่ -พื้นที่ได้รับการแบ่่งกลุ่มเพื่อนำข้อมูลมาแลกเปลี่ยนร่วมกันจากที่ได้ดำเนินการตามแผนโครงการมาแล้ว มีการทำงานตามบันไดผลลัพธ์ขั้นที่ 3 แต่ยังขาดการจัดการข้อมูลที่ยังคงใช้ข้อมูลเดิม เนื่องจามพื้นที่มีงานซับซ้อนกับงานอื่น จึงทำให้โครงการเดินล่าช้าไปบางกิจกรรม ฝันหนัก ภัยแล้งเป็นสภาพปัญหาที่ส่งผลกระทบกับแผนการทำงานที่วางไว้
- ผลจากที่ได้ร่วมกิจกรรมทำให้เห็นถึงความสมบรูณ์ของป่าแต่ยังขาดการเก็บข้อมูลใหม่ ทำให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการเข้าใจร่วมกันรวมถึงพี่เลี้ยงได้เสนอเน้นกิจกรรมเก็บข้อมูลเพื่อตอบตัวชี้วัดให้ได้

กิจกรรมปลูกป่าและทำฝายครั้งที่ 212 มีนาคม 2564
12
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการพร้อมด้วยคณะทำงานและภาคีฌครือข่ายร่วมปลูกป่าพื้นที่ป่าควนเลียบ -ปลูกป่าต่อจากการทำฝ่ายชะลอนำ้ไปแล้ว 2 ตัว เนื่องจากกิจกรรมการทำฝ่ายในชวงนั้นเป็นช่วงที่มีน้ำพอดีกับการทำฝ่าย ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเห็นชอบให้ทำฝ่ายให้เสร็จก่อนแแล้วค่อยปลูกป่าในกิจกรรมถัดไป กิจกรรมวันนี้เลยกำหนดให้มีการปลูกป่า จำนวน 1000 ต้น -ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานรวมทั้งภาคีเครือข่ายร่วมกันปลูกป่าพื้นที่ป่าควนเลียบตามแผนที่เตรียใว้

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-มีผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานร่วมทั้งภาคีเครือข่าย ตัวแทนนายอำเภอเขาชัยสน ทสจ ทสม จำนวน79 ราย -กิจกรรมปลูกป่าครั้งนี้ จำนวน 1000 ต้น มีไม้หลายชนิดที่ได้รับการสนับสนุนจากศูนย์เพาะชำกล้าไม้ป่าพะยอม -ผู้เข้าร่วมกิจกรรมปลูกป่าเพิ่มในพื้นที่ควนเลียบ 1000 ต้นตามแผนที่วางไว้

กิจกรรมปลูกป่าและทำฝายครั้งที่ 120 มกราคม 2564
20
มกราคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-คณะทำงานลงทะเบียนกิจกรรมพร้องเพรียงกัน ณ.จัดทำฝายหมู่ที่ 13 เวลา09.00 น -จากที่กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้ศึกษาดูงานจากพื้นที่หมู่ที่ 11 บ้านทุ่งยาว ได้ลงพื้นที่เพื่อการทำฝายชะลอน้ำตามแผนกิจกรรมกระบวนการจัดการป่าเสื่อมโทรมบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วม โดยทีมวิทยากรจากหมู่ที่ 11 ได้ให้ความรู้และแบ่งกลุ่ม 1.กลุ่มที่เอาทรายบรรจุในกระสอบ 2.กลุ่มที่ขนลากกระสอบทราย 3.กลุ่มที่อยู่หน้าฝายทำฝาย 4.เก็บภาพกิจกรรม -กิจกรรมทำฝายและปลูกป่า มีการปรับแผนการดำเนินกิจกรรมจากเดิมมีการทำฝายและปลูกป่า เปลี่ยนเป็นการทำฝ่าย ทั้ง 2 ตัว แล้วค่อยปลูกป่าทีหลัง เนื่องจากผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานเห็นว่า เป็นช่วงหน้าฝนแกรงว่า น้ำจะกระชากทรายที่เตรียมไว้ไปกับสายฝนและเพื่อการกักเก็บน้ำที่เกิดขึ้นในช่วงหน้าฝนให้อยู่ในพื้นที่ได้มากที่สุด เลยเปลี่ยนการปลูกป่าไว้เป็นกิจกรรมครั้งถัดไปทั้ง 2 จุด ที่ได้มีการทำฝายไว้แล้ว และได้เตรียมกล้าไม้ไว้จำนวน 300 ต้น ในการปลูกป่า บริเวณป่าควนเลียบ -นายเจริญศักดิ์ ชูสงผู้รับผิดชอบโครงการกระบวนการจัดการป่าเสื่อมโทรมบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วมได้กล่าวขอบคุณผุ้เข้าร่วมกิจกรรมทุกท่านและเดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-มีการลงพื้นที่ทำฝายชะลอน้ำตาทแผนกิจกรรมที่ได้กำหนดไว้เป็น กระบวนการจัดการป่าเสื่อมโทรมบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วม พื้นที่หมู่ที่ 13 บ้านทุ่งเคียน -คณะทำงานจำนวน 85 คน เกิดความรู้ความเข้าใจเรื่องการทำฝายชะลอน้ำเพื่อประโยชน์ต่อการเกษตรและสิ่งแวดล้อมที่ดี -คณะทำงานได้จัดทำฝายชะลอน้ำ ชะลอน้ำ 2ตัว ตามที่ได้มีการเสนอปรับแผนกิจกรรม เกิดฝายที่สามารถชะลอน้ำได้ ทั้ง 2 ตัว และมีปริมาณน้ำคึง -เกิดกระบวนการจัดการป่าเสื่อมโทรมบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วม จากการแบ่งบทบาทหน้าที่ของแต่ละคน เกิดการปรับแผนจากเดิมเป็นการทำฝายและปลูกป่ามาเป็นทำฝายพร้อมกัน 2 ตัวแล้วต่อยลงติดตามผลการทำฝายพร้อมกับการปลูกป่า การทำฝายทั้ง 2 ตัวสำเร็จเสร็จเป็นที่เรียบร้อยได้รับความร่วมมือจากกลุ่มเป้าหมายเป็นอย่างดี

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาครั้งที่ 130 พฤศจิกายน 2563
30
พฤศจิกายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-คณะทำงานลงทะเบียน การฟื้นฟูป่าควนเลียบ อย่างน้อย15ราย ร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลจากการดำเนินโครงการตามแผนงบประมาณจาก สสส สำนัก 6 จังหวัดพัทลุง ตณะทำงานได้นำข้อมูลผลจากการจักกิจกรรมตามแผนโครงการตามขั้นบันไดผลลัพธ์เพื่อการประเมินผลการทำงานที่ผ่านมา ว่าอยู่ที่ขั้นใหนของบันไดผลลัพธ์ -มีภาคีเครือข่ายร่วมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกษตรตำบลโคกม่วง ได้นำข้อมูลผลการดำเนินงานทั้งข้อมูลเดิมและข้อมูลใหม่ให้ที่ประชุมรับทราบผลการทำงานอย่างมีส่วนร่วม -ภาคีพี่เลี้ยงจาก สสส สำนัก6 ทีมพี่เลี้ยงได้ร่วมเวทีทำความเข้าใจ การดำเนินกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียรู้ร่วมกัน อย่างมีส่วนร่วม เชิงผลลัพธ์ที่ได้จากโครงการ ตามแผนการดำเนินโครงการ ที่วางไว้ของบันไดผลลัพธ์แต่ละขั้น

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต (Output)ที่เกิดขึ้นจริง / คณะทำงานจำนวน 15 รายจาก15หมู่บ้านที่เป็นคณะทำงานเข้าร่วมเวที ผลลัพธ์ (Outcome)ที่เกิดขึ้นจริง /ผลลัพธ์ที่ได้ตามขั้นบันไดอยู่ที่ขั้นที่ 2และขั้นที่ 3 เพราะมีบางผลลัพธ์ที่เกิดขึันในช่วงขั้นบันไดที่3 จากข้อมูลที่ทางคณะทำงานได้นำเสนอ การเก็บข้อมูลของป่าควนเลียบ ที่มีการทำงานร่วมจากภาคีเครือข่าย ทั้งภายในและภายนอก ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม/ผลจากการดำเนินกิจกรรมแลกเรียนรู้ทำให้ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับทราบความก้าวหน้าของการดำเนินโครงการรวมทั้งข้อมูลที่ทางภาคีเครือข่ายได้นำเสนอในเรื่องการเก็บข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการดูแลป่าถือว่าเป็นเรื่องที่ดีต่อการฟื้นฟูป่าควนเลียบ เกิดความรู้ใหม่ปริมาณความสมบรูณ์ของป่าเพิ่มขึ้น 70% ของพื้นที่ มีการใช้ระบบมาช่วยในการดูแลพื้นที่ป่าควนเลียบ

คณะทำงานศึกษาดูงานบ้านทุงยาวหมู่ที่ 1119 พฤศจิกายน 2563
19
พฤศจิกายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-คณะทำงานร่วมศึกษาดูงานพื้นที่หมู่ที่11 บ้านทุ่งยาวเวลา 09.00 น คณะทำงานลงทะเบียน -ผู้รับผิดชอบโครงการสร้างความเข้าใจถึงกิจกรรมให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับทราบถึงวัดถุประสงค์เพื่อการดำเนินโครงการไปในความเข้าในที่ตรงกัน -คณะทำงานได้รับความรู้จากวิทยากร นายมนูญ สุขรัตน์ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 11 บ้านทุ่งยาวและนายสมชาย เรืองพุทธ ได้ให้ความรู้ถึงความเป็นมาของการสร้างฝายชะลอน้ำเนื่องจากพื้นที่หมู่ 11 ขาดน้ำในชวงหน้าแล้งประสบปัญหาทางด้านการเกษตรเนื่องจากฝนทิ้งช่วง จึงมีการสำรวจพื้นที่เพื่อเป็นช่องทางในการที่จะทำให้น้ำอยู่ในพื้นที่ให้นานที่สุด และได้ประสานงบประมาณจาก สสส เพื่อการสร้างความรู้และกระบวนการทำงานที่ส่งผลสำเร็จให้เกิดขึ้น ทำให้ มีน้ำคึงขังในพื้นที่ได้นานและเห็นผลว่าในพื้นที่มีน้ำใช้ทางกด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จึวมีการประสานงบจากหน่วยงานอื่นๆเข้ามาหนุนเสริมด้วย ปัจจุบันในพื้นที่หมู่ที่ 11 มีน้ำเพียงพอต่อการเกษตร ทำให้ปัญหาเรื่องน้ำที่ส่งผลกระทบต่อการประกอบอาชีพลดน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด และมีฝายเกิดขึ้นในพื้นที่จำนวน 259 ตัว ทำให้ในพื้นที่มีความสมบรูณ์เพิ่มขึ้นทั้ง ดิน น้ำ ป่า -ได้ลงพื้นที่เพื่อการเรียนรู้นำไปปฏิบัติได้จริง จากการอธิบายวิทีการทำฝ่ายชะลอน้ำที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเลย ใช้กระสอบใส่ทราย 1ส่วน3 ของกระสอบแล้วใช้เชือกมัดให้แน่นที่ปลายปากกระสอบหลังจากนั้นก็เอาไปวางให้ปากกระสอบออกไปด้านหน้าตัวเราแล้วยกกระสอบพลิกขึ้นไปด้านบนแล้วเยียบกระสอบให้เรียบแน่นทำแบบนั้นไปเรื่อยๆตามขนาดความกว้างและความหนาสูงพอประมาณกับการเก็บน้ำไว้ในจุดฝายนั้นได้ -ผู้รับผิดชอบโครงการได้กล่าวขอบคุณวิทยากรและผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกท่านและหวังเป็นอย่างยื่งว่าการลงพื้นที่ทำฝ่ายชะลอน้ำในกิจกรรมถัดไปจะได้รับความร่วมมือจากทุกท่านเป็นอย่างดี ขอบคุณและเดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ ปิดกิจกรรมศึกษาดูงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-เวลา 09.00 น คณะทำงานลงทะเบียนร่วมกิจกรรมจำนวน................ -นายเจริญศักดิ์ ชูสงผู้รับผิดชอบโครงการกล่าวความเป็นมาถึงกิจกรรม............ -นายมนูญ สุขรัตน์วิทยากรให้ความรู้เรื่องการทำฝ่ายชะลอน้ำ............. -สรุปผลการดำเนินกิจกรรม คณะทำงานได้รับความรู้จากวิทยากรและการลงพื้นที่.................

ตรวจเอกสารการเงินงวดที่ 114 พฤศจิกายน 2563
14
พฤศจิกายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ลงทะเบียนตรวจเอกสารการเงินโครงการ ครั้งที่ 1 สถานที่ อบต.ชะมวง อ.ควนขนุน จังหวัดพัทลุง เวลา 9.00 น
-มีผู้เข้าร่วม 2 คน คือ คณะทำงานโครงการและเจ้าหน้าที่การเงินโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต (Output) ที่เกิดขึ้นจริง   - มีผู้เข้าร่วมนำเอกสารการเงินมาตรวจรับรองการเงินงวดที่ 1 จำนวน 2 คน คือ การเงินกับคณะทำงานโครงการ

ผลลัพธ์ (Outcome) ที่เกิดขึ้นจริง   - เอกสารการเงินได้รับการตรวจจากฝ่ายการเงินของหน่วยจัดการ มีการปรับแก้บ้างเล็กน้อย เจ้าหน้าที่การเงินไป้แก้ไขเป็นที่เรียบร้อยถูกต้อง มีการออกรายงานได้ให้ผู้รับผิดชอบเช็นตฺ์   - ส่วนรายงานหน้าเว็ป พื้นที่ต้องมีการปรับใหม่เนื่องจาก การเขียนระบุรายละเอียดขั้นตอน กระบวนการในการดำเนินกิจกรรมยังนัอย ต้องปรับให้ใหม่ และในส่วนของผลผลิต ผลลัพธ์จากโครงการไม่ได้สรุปให้เห็น

ประชุมคณะทำงานติดตามความก้าวหน้าครั้งที่ 33 พฤศจิกายน 2563
3
พฤศจิกายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-ลงทะเบียนที่ทำการชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านคำบลโคกม่วง -คณะทำงานกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม -ผู้รับผิดชอบโครงการติดตามผลการทำงานฝ่ายต่างๆ -ติดตามผลการดำเนินโครงการ/เรื่องการเงิน/การรานงานผ่านระบบออนไลน์ -การวางแผนกิจกรรมถัดไปร่วมด้วยภาคีเครือข่าย -นายเจริญศักดิ์ ชูสงผู้รับผิดชอบโครงการกล่าวขอบคุณทุกๆฝ่ายด้านความร่วมมือเพื่อผลลัพธ์ของพื้นที่ป่าควนเลียบร่วมกัน ปิดประชุม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต (Output)ที่เกิดขึ้นจริง /คณะทำงานเข้าร่วมประชุม 15 คน

ผลลัพธ์ (Outcome)ที่เกิดขึ้นจริง /สร้างความเข้าใจผลการดำเนินโครงการและรายงานการเงิน รายงานผลการทำรายงานในระบบ

ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม /นายณัฐพงศ์ คงสงติดตามผลการดำเนินงานของผู้รับผิดชอบด้านการเงินและการรายงานเนื่องจากวันที่ 14 พย63 ทางหน่วยจะตรวจเอกสารการเงินจึงให้ผู้รับผิดชอบจัดทำรายงานด้านการเงินเอกสารและการรายงานในระบบตามกิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว นางสาวภณา ชูเก็นเลขาได้รายงานการเงินที่ได้เบิกจ่ายไปแล้วและที่ได้สำรองจ่ายเนื่องจากผู้รับผิดชอบติดภาระกิจมีเวลาไม่ตรงกันทางชมรมได้ใช้เงินของชมรมสำรองจ่ายไปแล้ว ส่วนเรื่องการตรวจเอกสารจะรีบดำเนินการให้แล้วเสร็จก่อนวันนัดตรวจเอกสารที่ทางหน่วยนัด เกษตรตำบลโคกม่วงได้แจ้งรูปแบบการเก็บข้อมูล กำหนดกิจกรรมเก็บข้อมูล ช่วงเดือน คม64และกพ64 เนื่องจากเป็นช่วงที่เหมาะสมเรื่องสภาพอากาศ แผนกิจกรรมการศึกษาดูงานและการปลูกป่าทำฝายได้กำหนดเป็นวันที่18- 19 พย 2563

ประชุมเชื่อมร้อยเครือข่าย7 ตุลาคม 2563
7
ตุลาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-การเข้าร่วมกิจกรรมตามแผนหน่วยจัดการพัทลุง -บทบาทการทำงานตามแผนยุทธศาสตร์ของจังหวัด   วันที่ 6-7 ตุลาคม 63 กิจกรรมงานสานงาน เสริมพลัง ชุมชนน่าอยู่ สู่พัทลุงกรีนชิตี้ คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี เป็นการจัดกิจกรรมให้ชุมชนพื้นที่ที่มาร่วมงานได้พบกับหน่วยงานราชการที่เป็นหน่วยงานหลักทำหน้าที่ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ในประเด็นงานต่าง ๆ เช่น ประเด็่นอาหาร ประเด็นทรัพยากร ประเด็นสิ่งแวดล้อม ได้มาพบกับพื้นที่ในจังหวัดพัทลุงที่ทำงานในประเด็นเหล่านี้ ได้มาพบ ประชุม ร่วมแลกเปลี่ยน มีข้อเสนอ สู่การนำไปปรับภาระกิจในงานหน้าที่ประจำของหน่วยงาน

  คณะทำงานโครงการป่าควนเลียบได้เข้าร่วมกิจกรรมตามแผนงานของหน่วยจัดการพัทลุงได้จัดให้พบปะกับหน่วยงานตามกำหนดการที่ได้รับการประสาน จำนวน 3 คนในบทบาทเชื่อมการทำงานตามแผนยุทธศาสตร์ของจังหวัด  เพื่อนำเสนอสร้างความเข้าใจการทำงานของพื้นที่มากขึ้น เพื่อการนำไปปรับการทำงานในการสร้างความสมบรูณ์ของพื้นที่ป่าควนเลียบให้มีเพิ่มขึ้น

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต (Output)  ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการป่าควนเลียบเข้าร่วมกิจกรรมตามแผนของหน่วยจัดการพัทลุงจำนวน 2 คน

ผลลัพธ์ (Outcome) ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-คณะทำงานโครงการฟื้นป่าควนเลี้ยบได้เข้าใจบทบาทการทำงานตามแผนยุทธศาสตร์ของจังหวัดและเข้าใจการทำงานของพื้นที่มากขึ้นในการสร้างความสมบรูณ์ของพื้นที่ป่าให้มีเพิ่มขึ้นและมีความสมบรูณ์ของพื้นที่ด้านสิ่งแวดล้อมที่จะส่งผลต่อระบบการดำเนินชีวิตของคนในชุมชนทั้งทางอ้อมและทางตรง

อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลทรัพยากรของชุมชนและศึกษาประวัติศาสตร์ควนเลียบย้อน 50 ปี พร้อมแต่งตั้งคณะทำงานจากหลายภาคส่วนร่วมทำงาน29 สิงหาคม 2563
29
สิงหาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลทรัพยากรของชุมชน โดยปราชญ์ชุมชนถึงความสมบรูณ์ของป่าควนเลียบในอดีตที่ผ่านมาเพื่อความรู้และความเข้าใจร่วมกันของทุกฝ่าย

วิธีการคือ

  10.30 น นายเจริญศักดิ์ ชูสงประธานชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านตำบลโคกม่วงผู้รับผิดชอบโครงการกล่วารายงานกิจกรรมตามแผนโครงการความร่วมมือจัดการป่าเสื่อมโทรมควนเลียบอย่างมีส่วนร่วม เพื่อการสร้างความรู้ให้กับผู้ที่มีส่วนร่วมทั้งด้านประวัติศาสตร์ของควนเลียบย้อนไปถึงตอนที่ป่าอุดมสมบรูณ์และมาถึงปัจจุบันและได้เชิญภาคีเครือข่ายร่วมกิจกรรมในครั้งนี้

    นางอัตติยา แหละเขียวจากอำเภอเขาชัยสนรับมอบหมายจากนายกองตรีอาญาสิทธิ์  ศรีสุวรรณนายอำเภอเขาชัยสนเป็นตัวแทนร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ด้วย ได้กล่าวเปิดกิจกรรมโครงการความร่วมมือจัดการป่าเสื่อมโทรมควนเลียบอย่างมีส่วนร่วม และมีความยินดีกับโครงการดังกล่าวที่ให้ความสำคัญด้านการดูแลพื้นที่ต้นน้ำและเป็นพื้นที่เดียวของตำบลโคกม่วงที่สามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศได้เพื่อการศึกษาและเรียนรู้ร่วมกัน

    นายณัฐพงศ์ คงสงได้รับการมอบหมายให้เป็นผู้ขับเคลื่อนกิจกรรมในครังนี้ มีผู้เข้าร่วมจาก ทสจและทสม ของตำบลโคกม่วงเพื่อโครงการความร่วมมือจัดการป่าเสื่อมโทรมควนเลียบอย่างมีส่วนร่วม ที่มีภาคีเครือข่ายเข้าร่วมและให้ความสำคัญกับกิจกรรมในครัั้งนี้ ได้เชิญนายเผียน พรหมบุญแก้วเป็นปราชญ์ชุมชนที่มีความรู้ ให้ความรู้เรื่องการดูแลทรัพยากรของชุมชน
    โดยปราชญ์ชุมชนถึงความสมบรูณ์ของป่าควนเลียบในอดีตที่ผ่านมาเพื่อความรู้และความเข้าใจร่วมกันของทุกฝ่าย ป่าควนเลียบมีต้นไม้หลากหลายพันธุ์หลายชนิด จากที่ได้ร่วมกันกับทีมของนักศึกษา ม ทักษิณ จ สงขลา พร้อมกับทีมเทศบาลตำบลโคกม่วงมีต้นไม้ที่หายไปหลายชนิด พื้นที่ป่าควนเลียบเป็นพื้นที่ป่าทีอุดมสมบรูณ์ มีไม้หลุมพอ แก่นหินและไม้ที่เข้ายาอีกหลายๆชนิดที่หายไปร่วมทั้งสัตว์ป่าหลายๆชนิกก็หายตามไป จากการร่วมสำรวจมีต้นไม้ประมาณ100 กว่าชนิด ที่หายไป ประมาณ 200-300 ชนิดทำให้ขาดความอุดมสมบรูณ์ของพื้นที่ป่าไปแต่ได้เป็นพื้นที่ของการทำมาหากินทดแทน ที่ได้มาจากการบุครุกพื้นที่ป่ากันมาโดยตลอด
    จากนั้นนายวีรศักดิ์ เส้งสุ้น ได้เสริมว่าเมื่อ ปี 2550 ได้มีการบุคเบิกถนนเส้นทางร่วมกับทางเทศบาลตำบลโคกม่วงเป็นระยะทาง 4 กิโลเมตร และเมื่อตอนหลัง คสช ได้ยืดพื้นที่กลับไปที่ดินทุกสวนทุกแปลงไม่มีเอกสารสิทธิ์ เป็นเนื้อที่ประมาณ 270 กว่าไร่ ยืดกลับไปเป็นพื้นที่ป่าชุมชนเป็นพื้นที่ต่อแดนหมู่ 11 ด้วยและอีกด้านก็ติดกงหรา     นายสุนทร คงอินทร์ได้เสนอว่าพื้นที่ หมู่ที่ 3 มีพื้นที่ๆจะปลูกป่าสร้างความสมบรูณ์คืนสูธรรมชาติด้วย
    นางอัตติยา แหละเขียวได้เสนอการการปลูกป่าชายคลองในพื้นที่ ทางพัฒนาที่ดินขอให้ทางหมู่บ้านที่ต้องการเขียนโครงการเสนอของบประมาณเพิ่มเติมได้ถ้าหมู่บ้านใหนสนใจสามารถฝากผ่านปลัดอาวุโสได้ยินดีสนับสนุนและต่อยอดเป็นแหล่งท่องเที่ยวเมืองรอง     ภาคีเครือข่ายจาก ทสจ สร้างคณะทำงานในภาคของพื้นที่เพิ่มขึ้นเพื่อการมีส่วนร่วม โดยมี ทสจ ตัวแทนจากอำเภอเขาชัยสน เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ เกิดคณะทำงานที่มีส่วนร่วม ทสม ในพื้นที่ จำนวน 15 ราย ที่สมัครเป็น ทสม ของตำบลโคกม่วงและมีตัวแทนจากหมู่บ้านต่างๆที่ได้สมัครเพิ่มเพื่อการทำงานร่วมในทีมของการดูและทรัพยาการสิ่งแวดล้อม และทาง ทสจ ได้แจ้งว่าส่งพื้นที่ตำบลโคกม่วงเข้าร่วมประกวดการทำงานดีเด่นในระดับประเทศด้วย เพราะเป็นพื้นที่ๆได้รับความร่วมมือและทำงานด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีมาโดยตลอดเป็น บทบาทการทำงานที่มีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย ทั้งด้านความร่วมมือด้านความรู้และการหนุนเสริมกระบวนการๆทำงานที่มีส่วนร่วมทั้งภายในและภายนอก จากนั้นมีการกำหนดแผนการดำเนินโครงการร่วมกันเกิดแผนการทำงานร่วมกันในการสร้างความเป็นเจ้าของพื้นที่ระหว่างคณะทำงานและเจ้าของพื้นที่

  • สร้างคณะทำงานในภาคของพื้นที่เพิ่มขึ้นเพื่อการมีส่วนร่วม โดยมี ทสจ ตัวแทนจากอำเภอเขาชัยสน เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ เกิดคณะทำงานที่มีส่วนร่วม ทสม ในพื้นที่

  • การทำงานที่มีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย ทั้งด้านความร่วมมือด้านความรู้และการหนุนเสริมกระบวนการๆทำงานที่มีส่วนร่วม

  • กำหนดแผนการดำเนินโครงการร่วมกันเกิดการงาวแผนการทำงานร่วมกันในการสร้างความเป็นเจ้าของพื้นที่ระหว่างคณะทำงานและเจ้าของพื้นที่

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต (Output) ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จำนวนผู้เข้าร่วมอบรมเรียนรู้เรื่องการดูแลทรัพยากรของชุมชน จำนวน  85  คน

ผลลัพธ์ (Outcome)ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

  • เกิดคณะทำงานในภาคของพื้นที่เพิ่มขึ้นเพื่อการมีส่วนร่วม โดยมี ทสจ ตัวแทนจากอำเภอเขาชัยสน เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ เกิดคณะทำงานที่มีส่วนร่วม ทสม ในพื้นที่

  • เกิดการทำงานที่มีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย ทั้งด้านความร่วมมือด้านความรู้และการหนุนเสริมกระบวนการๆทำงานที่มีส่วนร่วม

  • เกิดข้อกำหนดแผนงานการดำเนินโครงการร่วมกันในการสร้างความเป็นเจ้าของพื้นที่ระหว่างคณะทำงานและเจ้าของพื้นที่

ประชุมคณะทำงานติดตามความก้าวหน้าครั้งที่ 231 กรกฎาคม 2563
31
กรกฎาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-คณะทำงานลงทะเบียน -ติดตามผลการดำเนินโครงการ -วางแผนการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต (Output) /กลุ่มเป้าหมายคณะทำงาน 15 คน ผลลัพธ์ (Outcome) /คณะทำงานและภาคีเครือข่ายร่วมแลกเปลี่ยนผลการดำเนินโครงการที่ผ่ายมาและวางแผนการจัดกิจกรรมครั้งถัดไป ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม /ผู้รับผิดชอบโครงการ ติดตามผลการดำเนินโครงการจากคณะกรรมการและภาคีเครือข่ายการสร้างการมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูป่าควนเลี่ยบฐานข้อมูลตามสถานการป่าควนเลียบในปัจจุบัน โดยทางเกษตรตำบลได้เสนอข้อมูลการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมาจากการสำรวจข้อมูลป่าควนเลียบที่ได้ดำเนินการร่วมกันทั้งด้านคณะทำงานและประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 13 บ้านทุ่งเคียน มีปราชญ์ชุมชนร่วมในการสำรวจข้อมูล วางแผนการดำเนินกิจกรรมครั้งต่อไปในที่ประชุมได้กำหนดให้วันที่ 29 สค 63 ที่จะมีการอบรมให้ความรู้และคณะทำงานที่มีส่วนร่วมจากพื้นที่มากขึ้น โดยผู้รับผิดชอบโครงการนายเจริญศักดิ์ ชูสง ประธานชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านได้ประสานไปยัง ทสจ เพื่อร่วมการทำงานและขยาย ทสม ในพื้นที่ หมู่ที่ 13 บ้านทุ่งเคียนเพิ่มขึ้น

ประชุมคณะทำงานสร้างความรู้ ความเข้าใจ29 กรกฎาคม 2563
29
กรกฎาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-เกิดคณะทำงานจากชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านตำบลโคกม่วง เวลา 10.00 น ลงทะเบียนพร้อมกัน
10.30 น นายเจริญศักดิ์ ชูสงผู้รับผิดชอบโครงการกล่าวเปิดโครงการความร่วมมือจัดการป่าเสื่อมโทรมควนเลียบแบบมีส่วนร่วม และได้รับมอบหมายให้นายณัฐพงศ์ คงสงเป็นผู้ขับเคลื่อนกิจกรรมในฐานะคณะทำงาน และได้เชิญนายมนูญ สุขรัตน์ ได้ได้แจ้งในที่ประชุมเรื่องโครงการที่ทางชมรมได้ของบประมาณเพื่อการฟื้นฟูป่าควนเลียบถือเป็นโครงการที่ดีที่ทำให้ทางพื้นที่ได้สร้างความสมบรูณืของพื้นที่ป่าเพื่อจากจัดการสิ่งแวดส้อมของตำบลโคกม่วงอย่างมีส่วนร่วม -เกิดการมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่าย กอรมนจังหวัดพัทลุงได้เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้เพื่อการสร้างการมีส่วนร่วมจากหน่วยงาน กอรมน ต่อการพัฒนาพื้นที่ด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศต่อไป และได้ประสานไปยังโรงเรียนบ้านควนยวนโดยมีนายณัฐวุฒื อำภัยฤทธิ์ตัวแทนจากโรงเรียนบ้านควนยวนเพื่อการเรียนรู้ร่วมกันด้านการศึกษาพันณ์ไม้ให้กับกลุ่มเด็นและเยาวชนต่อไป และได้มีทีมพี่เลี้ยงโครงการจาก สสส เข้าร่วมการจัดกิจกรรมในครั้งนี้และได้ร่วมการสำรวจพื้นที่ร่วมกับคณะทำงานด้วยโดยมีนายถาวร คงศรี นายอำนวย กลับส่วางและนางสาวจุฑาธิป ชูสง เข้าร่วมกิจกรรมและได้พูดถึงการทำงานการฟื้นฟูป่าควนเลียบของตำบลโคกม่วงที่ตรงกับยุทธศาสตร์ 3 คือ ด้านทัพยากร ด้านสิ่งแวดล้อมและด้านอาหารปลอดภัย และมีความจำเป็นเพื่อการสร้างการดูและอย่างมีส่วนร่วมกับกลุ่มชาวบ้านที่เป็นเจ้าของพื้นที่ร่วมกัน นายวิทยา จารุพันธ์ เกษตรตำบลโคกม่วง ได้แจ้งพื้นที่ป่าควนเลียบมีเนื้อที่ทั้งหมด 17 ไร่ และได้มีการสำรวจข้อมูลความสมบรูณ์ของป่าควนเลียบ การสำรวจครั้งที่...1......./ 2561 รหัสพรรณไม้ ชื่อพื้นเมือง (ชื่อที่ท้องถิ่นนั้นเรียก) ลักษณะวิสัย (เช่น ไม้ต้น ไม้พุ่ม ไม้เลื่อย ไม้รอเลื้อย ฯลฯ ) ลักษณะเด่นของพืช (เช่น สี กลิ่น ยาง มีหนาม ฯลฯ ) ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น (เช่น เป็นอาหาร ยารักษาโรค เครื่องมือเครื่องใช้ ฯลฯ ) บริเวณที่พบ (ระบุ ชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด) หมายเหตุ 8-5930303-013-001/001 ต้นเลียบ ไม้ยืนต้น ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ไม้เนื้ออ่อน มีผลประมาณเดือน ก.ค.ทุกปี มีรสหวาน ฝาดและเปรี้ยวเล็กน้อย ใช้กับคน เปลือกต้มดื่มแก้ปวดท้อง อาหาร ยอดทำอาหาร มีรสฝาด เปรี้ยวเล็กน้อย
ใช้กับสัตว์ ใบห้ามเลือดในกรณีที่บาดเจ็บ ป่าปกปัก ม.13


8-593030302-002/001-005 ต้นหัน ไม้ยืนต้น ไม้ยืนต้น มีผลประมาณเดือน ก.พ ทุกปี ใช้กับคน รักษาโรคหิด โดยผลเคียวกับน้ำมันมะพร้าวใหม่ เปลือกใช้ดองกับเหล้า เป็นยาชูกำลัง เครื่องใช้ ลำต้นใช้ทำเครื่องเลื่อย ป่าปกปัก ม.13 ผล มีฤทธิ์
เบื่อ – เมา 8-59-30302-013-003/001


ต้นดีงู ไม้ยืนต้น ไม้ยืนต้น อยู่ในวงศ์ตระกูล ปลาไหลเผือก รดขม ใช้กับคน ใช้เปลือกต้น รักษาไข้ทุกชนิด เช่น ไข้จับไข้สั่น ป่าปกปัก ม.13
รหัสพรรณไม้ ชื่อพื้นเมือง (ชื่อที่ท้องถิ่นนั้นเรียก) ลักษณะวิสัย (เช่น ไม้ต้น ไม้พุ่ม ไม้เลื่อย ไม้รอเลื้อย ฯลฯ ) ลักษณะเด่นของพืช (เช่น สี กลิ่น ยาง มีหนาม ฯลฯ ) ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น (เช่น เป็นอาหาร ยารักษาโรค เครื่องมือเครื่องใช้ ฯลฯ ) บริเวณที่พบ (ระบุ ชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด) หมายเหตุ 8-5930302013-005/001 ต้นยอป่า ไม้ยืนต้น ใช้กับคน ใบแก้ปวดศีรษะ แก้ริดสีดวงทวาร
ใบสด ตำฟอกศีรษะ ฆ่าไข่เหา
ใบสด นำไปอังไฟนำมาปิดที่หน้าอกหน้าท้อง แก้ไอ แก้จุกเสียด ป่าปกปัก ม. 13
8-5930302-013-006/001 ต้นมะเม่าควน ไม้ยืนต้น ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-007/001 ต้นขี้แรด ไม้พุ่ม ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-008/001 ต้นมักเงาะ ไม้ยืนต้น ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-009/001 ต้นหวายหิน ไม้เลื่อย มีหนาม ป่าปกปัก ม.13
การสำรวจครั้งที่...2......./ 2562 รหัสพรรณไม้ ชื่อพื้นเมือง (ชื่อที่ท้องถิ่นนั้นเรียก) ลักษณะวิสัย (เช่น ไม้ต้น ไม้พุ่ม ไม้เลื่อย ไม้รอเลื้อย ฯลฯ ) ลักษณะเด่นของพืช (เช่น สี กลิ่น ยาง มีหนาม ฯลฯ ) ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น (เช่น เป็นอาหาร ยารักษาโรค เครื่องมือเครื่องใช้ ฯลฯ ) บริเวณที่พบ (ระบุ ชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด) หมายเหตุ 8-5930302-013-010/001 ต้นยางพารา ไม้ยืนต้น ลำต้นเปล่งทรง มียาง พลัดใบในฤดูแล้ง เครื่องใช้ ลำต้นนำไปทำเฟอร์นิเจอร์ น้ำยาง นำไปแปรรูปเป็นผลิภัณฑ์ เช่น ยางรถยนต์ ถุงมือยาง อุปกรณ์รองเท้า ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-019/001 ต้นคอแลน ไม้ยืนต้น เปลือกสีน้ำตาล เรียบ อาหาร ลูกเป็นอาหารของคนและสัตว์ ยา ใช้เปลือกทาผิวหนัง เครื่องใช้ ลำต้นใช้ทำบ้าน ทำเฟอร์นิเจอร์ ทำวงกบประตู หน้าต่าง ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-020/001 ต้นต็อบแถมเครือ ไม้เถา ไม้เถาเนื้อแข็ง ขึ้นพันกับไม้ยืนต้นอื่น เปลือกลำต้นสีน้ำตาล ยา ใช้แก้ตาลในเด็ก และแผลผุผอง ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-024/001 ต้นย่านนางเหลือง เป็นไม้เถาเลื้อยพันไม้อื่น เนื้อสีน้ำตาลผิวไม่เรียบ เถาอ่อนที่มีใบจะระคาย ออกผลตามข้อทั้ง 2 ข้าง ผลสีแดง ยา บำรุงเลือด ป่าปกปัก ม.13 รหัสพรรณไม้ ชื่อพื้นเมือง (ชื่อที่ท้องถิ่นนั้นเรียก) ลักษณะวิสัย (เช่น ไม้ต้น ไม้พุ่ม ไม้เลื่อย ไม้รอเลื้อย ฯลฯ ) ลักษณะเด่นของพืช (เช่น สี กลิ่น ยาง มีหนาม ฯลฯ ) ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น (เช่น เป็นอาหาร ยารักษาโรค เครื่องมือเครื่องใช้ ฯลฯ ) บริเวณที่พบ (ระบุ ชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด) หมายเหตุ 8-5930302-013- 015/001-002 ต้นดงข้าว ไม้ยืนต้น เนื้อไม้แข็งเหนียว เปลือกแตกร่องจากบนลงล่าง เลาะเป็นแผ่นๆสีขาวเทา ก้านใบสั้นอวบสีน้ำตาล เครื่องเรือน สร้างบ้าน ม่านประตู หน้าต่าง ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-013/001 ต้นไม้กลาย ไม้ยืนต้น เป็นไม้ผลัดกิ่งขึ้นไปด้านบนเรื่อยๆ ดอกสีขาวคล้ายพลับพลา ใช้สอยทั่วไป ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-017/001 ต้นขี้เหล็ก ไม้ยืนต้น เปลือกสีเขียวอมน้ำตาล ใบเรียงสลับ ออกดอกเป็นช่อ ดอกสีเหลือง ยา เป็นยาพอก ยากิน แก้โรคท้องผูก
สัตว์ ใบใช้ก่อไฟรักษาโรควัว ลำต้น ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์ ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-014/001 ต้นสักควน/ต้นสักป่า ไม้ยืนต้น ไม้เนื้อแข็ง ลำต้นตรง ผิวเปลือกเรียบ ดอกสีขาวคล้ายดอกพิกุล ก้านใบสีน้ำตาล ลำต้นจะมีลายสีฟ้าเขียวสลับกัน เครื่องเรือน ทำเฟอร์นิเจอร์ ป่าปกปัก ม.13 รหัสพรรณไม้ ชื่อพื้นเมือง (ชื่อที่ท้องถิ่นนั้นเรียก) ลักษณะวิสัย (เช่น ไม้ต้น ไม้พุ่ม ไม้เลื่อย ไม้รอเลื้อย ฯลฯ ) ลักษณะเด่นของพืช (เช่น สี กลิ่น ยาง มีหนาม ฯลฯ ) ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น (เช่น เป็นอาหาร ยารักษาโรค เครื่องมือเครื่องใช้ ฯลฯ ) บริเวณที่พบ (ระบุ ชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด) หมายเหตุ 8-5930302-013-012/001-010 ต้นซ้อม ไม้ยืนต้น เป็นไม้ขนาดใหญ่ ยา แก้ท้องร่วง เครื่องเรือน ใช้ทำเครื่องเรือนได้ ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-011/001 ต้นอวดเลือด เป็นไม้เถาวัลย์ เป็นย่านเถาวัลย์ ยา ใช้สมานแผล ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-016/001 ต้นย่านปด ไม้เลื่อย เป็นพืชเถาวัลย์ มีน้ำใช้กินได้ ใบ ใช้แก้บวม ตำและพอกที่แผล หรือพ่นและฟอกก็ได้ ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-018/001 ต้นกล้วยมุดสัง ไม้เลื้อย เป็นพืชใบเลี้ยงเดียว เป็นเถาวัลย์ ยา ใช้ผสมอาหารของคนและสัตว์ เครื่องใช้ ใช้ทำโครงไซ ไว้ทำรั่ว ราวผ้า ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-021/001 ต้นคนทีดำ ไม้เลื้อย เป็นไม้ประเภทเถาวัลย์ อยู่ในป่าลึก บนเขาหิน คน เป็นยากระสัยเส้น ใช้ได้ทั้ง 5 ส่วนของเถาใช้ดองเหล้า สัตว์ ใช้กับวัวที่ท้องผูก เครื่องเรือน ทำโครงไซ นาง ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-031-023/001 ต้นย่านโดก ไม้เลื้อย เป็นไม้เลื้อย คน ยารักษาการปวดเมื่อย ใช้รักษาเกี่ยวกับเอ็น
เครื่องเรือน ทำโคมไฟ เครื่องประดับ งานจักรสาน ป่าปกปัก ม.13 รหัสพรรณไม้ ชื่อพื้นเมือง (ชื่อที่ท้องถิ่นนั้นเรียก) ลักษณะวิสัย (เช่น ไม้ต้น ไม้พุ่ม ไม้เลื่อย ไม้รอเลื้อย ฯลฯ ) ลักษณะเด่นของพืช (เช่น สี กลิ่น ยาง มีหนาม ฯลฯ ) ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น (เช่น เป็นอาหาร ยารักษาโรค เครื่องมือเครื่องใช้ ฯลฯ ) บริเวณที่พบ (ระบุ ชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด) หมายเหตุ 8-5930302-013-027/001 ไม้นวล ไม้ยืนต้น ไม้เนื้อแข็ง ลำต้นสีเทา ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์ ด้ามพร้า ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-025/1 ต้นเดื่อยควน ไม้ยืนต้น ใบกลมมน ใบคาย เป็นหยัก ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-028/1 เจ็ดมูลต้น ไม้ยืนต้น ลำต้นสีน้ำตาล แตกเกล็ด ไม้เนื้อแข็ง เครื่องใช้ ทำบ้าน ไม้มงคล ทำยาเลือด ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-029/1 ต้นอีเหว้า ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-030/1 ต้นเพกาคอน ไม้ยืนต้น ลำต้นสีขาว แก้เบาหวาน ความดัน
ใช้ใบต้มอาบ สำรับแม่ลูกอ่อน อยู่ไฟ ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-002/5 ต้นหัน ไม้ยืนต้น ผลใช้รักษาโรคหิด โรคผิวหนัง ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-004/3 ต้นไหม้ ไม้ยืนต้น ลำต้นสีดำ แก้พิษ ขับสารพิษ ใบเป็นสูตรยาแก้ยาเสพติด ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-031/1 ต้นม่วงช้าง ไม้ยืนต้น ใบใหญ่ รสเปรี้ยวปนฝาด ใบ รับประทานได้ ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-032/1 ต้นรังไก่ ไม้ยืนต้น ลำต้นสีน้ำตาลแดง ผล เป็นอาหารของนก ป่าปกปัก ม.13
รหัสพรรณไม้ ชื่อพื้นเมือง (ชื่อที่ท้องถิ่นนั้นเรียก) ลักษณะวิสัย (เช่น ไม้ต้น ไม้พุ่ม ไม้เลื่อย ไม้รอเลื้อย ฯลฯ ) ลักษณะเด่นของพืช (เช่น สี กลิ่น ยาง มีหนาม ฯลฯ ) ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น (เช่น เป็นอาหาร ยารักษาโรค เครื่องมือเครื่องใช้ ฯลฯ ) บริเวณที่พบ (ระบุ ชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด) หมายเหตุ 8-5930302-013-033/1 ต้นปอจง ไม้ยืนต้น ตำต้นแตกลาย สีขาว รสฝาด ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-034/1 ฝักเคยฝักเกลือ ไม้ยืนต้น สีน้ำตาลแดง เปลือดแตกตา ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-035/1 เถาปาหมี ไม้เถา เป็นเถา แก้ปวดฟัน ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-036/1 เถาจงโด ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-001/2 ต้นเลียบ ไม้ยืนต้น ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-037/1 ต้นนนท์ ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-038/1 ต้นเนียง ไม้ยืนเต้น ลำต้นสีน้ำตาล ผล รับประทานได้ ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-039/1 พญาสัตบรรต ไม้ยืนต้น ต้นสีดำ แตกลายงาน ทำเฟอร์นิเจอร์ ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-040/1 เทียบดา ป่าปกปัก ม.13
รหัสพรรณไม้ ชื่อพื้นเมือง (ชื่อที่ท้องถิ่นนั้นเรียก) ลักษณะวิสัย (เช่น ไม้ต้น ไม้พุ่ม ไม้เลื่อย ไม้รอเลื้อย ฯลฯ ) ลักษณะเด่นของพืช (เช่น สี กลิ่น ยาง มีหนาม ฯลฯ ) ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น (เช่น เป็นอาหาร ยารักษาโรค เครื่องมือเครื่องใช้ ฯลฯ ) บริเวณที่พบ (ระบุ ชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด) หมายเหตุ 8-5930302-013-041/1 แต้ว ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-043/1 เหยื่อจง ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-044/1 ชำพลา ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-045/1 แซะควน ไม้ยืนต้น ไม้พลัดใบ ผลเดียว แบน-ทรงกระบอก เมล็ดกลมรี เปลือกเรียบ ยอดอ่อน ใช้เป็นอาหาร ผล เป็นอาหารของสัตว์ เครื่องใช้ ไม้ใช้ทำบ้านเรือน ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-043/1 เหยื่อจง ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-046/1 ตะแบก ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-047/1 สาวเหล้า ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-022/1 คำแสนป่า ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-034/4 ฝักเคยฝักเกลือ ป่าปกปัก ม.13
รหัสพรรณไม้ ชื่อพื้นเมือง (ชื่อที่ท้องถิ่นนั้นเรียก) ลักษณะวิสัย (เช่น ไม้ต้น ไม้พุ่ม ไม้เลื่อย ไม้รอเลื้อย ฯลฯ ) ลักษณะเด่นของพืช (เช่น สี กลิ่น ยาง มีหนาม ฯลฯ ) ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น (เช่น เป็นอาหาร ยารักษาโรค เครื่องมือเครื่องใช้ ฯลฯ ) บริเวณที่พบ (ระบุ ชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด) หมายเหตุ 8-5930302-013-048/1 ไม้ค้อนตีหมา ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-049/1 ฤาษีสม ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-050/1 ไทรใบใหญ่ ไม้ยืนต้น เปลือกลำต้นเป็นสีน้ำตาลเป็นร่อง ใบเรียวมน ปลายใบแหลม ผล เป็นอาหารสัตว์ เช่น นก ลิง กระรอก ค้างคาว ป่าปกปัก ม.13
8-5930302-013-051/1 ต้นตอ ไม้ยืนต้น เนื้อไม้มีสีเหลือง ผล เป็นอาหารนก
ใช้ดองเหล้า เครื่องใช้ ใช้ทำเตียงนอน เฟอร์นิเจอร์ ย่าฆ่าแมลง ใช้ใบและลูกหมัก ศาสนา ไม้มงคล เสาเข็มบ้าน ป่าปกปัก ม.13
เป็นข้อมูลผลจากป่าปกปัก ม.13 โดยเกษตรตำบลโคกม่วง ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกคนได้มีการลงพื้นที่เพื่อติดตามป่าควนเลียบตามที่ได้รับข้อมูลและมีการปลูกป่าเพิ่มตามแผนกิจกรรมเพื่อการเพิ่มความสมบรูณ์ของป่าควนเลียบ -เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่เป็นคณะทำงานร่่วม กำหนดแผนการสำรวจปี 2563

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต (Output) /คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายจำนวน 85 คน ผลลัพธ์ (Outcome) / เกิดความรู้ความเข้าใจในการดำเนินโครงการ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม /เกิดคณะทำงานจากชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านตำบลโคกม่วงและในพื้นที่หมู่ที่ 13 บ้านทุงเคียน ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายพร้อมข้อมูลผลการดำเนินงานอย่างมีส่วนร่วม ร่วมสำรวจพื้นที่และการปลูกป่า

ประชุมคณะทำงานติดตามความก้าวหน้าครั้งที่ 130 มิถุนายน 2563
30
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-กระบวนการสร้างความรู้แผนผังควนเลียบ -วางแผนการทำงานอย่างมีส่วนร่วมกับการฟื้นฟูป่าควนเลียบ -การเชื่อมร้อยภาคีเครือข่ายเพื่อการทำงานที่มีส่วนร่วมจากหน่วยงานต่างๆ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต (Output) /คณะทำงานเข้าร่วม 15 คน ผลลัพธ์ (Outcome) / เกิดความรู้กระบวนการแผนการดำเนินการๆฟื้นฟูป่าควนเลียบ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม มีการวางแผนร่วมโดยมีทีมพี่เลี้ยงให้ความร่วมมือในกระบวนการสร้างทีม ภาพแผนผังควนเลียบ ที่สามารถออกแบบการดำเนินงานได้ตามแผนงาน การวางแผนการทำงานของทีมคณะทำงานตามบทบาทหน้าที่ การสร้างการมีส่วนร่วมทั้งภาคีภายในและภาคีภายนอก ที่วางแผนการทำงานร่วม เทศบาลตำบลโคกม่วง เกษตรตำบลโคกม่วง ทีมพี่เลี้ยง เครือข่าย ทสม

กิจกรรมปฐมนิเทศ20 มิถุนายน 2563
20
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย CHALERNSAK.SAK
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พื้นที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศตามแผนกำหนดการที่ทางหน่วยจัดการ Node Flagship พัทลุง ได้จัดทำและได้รับทราบจากพี่เลี้ยงของโครงการตามกำหนดการที่ทางหน่วยจัด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต (Output) /มีพื้นที่เข้าร่วมประชุม 3คน ผลลัพธ์ (Outcome) /ผู้ที่เข้าร่วมประชุม 3คน เกิดความรู้ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม/มีพื้นที่เข้าร่วมประชุม 3คนตามการกำหนดกลุ่มเป้าหมายของหน่วยจัดการ Node Flagship พัทลุง เข้าใจการดำเนินโครงการการรายงานผ่านระบบและการจัดทำเอกสารการเงินเพื่อการควบคุมการเงินของโครงการรวมทั้งการจัดทำเอกสารที่สมบรูณ์ที่ง่ายต่อการตรวจ ได้รับความรู้ความเข้าใจถึงการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ของจังหวัดที่สอดคล้องกับการทำงานของหน่วยจักการ Node Flagship พัทลุง