directions_run

โครงการกระบวนการจัดการป่าเสื่อมโทรมบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดผลลัพธ์ (ระบุวัตถุประสงค์ของโครงการที่แสดงให้เห็นว่า โครงการจะก่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนด้านการสร้างเสริมสุขภาพต่อกลุ่มเป้าหมายอย่างไร ซึ่งวัตถุประสงค์นี้จะต้องเฉพาะเจาะจง สอดคล้องกับหลักการและเหตุผลเป็นวัตถุประสงค์เชิงผลลัพธ์ (บอกได้ว่าจะทำโครงการนี้ด้วยแนวทางใด เพื่อให้เกิดผลอะไรที่นำไปสู่การแก้ปัญหา)) วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. เพื่อสร้างการเรียนรู้เรื่องทรัพยากรและการดูแลทรัพยากรของชุมชน -ชุมชนบ้านควนเลียบ 80 % ของครัวเรือนมีความรู้สถานการณ์ป่าเสื่อมโทรของชุมชน -เกิดคณะทำงานฟื้นฟูป่าบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วมจากหลายภาคส่วน -มีชุดข้อมูลป่าชุมชนบ้านควนเลียบในการใช้แก้ปัญหา 2. เพื่อสร้างกลไกในการขับเคลื่อนฟื้นทรัพยากรและการดูแลทรัพยากรของชุมชน -เกิดกลไกคณะทำงานจัดการป่าบ้านควนเลียบ -เกิดแผนการปรับปรุงและสร้างสภาพแวดล้อมป่าและลำคลองให้มีความอุดมสมบูรณ์ 3. เพื่อสร้างกติกาและข้อตกลงในการดูแลรักษาป่าปกป้องและใช้ประโยชน์ลำคลองร่วมกันของคนในชุมชน -เกิดกติกาข้อตกลงที่ใช้ได้ของชุมชนในการฟื้นป่าบ้านควนเลียบ -จำนวนภาคีฟื้นป่าอย่างน้อย 5 ภาคส่วน -มีจำนวนพันธุ์พืชเพิ่มขึ้นในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมไม่น้อยกว่า 120 ต้น/ไร่ -มีพันธุ์พืชอย่างน้อย 3 อย่าง (พืชใช้สอย พืชอาหาร พืชสมุนไพร)ในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม -ไม่มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไปเป็นพื้นที่เพื่อทำประโยชน์อย่างอื่นที่ทำให้ป่าเสื่อมโทรมลงไป... -เกิดกติกาชุมชนในการเฝ้าระวังความเสียหาย -เกิดฝ่ายขั้นน้ำเพื่อรักษาสภาแวดล้อมของป่าอย่างน้อย 2 ฝ่าย
ตัวชี้วัด : วัตถุประสงค์ข้อที่ 1..เพื่อสร้างการเรียนรู้เรื่องทรัพยากรแลการดูแลทรัพยากรของชุมชน...(ยกมาจากข้อ 3) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 ชุมชนบ้านควนเลียบ 80 % ของครัวเรือนมีความรู้ 1.2 เกิดคณะทำงานฟื้นฟูป่าบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วมจากหลายภาคส่วน 1.3 มีชุดข้อมูลป่าชุมชนบ้านควนเลียบในการใช้แก้ปัญหา
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดผลลัพธ์ (ระบุวัตถุประสงค์ของโครงการที่แสดงให้เห็นว่า โครงการจะก่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนด้านการสร้างเสริมสุขภาพต่อกลุ่มเป้าหมายอย่างไร  ซึ่งวัตถุประสงค์นี้จะต้องเฉพาะเจาะจง สอดคล้องกับหลักการและเหตุผลเป็นวัตถุประสงค์เชิงผลลัพธ์ (บอกได้ว่าจะทำโครงการนี้ด้วยแนวทางใด เพื่อให้เกิดผลอะไรที่นำไปสู่การแก้ปัญหา))  วัตถุประสงค์  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1. เพื่อสร้างการเรียนรู้เรื่องทรัพยากรและการดูแลทรัพยากรของชุมชน -ชุมชนบ้านควนเลียบ 80 % ของครัวเรือนมีความรู้สถานการณ์ป่าเสื่อมโทรของชุมชน -เกิดคณะทำงานฟื้นฟูป่าบ้านควนเลียบแบบมีส่วนร่วมจากหลายภาคส่วน -มีชุดข้อมูลป่าชุมชนบ้านควนเลียบในการใช้แก้ปัญหา  2. เพื่อสร้างกลไกในการขับเคลื่อนฟื้นทรัพยากรและการดูแลทรัพยากรของชุมชน  -เกิดกลไกคณะทำงานจัดการป่าบ้านควนเลียบ -เกิดแผนการปรับปรุงและสร้างสภาพแวดล้อมป่าและลำคลองให้มีความอุดมสมบูรณ์ 3. เพื่อสร้างกติกาและข้อตกลงในการดูแลรักษาป่าปกป้องและใช้ประโยชน์ลำคลองร่วมกันของคนในชุมชน -เกิดกติกาข้อตกลงที่ใช้ได้ของชุมชนในการฟื้นป่าบ้านควนเลียบ -จำนวนภาคีฟื้นป่าอย่างน้อย 5  ภาคส่วน -มีจำนวนพันธุ์พืชเพิ่มขึ้นในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมไม่น้อยกว่า 120  ต้น/ไร่ -มีพันธุ์พืชอย่างน้อย 3 อย่าง (พืชใช้สอย พืชอาหาร  พืชสมุนไพร)ในพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม  -ไม่มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไปเป็นพื้นที่เพื่อทำประโยชน์อย่างอื่นที่ทำให้ป่าเสื่อมโทรมลงไป... -เกิดกติกาชุมชนในการเฝ้าระวังความเสียหาย -เกิดฝ่ายขั้นน้ำเพื่อรักษาสภาแวดล้อมของป่าอย่างน้อย 2 ฝ่าย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมปฐมนิเทศ (2) ประชุมคณะทำงานติดตามความก้าวหน้าครั้งที่ 1 (3) ประชุมคณะทำงานสร้างความรู้ ความเข้าใจ (4) ประชุมคณะทำงานติดตามความก้าวหน้าครั้งที่ 2 (5) อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลทรัพยากรของชุมชนและศึกษาประวัติศาสตร์ควนเลียบย้อน 50 ปี พร้อมแต่งตั้งคณะทำงานจากหลายภาคส่วนร่วมทำงาน (6) ประชุมเชื่อมร้อยเครือข่าย (7) ประชุมคณะทำงานติดตามความก้าวหน้าครั้งที่ 3 (8) จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มอแอลกอฮอล์ (9) ตรวจเอกสารการเงินงวดที่ 1 (10) คณะทำงานศึกษาดูงานบ้านทุงยาวหมู่ที่ 11 (11) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาครั้งที่ 1 (12) กิจกรรมปลูกป่าและทำฝายครั้งที่ 1 (13) ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) (14) ประชุมคณะทำงานติดตามความก้าวหน้าครั้งที่ 4 (15) กิจกรรมปลูกป่าและทำฝายครั้งที่ 2 (16) แบ่งบทบาทหน้าที่ตามโชนโดยชุมชนมีส่วนร่วม (17) คณะทำงานเก็บข้อมูลป่าควนเลียบ (18) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนาครั้งที่ 2 (19) ประชุมคณะทำงานวิเคราะห์ข้อมูล (20) ประชุมคณะทำงานติดตามความก้าวหน้าครั้งที่ 5 (21) สำรวจข้อมูลป่าควนเลียบเพิ่มเติม (22) ปลูกป่าเพิ่มพื้นที่ป่า ณ.ควนเลียบ (23) ขยายผลฝายชะลอน้ำ หมู่ที่ 1บ้านเกาะทองสม (24) ประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)ครั้งที่ 2 (25) จัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ (26) นิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ (27) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh