stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการทดสอบ3
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดตรัง
รหัสโครงการ ุ63001740000
วันที่อนุมัติ 12 ตุลาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 5 กรกฎาคม 2563 - 5 พฤษภาคม 2564
งบประมาณ 0.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อารีรัตน์ แสงอาทิตย์
ผู้รับผิดชอบโครงการ อารีรัตน์ แสงอาทิตย์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ อารีรัตน์ แสงอาทิตย์
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาขยะในชุมชนป่าไม้ พบว่า มีจำนวนครัวเรือนที่ดำเนินการคัดแยกขยะ จำนวน 59 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 30.73 ยังไม่มีการคัดแยกขยะ 133 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 69.27 หลังคาเรือนที่มีการคัดแยกส่วนใหญ่มีการคัดแยกขยะรีไซเคิล (หรือขยะที่มีมูลค่า) ร้อยละ 98.31 รองลงมาคือ ขยะอินทรีย์ ร้อยละ 74.58 และขยะทั่วไปประเภทถุงพลาสติก ร้อยละ 88.14 กล่องโฟม ร้อยละ 42.37 กล่องนม ร้อยละ 32.20 และ ขยะอันตรายชุมชน ร้อยละ 49.15 ปีงบประมาณ 2562 ข้อมูลปริมาณขยะที่เก็บขนนำไปกำจัดในภาพรวมทั้งเขตเทศบาล จำนวนทั้งสิ้น ๓,๐๒๐ ตันต่อปี ขยะเฉลี่ย 0.69 กก.ต่อคนต่อวัน ชุมชนป่าไม้มีปริมาณขยะในชุมชนเฉลี่ย 522 กก.ต่อวัน ถึงแม้ว่าจะต่ำกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศเมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยการผลิตขยะต่อคนต่อวัน แต่ปริมาณขยะในชุมชนก็มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลังสามปีที่ผ่านมา ซึ่งหากไม่มีการดำเนินการแก้ปัญหาอาจจะมีปัญหาเพิ่มมากขึ้นในอนาคต ปัญหาการจัดการขยะที่พบเกิดจากพฤติกรรมของคนในชุมชนที่ขาดความตระหนักความรู้ความเข้าใจการคัดแยกขยะขาดแรงจูงใจคิดว่าการคัดแยกขยะทำให้เสียเวลา ไม่มีประโยชน์และการจัดการขยะเป็นหน้าที่ของเทศบาล ทำให้ขาดความร่วมมือที่จะดำเนินการแก้ไขปัญหา ไม่มีกลไกที่เหมาะสมสำหรับขับเคลื่อนงาน นอกจากนี้การเป็นชุมชนในเขตเมือง ทำให้ประสบปัญหาไม่มีพื้นที่บริเวณบ้านเพื่อกำจัดขยะอินทรีย์ประกอบกับการมีวิถีชีวิตทีอาศัยความสะดวกในการใช้ภาชนะพลาสติกและโฟมเป็นภาชนะบรรจุอาหารทำให้มีปริมาณขยะพลาสติกเป็นจำนวนมากปัญหาการคัดแยกขยะ โดยส่วนใหญ่ยังขาดการคัดแยกขยะอินทรีย์ ขยะทั่วไป และขยะอันตรายชุมชน ปัญหาเหล่านี้ส่งผลกระทบที่เห็นได้ชัดเจนคือชุมชนขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อย ไม่สะอาด เกิดทัศนียภาพที่ไม่ดีในชุมชน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของสัตว์พาหะนำโรคซึ่งจะเห็นได้จากการที่ยังพบป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และผู้ป่วยระบบทางเดินอาหารเกิดขึ้นในชุมชน ซึ่งเป็นโรคที่มีสาเหตุมาจากการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดี ก่อมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม มีปัญหาเรื่องร้องเรียนตามมา ในที่สุด นอกจากนี้การเพิ่มปริมาณขยะยังถือว่าเป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการขยะในชุมชน ซึ่งจากการวิเคราะห์ข้อมูลของปีงบประมาณ ๒๕๖๒ พบว่าเทศบาลเมืองกันตังใช้งบประมาณในการบริหารจัดการขยะ จำนวน ๗,๓๗๐,๕๒๔.๔๑ บาท เฉลี่ย ๒.๔๐ บาทต่อกิโลกรัม

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อลดปริมาณขยะโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

1.1 มีคณะทำงานของชุมชน ประกอบด้วย คณะกรรมการชุมชน อสม.
จิตอาสา ผู้ทรงคุณวุฒิ และ เจ้าหน้าที่ อปท. 1.2 คณะทำงานมีรูปแบบกลไกการทำงาน ประกอบด้วย แผนการ ปฏิบัติงานการติดตาม การรายงานผลและเครื่องมือการปฏิบัติงาน 1.3 มีฐานข้อมูลการจัดการขยะของครัวเรือนทุกครัวเรือน

1.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ โรงเรียน 50 -
กลุ่มเป้าหมายหลัก 150 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 95 20,015.00 2 3,500.00
20 ก.ค. 63 กิจกรรมที่1 อบรมให้ความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และแกนนำ 45 16,615.00 2,300.00
22 ก.ย. 63 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสำรวจพฤติกรรมการทิ้งขยะของนักเรียนโดยกลุ่มนักเรียนแกนนำ 50 3,400.00 1,200.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ….นักเรียนและครูมีพฤติกรรมถูกต้องในการกำจัดขยะมูลฝอยตามหลัก 3 R ตัวชี้วัดผลลัพธ์.....1.1 เกิดคณะทำงานที่ประกอบด้วย (ผู้บริหารโรงเรียน/แกนนำครู/แกนนำนักเรียน/ผู้ปกครอง) 1.2คณะทำงานมีความรู้ ทักษะและตระหนักในเรื่องการจัดการขยะตามหลัก 3 R ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.3 ปริมาณการใช้กระดาษในสำนักงานลดลง 1.4 มีฐานข้อมูลเรื่องขยะ 1.5 ร้านค้าในโรงเรียนปลอดโฟม ร้อยละ 100 1.6 งานกิจกรรมของโรงเรียนปลอดโฟมและลดการใช้ขยะพลาสติก

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ส.ค. 2563 14:05 น.