directions_run

โครงการกระบวนการจัดการป่าเสื่อมโทรมบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วม

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการกระบวนการจัดการป่าเสื่อมโทรมบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วม
ภายใต้โครงการ Node Flagship จังหวัดพัทลุง
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดพัทลุง
รหัสโครงการ 63-00169-0019
วันที่อนุมัติ 1 มิถุนายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 108,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านตำบลโคกม่วง
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเจริญศักดิ์ ชูสง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายถาวร คงศรี
พื้นที่ดำเนินการ ม.13 ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2563 31 ต.ค. 2563 20 มิ.ย. 2563 31 ต.ค. 2563 43,200.00
2 1 พ.ย. 2563 28 ก.พ. 2564 1 พ.ย. 2563 30 ก.ย. 2564 54,000.00
3 1 มี.ค. 2564 30 ก.ย. 2564 10,800.00
รวมงบประมาณ 108,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 1. หลักการเหตุผล / ความสำคัญของปัญหา/ การวิเคราะห์สถานการณ์ (โปรดระบุ1.1 สถานการณ์ปัญหาของพื้นที่ สาเหตุของปัญหา โดยมีข้อมูลสนับสนุนที่ชัดเจน 1.2 แนวทางการแก้ไขปัญหาที่จะเสนอในโครงการนี้ ควรใช้ทุนเดิม จุดแข็งที่มี มาช่วยหนุนเสริมการดำเนินงานโครงการอย่างไร
0.00
2 1. หลักการเหตุผล / ความสำคัญของปัญหา/ การวิเคราะห์สถานการณ์ (โปรดระบุ1.1 สถานการณ์ปัญหาของพื้นที่ สาเหตุของปัญหา โดยมีข้อมูลสนับสนุนที่ชัดเจน 1.2 แนวทางการแก้ไขปัญหาที่จะเสนอในโครงการนี้ ควรใช้ทุนเดิม จุดแข็งที่มี มาช่วยหนุนเสริมการดำเนินงานโครงการอย่างไร
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การดำเนินงานโครงการฟื้นพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมควนเลียบ ที่สอดคล้องและเป็นเป้าหมายผลลัพธ์เชิงยุทธศาสตร์ของ Node Flagship พัทลุง ที่มีผลลัพธ์ กับประเด็นยุทธศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติเป้าหมายป่าต้นน้ำ แหล่งน้ำ  โดยมีตัวชี้วัดแหล่งน้ำระบบนิเวศสายน้ำดีขึ้นไม่น้อยกว่า 6 สายโดยระบบนิเวศสายน้ำดีขึ้นหมายถึง พืชริมคลองเพิ่มขึ้นคุณภาพน้ำดีขึ้นสัตว์น้ำที่บ่งชี้ถึงความอุดมสมบูรณ์ของสายน้ำเพิ่มขึ้นมีน้ำเพียงพอในทุกฤดูกาลป่าต้นน้ำพื้นที่ป่าได้รับการดูแลไม่ให้ถูกทำลายและมีการฟื้นพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมให้เป็นป่าสมบูรณ์ไม่น้อยกว่า 1,000 ไร่ โดยเกิดตัวชี้วัด 1) เกิดกลไกและกติกาในการเฝ้าระวังและดูแลป่าต้นน้ำ 2) มีฐานข้อมูลพันธุ์พืชในพื้นที่ป่าสมบูรณ์ 3) ไม่มีการเปลี่ยนพื้นที่ป่าไปเป็นพื้นที่เพื่อทำประโยชน์อย่างอื่นที่ทำให้ป่าเสื่อมโทรมลงในพื้นที่ป่าสมบูรณ์ 4) มีจำนวนพันธุ์พืชเพิ่มขึ้นในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมไม่น้อยกว่า120 ต้นต่อไร่ 5) มีพันธุ์พืชอย่างน้อย 3 อย่าง (พืชใช้สอย พืชอาหาร พืชสมุนไพร)ในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม ป่าเสื่อมโทรมควนเลียบ ตั้งอยู่ หมู่ 13 บ้านทุ่งเคียน มีเป้าหมายการดำเนินการคือ ฟื้นป่าต้นน้ำ แหล่งน้ำ  โดยมีตัวชี้วัด เกิดแหล่งน้ำระบบนิเวศสายน้ำดีขึ้นไม่น้อยกว่า 1 สาย โดยระบบนิเวศสายน้ำดีขึ้น หมายถึง พืชริมคลองเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 3 อย่าง (พืชใช้สอย พืชอาหาร พืชสมุนไพร)  คุณภาพน้ำดีขึ้นสัตว์น้ำที่บ่งชี้ถึงความอุดมสมบูรณ์ของสายน้ำเพิ่มขึ้น มีน้ำเพียงพอในทุกฤดูกาล ป่าต้นน้ำควนเลียบเป็นพื้นที่ป่าได้รับการดูแลไม่ให้ถูกทำลายเพิ่มโดยมีกฏกติกาชุมชนที่ปฏิบัติได้ และมีการฟื้นพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมให้เป็นป่าสมบูรณ์ไม่น้อยกว่า 100 ไร่ โดยเกิด ตัววัด คือ 1) เกิดกลไกและกติกาในการเฝ้าระวังและดูแลป่าต้นน้ำ 2) มีฐานข้อมูลพันธุ์พืชในพื้นที่ป่าสมบูรณ์ 3) ไม่มีการเปลี่ยนพื้นที่ป่าไปเป็นพื้นที่เพื่อทำประโยชน์อย่างอื่นที่ทำให้ป่าเสื่อมป่าเสื่อมโทรม

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 2. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดผลลัพธ์ (ระบุวัตถุประสงค์ของโครงการที่แสดงให้เห็นว่า โครงการจะก่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนด้านการสร้างเสริมสุขภาพต่อกลุ่มเป้าหมายอย่างไร ซึ่งวัตถุประสงค์นี้จะต้องเฉพาะเจาะจง สอดคล้องกับหลักการและเหตุผลเป็นวัตถุประสงค์เชิงผลลัพธ์ (บอกได้ว่าจะทำโครงการนี้ด้วยแนวทางใด เพื่อให้เกิดผลอะไรที่นำไปสู่การแก้ปัญหา)) วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. เพื่อสร้างการเรียนรู้เรื่องทรัพยากรและการดูแลทรัพยากรของชุมชน -ชุมชนบ้านควนเลียบ 80 % ของครัวเรือนมีความรู้สถานการณ์ป่าเสื่อมโทรของชุมชน -เกิดคณะทำงานฟื้นฟูป่าบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วมจากหลายภาคส่วน -มีชุดข้อมูลป่าชุมชนบ้านควนเลียบในการใช้แก้ปัญหา 2. เพื่อสร้างกลไกในการขับเคลื่อนฟื้นทรัพยากรและการดูแลทรัพยากรของชุมชน -เกิดกลไกคณะทำงานจัดการป่าบ้านควนเลียบ -เกิดแผนการปรับปรุงและสร้างสภาพแวดล้อมป่าและลำคลองให้มีความอุดมสมบูรณ์ 3. เพื่อสร้างกติกาและข้อตกลงในการดูแลรักษาป่าปกป้องและใช้ประโยชน์ลำคลองร่วมกันของคนในชุมชน -เกิดกติกาข้อตกลงที่ใช้ได้ของชุมชนในการฟื้นป่าบ้านควนเลียบ -จำนวนภาคีฟื้นป่าอย่างน้อย 5 ภาคส่วน -มีจำนวนพันธุ์พืชเพิ่มขึ้นในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมไม่น้อยกว่า 120 ต้น/ไร่ -มีพันธุ์พืชอย่างน้อย 3 อย่าง (พืชใช้สอย พืชอาหาร พืชสมุนไพร)ในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม -ไม่มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไปเป็นพื้นที่เพื่อทำประโยชน์อย่างอื่นที่ทำให้ป่าเสื่อมโทรมลงไป... -เกิดกติกาชุมชนในการเฝ้าระวังความเสียหาย -เกิดฝ่ายขั้นน้ำเพื่อรักษาสภาแวดล้อมของป่าอย่างน้อย 2 ฝ่าย

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1..เพื่อสร้างการเรียนรู้เรื่องทรัพยากรแลการดูแลทรัพยากรของชุมชน...(ยกมาจากข้อ 3)
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 ชุมชนบ้านควนเลียบ 80 % ของครัวเรือนมีความรู้ 1.2 เกิดคณะทำงานฟื้นฟูป่าบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วมจากหลายภาคส่วน 1.3 มีชุดข้อมูลป่าชุมชนบ้านควนเลียบในการใช้แก้ปัญหา

0.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 602 108,000.00 27 105,325.00
20 มิ.ย. 63 กิจกรรมปฐมนิเทศ 3 5,000.00 300.00
30 มิ.ย. 63 ประชุมคณะทำงานติดตามความก้าวหน้าครั้งที่ 1 15 1,575.00 1,575.00
29 ก.ค. 63 ประชุมคณะทำงานสร้างความรู้ ความเข้าใจ 85 12,050.00 12,050.00
31 ก.ค. 63 ประชุมคณะทำงานติดตามความก้าวหน้าครั้งที่ 2 15 1,575.00 1,575.00
29 ส.ค. 63 อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลทรัพยากรของชุมชนและศึกษาประวัติศาสตร์ควนเลียบย้อน 50 ปี พร้อมแต่งตั้งคณะทำงานจากหลายภาคส่วนร่วมทำงาน 85 14,025.00 14,025.00
7 ต.ค. 63 ประชุมเชื่อมร้อยเครือข่าย 3 0.00 300.00
3 พ.ย. 63 ประชุมคณะทำงานติดตามความก้าวหน้าครั้งที่ 3 15 1,575.00 1,575.00
10 พ.ย. 63 จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มอแอลกอฮอล์ 0 1,000.00 1,000.00
14 พ.ย. 63 ตรวจเอกสารการเงินงวดที่ 1 2 0.00 400.00
19 พ.ย. 63 คณะทำงานศึกษาดูงานบ้านทุงยาวหมู่ที่ 11 30 6,300.00 6,300.00
30 พ.ย. 63 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาครั้งที่ 1 15 3,325.00 3,325.00
24 ม.ค. 64 กิจกรรมปลูกป่าและทำฝายครั้งที่ 1 85 33,900.00 16,950.00
20 มี.ค. 64 ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) 4 0.00 300.00
7 เม.ย. 64 ประชุมคณะทำงานติดตามความก้าวหน้าครั้งที่ 4 15 1,575.00 1,575.00
12 เม.ย. 64 กิจกรรมปลูกป่าและทำฝายครั้งที่ 2 79 0.00 0.00
17 เม.ย. 64 แบ่งบทบาทหน้าที่ตามโชนโดยชุมชนมีส่วนร่วม 30 6,300.00 6,300.00
26 เม.ย. 64 คณะทำงานเก็บข้อมูลป่าควนเลียบ 15 6,600.00 6,600.00
28 เม.ย. 64 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาครั้งที่ 2 0 3,325.00 3,325.00
30 เม.ย. 64 ประชุมคณะทำงานวิเคราะห์ข้อมูล 0 6,300.00 6,300.00
11 พ.ค. 64 ประชุมคณะทำงานติดตามความก้าวหน้าครั้งที่ 5 15 1,575.00 1,575.00
21 พ.ค. 64 สำรวจข้อมูลป่าควนเลียบเพิ่มเติม 10 0.00 0.00
26 พ.ค. 64 ปลูกป่าเพิ่มพื้นที่ป่า ณ.ควนเลียบ 50 0.00 16,950.00
5 มิ.ย. 64 ขยายผลฝายชะลอน้ำ หมู่ที่ 1บ้านเกาะทองสม 15 0.00 0.00
17 ก.ย. 64 ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ครั้งที่ 2 15 0.00 525.00
30 ก.ย. 64 จัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ 1 1,000.00 1,000.00
30 ก.ย. 64 นิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ 0 1,000.00 1,000.00
30 ก.ย. 64 ค่าเปิดบัญชีธนาคาร 0 0.00 500.00

กำหนดการกิจกรรมปฐมนิเทศผู้รับทุน โครงการNFSจังหวัดพัทลุง วันที่20มิถุนายน2563
สถานที่ ห้องประชุมอบจ.พัทลุง(โรงแรมวังโนราห์) เวลา 08.00-08.30น.  ลงทะเบียน และสแกนกลุ่มเป้าหมายตามมาตราการป้องกันไวรัส โควิด19 เวลา 08.30-08.45น.  เตรียมความพร้อมกลุ่มเป้าหมาย/ แนะนำตัวทำความรู้จัก/สันทนาการ (ทีมสันทนาการ) เวลา 08.45-09.00น.  ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม (นายไพฑูรย์ ทองสม) เวลา 09.00-09.30น.  คลี่บันไดผลลัพธ์ องค์ประกอบบันไดผลลัพธ์และภาคีร่วมดำเนินการ (นายอรุณ ศรีสุวรรณ) เวลา 09.30-10.15น.  แบ่งกลุ่มย่อยพื้นที่โครงการ/พี่เลี้ยง ร่วมกันทบทวน ปรับปรุงบันไดผลลัพธ์ของโครงการย่อย เวลา 10.15-10.45น.  การออกแบบจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดผลลัพธ์ (นายไพฑูรย์ ทองสม) เวลา 10.45-11.30น.  พักเบรก รับประทานอาหารว่าง เวลา 11.30-12.00น.  แบ่งกลุ่มย่อยพื้นที่โครงการ/พี่เลี้ยง ช่วยกันออกแบบจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดโครงการย่อย เวลา 12.00-13.00น.  พัก รับประทานอาหารเที่ยง เวลา 13.00-13.20น.  การออกแบบแผนดำเนินงานโครงการ (นายเสณี จ่าวิสูตร) เวลา 13.20-14.00น.  แล่งกลุ่มย่อยพื้นที่โครงการย่อย/พี่เลี้ยง ออกแบบแผนการดำเนินงานโครงการย่อย เวลา 14.20-15.00น.  การบริหารจัดการ การเงิน (นางสาวจุรี หนูผุด/นายจำรัส รัตนอุบล เวลา 15.00-15.20น  สรุปและประมวลผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (นายสมนึก นุ่มดวง) เวลา 15.20-15.30น.  พักเบรก อาหารว่าง เวลา 15.30-16.30น.  การเขียนรายงานผ่านระบบHappy Network (นายไพฑูรย์ ทองสม) ดำเนินรายการโดย นางสาววิยะดา วิเชียรบุตร                สิ่งที่พื้นที่ต้องเตรียม

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทำความเข้าใจการดำเนินกิจกรรม 2.ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดำเนินการ กำหนดแผน การทำโครงการ การทำบัญชี และการบันทึกลงเว็ปไซต์

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 มิ.ย. 2563 14:29 น.