directions_run

ควนปริง สะอาด ปลอดภัย ไร้ขยะ ต.ควนปริง อ.เมือง จ.ตรัง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดตรัง


“ ควนปริง สะอาด ปลอดภัย ไร้ขยะ ต.ควนปริง อ.เมือง จ.ตรัง ”

ตำบลควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายธนพงษ์ สัญวงค์

ชื่อโครงการ ควนปริง สะอาด ปลอดภัย ไร้ขยะ ต.ควนปริง อ.เมือง จ.ตรัง

ที่อยู่ ตำบลควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63001740008 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 กรกฎาคม 2563 ถึง 10 ตุลาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"ควนปริง สะอาด ปลอดภัย ไร้ขยะ ต.ควนปริง อ.เมือง จ.ตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ควนปริง สะอาด ปลอดภัย ไร้ขยะ ต.ควนปริง อ.เมือง จ.ตรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " ควนปริง สะอาด ปลอดภัย ไร้ขยะ ต.ควนปริง อ.เมือง จ.ตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63001740008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 กรกฎาคม 2563 - 10 ตุลาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 130,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พื้นที่ตำบลควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง มีอาณาเขตติดต่อกับ เทศบาลนครตรัง และ เทศบาลตำบลโคกหล่อ ของอำเภอเมืองตรัง และติดกับ องค์การบริหารส่วนตำบลบางรัก และ องค์การบริหารส่วนตำบลควนธานี ของอำเภอกันตัง มีสภาพกึ่งเมืองกึ่งชนบท ที่มีแนวโน้มการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งปลูกสร้างอย่างรวดเร็ว เป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ที่มีนักศึกษาและบุคลากรรวม 2,810 คน (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, มิถุนายน 2563) มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่มีคนงานรวม 1,566 คน (บริษัท ตรังผลิตภัณฑ์อาหารทะเล จำกัด (มหาชน), มิถุนายน 2563) มีตลาดสดหน้าโรงงานฯ มีร้านสะดวกซื้อ บ้านเช่า และหอพัก เกิดขึ้นในพื้นที่เป็นจำนวนมาก ตำบลควนปริง แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 9 หมู่บ้าน มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ฯ ทั้งสิ้น จำนวน 7,524 คน มีจำนวนครัวเรือนรวม 2,915 ครัวเรือน (งานทะเบียนราษฎร อำเภอเมืองตรัง, กุมภาพันธ์ 2563) และมีประชากรแฝงอาศัยอยู่ในพื้นที่จำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บริเวณรายรอบมหาวิทยาลัยฯ บริเวณโรงงานอุตสาหกรรม และตลาดสดหน้าโรงงานฯ จากการสำรวจข้อมูลขยะของตำบลควนปริง พบว่ามีปริมาณขยะเฉลี่ย 3 ปีย้อนหลังเท่ากับ 3.59 ตัน/วัน หรือประมาณ 0.5 กก./คน/วัน และมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดย อบต.ควนปริง ต้องใช้งบประมาณโดยรวมเฉลี่ย 3 ปีย้อนหลังสูงถึง 1,527,677.33 บาท/ปี (127,306.44 /เดือน) ในขณะที่ อบต. สามารถเก็บค่าธรรมเนียมขยะโดยเฉลี่ย 3 ปีย้อนหลังได้เพียง 164,248 บาท/ปี (13,687.33/เดือน) (งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักปลัดฯ อบต.ควนปริง, 2563)
สาเหตุสำคัญของปัญหาขยะตำบลควนปริง มาจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคแบบฟาสฟูดส์ ข้าวถุง แกงถุง สั่งอาหารออนไลน์ ฯลฯ ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการเพิ่มปริมาณขยะอย่างรวดเร็ว ประกอบกับในพื้นที่ยังมีการคัดแยกขยะในปริมาณน้อย จากการสำรวจพบว่ามีเพียงประมาณ 10% ของครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะอย่างต่อเนื่อง และยังไม่เห็นรูปธรรมของการใช้ประโยชน์จากขยะที่คัดแยกอย่างชัดเจน ประชากรส่วนใหญ่ยังคุ้นเคยกับการทิ้งขยะทุกประเภทรวมกันในถังเดียว ซึ่งมีวางอยู่ในจุดต่างๆ ในพื้นที่ตำบลควนปริง ประมาณ 1,000 ถัง นอกจากนี้ยังพบว่ายังมีการทิ้งขยะ 2 ข้างทางโดยเฉพาะบริเวณรกร้างที่ไม่มีสิ่งปลูกสร้าง และมีปัญหาขยะล้นถังในที่ประชากรหนาแน่น และบริเวณทางสายหลักที่ตัดผ่านพื้นที่ โดยชาวบ้านส่วนใหญ่ยังมีความคิดเห็นว่าเรื่องการจัดการขยะเป็นงานของ อบต. และประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และการใช้ประโยชน์จากขยะแต่ละประเภท
เมื่อพิจารณาถึงสภาพแวดล้อมทางสังคม พบว่าตำบลควนปริงเป็นตำบลที่มีประชากรค่อนข้างหนาแน่น โดยเฉพาะหมู่ที่ 5 และหมู่ที่ 6 ที่เป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง และโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งพบว่าในบริเวณดังกล่าวมีประชากรแฝงทั้งที่เป็นนักศึกษาและแรงงานต่างด้าวอาศัยอยู่จำนวนมาก และพื้นที่ดังกล่าวมีปริมาณขยะที่จัดเก็บได้ประมาณ 50% ของปริมาณขยะที่จัดเก็บได้ทั้งหมดของ อบต. โดยมีปริมาณขยะเฉลี่ย 1.5 กก./คน/วัน หรือประมาณ 3 เท่าของพื้นที่อื่นๆ ประกอบกับองค์กรต่างๆ ที่มีที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลควนปริงก็ยังไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะของชุมชนอย่างจริงจัง ในขณะที่ท้องถิ่นใกล้เคียงก็ไม่มีการวางถังขยะ ส่งผลให้มีการเคลื่อนย้ายขยะจากนอกพื้นที่มาทิ้งในพื้นที่เป็นจำนวนมาก
เมื่อพิจารณาถึงสภาพแวดล้อมทางกายภาพ พบว่าพื้นที่ตำบลควนปริง เป็นที่ตั้งของ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตตรัง ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดขยะสำคัญดังกล่าวข้างต้น และเป็นที่ตั้งของร้านค้า บ้านเช่า หอพัก และร้านสะดวกซื้อต่างๆ รวมถึงโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ มีตลาดสด มีถนนสายหลักตัดผ่านซึ่งเป็นถนนเชื่อมต่อระหว่างตัวอำเภอกับตัวจังหวัด และมักจะมีการเคลื่อนย้ายขยะจากนอกพื้นที่เข้ามาทิ้งในถังขยะที่วางไว้ 2 ข้างทางเป็นจำนวนมาก สังเกตได้จากปริมาณขยะในถังขยะที่วางอยู่บนถนนดังกล่าว มักจะมีขยะล้นออกมาข้างนอกถัง นอกจากนี้ยังพบว่าจุดคัดแยกขยะที่ทาง อบต. ได้เตรียมไว้ให้สำหรับคัดแยกขยะรีไซเคิล มีไม่เพียงพอกับปริมาณความต้องการของชุมชน โดยในปัจจุบันมีเพียง 10 จุด (หมู่บ้านละ 1 จุดและที่ อบต. 1 จุด) เมื่อพิจารณาถึงศักยภาพการกำจัดขยะของท้องถิ่นในปัจจุบัน พบว่า อบต.มีเตาเผาขยะ 2 เตา ซึ่งมีกำลังเผาประมาณ 3 ตัน/วัน แต่เผาได้จริงเพียง 1 ตัน/วัน เนื่องจากมีปัญหาเรื่องความชื้นของขยะ นอกจากนี้ยังพบว่ารถที่ อบต. ใช้จัดเก็บขยะซึ่งมีอยู่เพียง 1 คัน ก็มีสภาพเก่า อายุการใช้งานมากกว่า 15 ปี และชำรุดบ่อย ในส่วนของกลไกการบริหารจัดการขยะ ปัจจุบันมีคณะกรรมการจัดการขยะระดับตำบล แต่การทำงานยังขาดความต่อเนื่อง ยังไม่มีแผนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน อีกทั้งองค์กรต่าง ๆ ที่เป็นแหล่งขยะในพื้นที่ก็ยังขาดความร่วมมือในการจัดการขยะร่วมกัน ในส่วนของการรณรงค์เรื่องการจัดการขยะ มีการดำเนินงานแค่ปีละประมาณ 1-2 ครั้งโดย อบต. และฝ่ายปกครองในท้องถิ่น สำหรับโครงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะที่ตำบลควนปริงเคยทำ อาทิ เช่น โครงการสนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินงานธนาคารขยะหรือวิสาหกิจชุมชนเกี่ยวกับการจัดการขยะ โครงการบริหารจัดการศูนย์บริการจัดการขยะ ผลการศึกษาพบว่า ยังไม่มีโครงการใดประสบความสำเร็จเท่าที่ควร โดยชุมชนจะมีส่วนร่วมดำเนินการเพียงในระยะเริ่มแรกของโครงการ แต่หลังจากนั้นไม่นานก็จะล้มเลิกไป ปรากฎการณ์ดังกล่าวกลายเป็นอุปสรรคสำคัญในการรณรงค์เรื่องการจัดการขยะในชุมชน เนื่องจากชุมชนจะมีความเชื่อว่า “ทำไปเดี๋ยวก็เลิกอีก เหมือนโครงการที่ผ่านมา” สำหรับผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปัญหาขยะของตำบลควนปริงมีหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้เกิดทัศนียภาพที่ไม่น่ามอง เกิดมลพิษทางกลิ่น ดิน และ น้ำ โดยเฉพาะบริเวณเตาเผาขยะ และจุดทิ้งขยะที่มีขยะล้นถังจะส่งกลิ่นเหม็น และมีเรื่องร้องเรียนมายัง อบต. เกี่ยวกับปัญหาขยะล้นถังบ่อยครั้ง โดยเฉพาะเวลารถขยะชำรุดไม่สามารถไปเก็บขยะได้ตามกำหนด ส่งผลเสียต่อภาพลักษณ์ของตำบล ในส่วนของผลกระทบทางเศรษฐกิจ อบต.ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการจัดการขยะเฉลี่ย 1,527,677.33 บาท/ปี (127,306.44 /เดือน) ในขณะที่สามารถเก็บค่าธรรมเนียมขยะได้เพียง 164,248 บาท/ปี (13,687.33/เดือน) และมีแนวโน้มสูงขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคดังกล่าวข้างต้น นอกจากนี้ยังพบว่าปัญหาขยะในพื้นที่โดยเฉพาะขยะที่ถูกทิ้งอยู่นอกถังตาม 2 ข้างทางและจุดทิ้งขยะต่างๆ ได้กลายเป็นแหล่งผลิตลูกน้ำยุงลาย ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการระบาดของไข้เลือกออกในพื้นที่ โดยในปี2562 พบว่าพื้นที่ตำบลควนปริงมีค่า HI >10 มีผู้ป่วยไข้เลือกออก จำนวน 30 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 131 ต่อแสนประชากร ซึ่งสูงกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง จากสถานการณ์ปัญหาและผลกระทบที่กล่าวมาข้างต้น ชุมชนตำบลควนปริงได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้มีการประชุมวางแผนด้านการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคสังคม และภาควิชาการ ในพื้นที่ และมีการจัดตั้งคณะทำงานมารับผิดชอบในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยมีเป้าหมายสำคัญเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วนในตำบลควนปริงให้หันมาให้ความสำคัญกับการจัดการขยะ เพื่อขับเคลื่อนตำบลควนปริง สู่ “ตำบลสะอาด ปลอดภัย ไร้ขยะ” อันจะนำไปสู่การมีสุขภาวะที่ดีของประชาชนในตำบลต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างกลไกการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมในชุมชน
  2. 2.เพื่อให้ประชาชนในตำบลมีการคัดแยกขยะที่ต้นทาง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ)
  2. กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
  3. กิจกรรมที่ 3 การจัดการตลาดต้นแบบเพื่อลดขยะอย่างยั่งยืน
  4. กิจกรรมที่ 7 พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน
  5. กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ขยะตำบลควนปริง
  6. กิจกรรมที่ 4 จัดทำแผนการจัดการขยะระดับตำบลและระดับหมู่บ้าน
  7. กิจกรรมที่ 6 การกำกับและติดตามการดำเนินงานตามแผนจัดการขยะ
  8. กิจกรรมที่ 5 ประกวดครัวเรือนต้นแบบและหมู่บ้านต้นแบบ
  9. กิจกรรมที่ 8 สื่อสารสาธารณะ
  10. บัญชีธนาคาร
  11. เวทีปฐมนิเทศคณะทำงานโครงการการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม ณ ภูผายอดรีสอร์ท
  12. ค่าโทรศัพท์ 3 งวด
  13. ป้ายชื่อโครงการ และป้ายเขตปลอดบุหรี่
  14. กิจกรรมที่ 3 การจัดการตลาดต้นแบบเพื่อลดขยะอย่างยั่งยืน
  15. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 1
  16. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 2
  17. กิจกรรมที่ 7 พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน
  18. กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ขยะตำบลควนปริง
  19. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 3
  20. รายงานในระบบ Happy net work
  21. กิจกรรมที่ 4 จัดทำแผนการจัดการขยะระดับตำบลและระดับหมู่บ้าน
  22. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 4
  23. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน ครั้งที่ 1 หน่วยจัดการจังหวัดที่มรจุดเน้นสำคัญ(Node Flagship)ประเด็นการจัดการขยะ
  24. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 5
  25. กิจกรรมที่ 6 การกำกับและติดตามการดำเนินงานตามแผนจัดการขยะ
  26. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 6
  27. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 7
  28. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 8
  29. กิจกรรมที่ 5 ประกวดครัวเรือนต้นแบบและหมู่บ้านต้นแบบ
  30. กิจกรรมที่ 8 สื่อสารสาธารณะ
  31. ประชุมกลไกระดับจังหวัด
  32. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 9
  33. ค่าจัดทำชุดนิทรรศการ
  34. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 10
  35. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน ครั้งที่ 2 หน่วยจัดการจังหวัดที่มีจุดเน้นสำคัญ(Node Flagship) ประเด็นการจัดการขยะ
  36. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ ประชาชน ตำบลควนปริง 7,524

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เวทีปฐมนิเทศคณะทำงานโครงการการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม ณ ภูผายอดรีสอร์ท

วันที่ 21 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนคณะทำงานเข้าร่วมเวทีปฐมนิเทศโครงการการจัดการขยะ ตัวแทนนำเสนอแผนการดำเนินโครงการในระยะเวลา 10 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตัวแทนโครงการเข้าร่วมการประชุม 5 คน ประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบโครงการ เจ้าหน้าที่การเงิน และคณะกรรมการ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประชุม ทำให้มีความเข้าใจภาพรวมโครงการ การดำเนินงาน ตัวแทนนำเสนอรูปแบบการจัดการขยะระดับตำบล ในตำบลควนปริง

 

5 0

2. ป้ายชื่อโครงการ และป้ายเขตปลอดบุหรี่

วันที่ 21 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ป้ายชื่อโครงการ และป้ายเขตปลอดบุหรี่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับป้ายชื่อโครงการ และป้ายเขตปลอดบุหรี่

 

7,000 0

3. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 1

วันที่ 31 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคัดเลือก และแต่งตั้งคณะกรรมการและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อมตำบลควนปริง กำหนดบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ประชาสัมพันธ์การรับสมัครทสม.ตำบลควนปริง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร่างคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อมตำบลควนปริง

 

60 0

4. กิจกรรมที่ 3 การจัดการตลาดต้นแบบเพื่อลดขยะอย่างยั่งยืน

วันที่ 1 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

การจัดการตลาดต้นแบบเพื่อลดขยะอย่างยั่งยืน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้การจัดการตลาดต้นแบบเพื่อลดขยะอย่างยั่งยืน

 

60 0

5. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 2

วันที่ 28 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงรายละเอียดและวิธีดำเนินโครงการ ชี้แจงบทบาทของคณะกรรมการและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
คืนข้อมูลสถานการณ์ขยะ วางแผนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการและอาสาสมัครฯเข้าใจรายละเอียดและวิธีดำเนินโครงการ ทราบบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
เกิดการรับรู้ข้อมูลสถานการณ์ขยะ แผนการดำเนินงาน

 

60 0

6. กิจกรรมที่ 7 พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน

วันที่ 9 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานมีความรู้ในการคัดแยกขยะ

 

45 0

7. กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ขยะตำบลควนปริง

วันที่ 16 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

สำรวจข้อมูลสถานการณ์ขยะทุกหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อมูลปริมาณขยะ และข้อมูลการคัดแยกขยะแต่ละหมู่บ้าน

 

50 0

8. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 3

วันที่ 8 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงโครงการ และวางแผนการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • คณะทำงานมีความเข้าใจรายละเอียดโครงการ
  • เกิดแผนการดำเนินงานโครงการ

 

60 0

9. รายงานในระบบ Happy net work

วันที่ 14 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

รายงานความคืบหน้าของโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ทราบกระบวนการทำงานของโครงการ และกิจกรรมที่จะดำเนินในครั้งต่อไป

 

2 0

10. กิจกรรมที่ 4 จัดทำแผนการจัดการขยะระดับตำบลและระดับหมู่บ้าน

วันที่ 6 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนการจัดการขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนการจัดการขยะทุกหมู่บ้าน

 

450 0

11. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 4

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงรายละเอียดและวิธีดำเนินโครงการ ชี้แจงบทบาทของคณะกรรมการและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
คืนข้อมูลสถานการณ์ขยะ วางแผนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการและอาสาสมัครฯเข้าใจรายละเอียดและวิธีดำเนินโครงการ ทราบบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
เกิดการรับรู้ข้อมูลสถานการณ์ขยะ แผนการดำเนินงาน

 

60 0

12. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน ครั้งที่ 1 หน่วยจัดการจังหวัดที่มรจุดเน้นสำคัญ(Node Flagship)ประเด็นการจัดการขยะ

วันที่ 15 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ผลลัพทธ์ของโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมคณะกรรมการของโครงการ เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ผลการดำเนินงานและผลลัพธ์ของโครงการ

 

5 0

13. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 5

วันที่ 17 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงรายละเอียดและวิธีดำเนินโครงการ ชี้แจงบทบาทของคณะกรรมการและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
คืนข้อมูลสถานการณ์ขยะ วางแผนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการและอาสาสมัครฯเข้าใจรายละเอียดและวิธีดำเนินโครงการ ทราบบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
เกิดการรับรู้ข้อมูลสถานการณ์ขยะ แผนการดำเนินงาน

 

60 0

14. กิจกรรมที่ 6 การกำกับและติดตามการดำเนินงานตามแผนจัดการขยะ

วันที่ 4 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

การกำกับและติดตามการดำเนินงานตามแผนจัดการขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการกำกับและติดตามการดำเนินงานตามแผนจัดการขยะ ได้ข้อสรุปตามที่ต้องการ

 

50 0

15. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 6

วันที่ 18 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงรายละเอียดและวิธีดำเนินโครงการ ชี้แจงบทบาทของคณะกรรมการและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
คืนข้อมูลสถานการณ์ขยะ วางแผนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการและอาสาสมัครฯเข้าใจรายละเอียดและวิธีดำเนินโครงการ ทราบบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
เกิดการรับรู้ข้อมูลสถานการณ์ขยะ แผนการดำเนินงาน

 

60 0

16. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 7

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงรายละเอียดและวิธีดำเนินโครงการ ชี้แจงบทบาทของคณะกรรมการและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
คืนข้อมูลสถานการณ์ขยะ วางแผนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการและอาสาสมัครฯเข้าใจรายละเอียดและวิธีดำเนินโครงการ ทราบบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
เกิดการรับรู้ข้อมูลสถานการณ์ขยะ แผนการดำเนินงาน

 

60 0

17. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 8

วันที่ 17 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงรายละเอียดและวิธีดำเนินโครงการ ชี้แจงบทบาทของคณะกรรมการและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
คืนข้อมูลสถานการณ์ขยะ วางแผนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการและอาสาสมัครฯเข้าใจรายละเอียดและวิธีดำเนินโครงการ ทราบบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
เกิดการรับรู้ข้อมูลสถานการณ์ขยะ แผนการดำเนินงาน

 

60 0

18. กิจกรรมที่ 5 ประกวดครัวเรือนต้นแบบและหมู่บ้านต้นแบบ

วันที่ 24 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

สำรวจครัวเรือนภายในตำบลควนปริง และจัดกิจกรรมประกวดเพื่อหาครัวเรือนต้นแบบ พัฒนาต่อยอดไปสู่หมู่บ้านต้นแบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ครัวเรือนประจำตำบลควนปริง

 

200 0

19. ประชุมกลไกระดับจังหวัด

วันที่ 7 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมกลไกระดับจังหวัด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เข้าร่วมประชุมกลไกระดับจังหวัด

 

1 0

20. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 9

วันที่ 16 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงรายละเอียดและวิธีดำเนินโครงการ ชี้แจงบทบาทของคณะกรรมการและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
คืนข้อมูลสถานการณ์ขยะ วางแผนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการและอาสาสมัครฯเข้าใจรายละเอียดและวิธีดำเนินโครงการ ทราบบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
เกิดการรับรู้ข้อมูลสถานการณ์ขยะ แผนการดำเนินงาน

 

60 0

21. ค่าจัดทำชุดนิทรรศการ

วันที่ 25 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำสื่อการเรียนรู้ และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะ ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลควนปริง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะมากยิ่งขึ้น

 

7,500 0

22. ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 10

วันที่ 30 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงรายละเอียดและวิธีดำเนินโครงการ ชี้แจงบทบาทของคณะกรรมการและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
คืนข้อมูลสถานการณ์ขยะ วางแผนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการและอาสาสมัครฯเข้าใจรายละเอียดและวิธีดำเนินโครงการ ทราบบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
เกิดการรับรู้ข้อมูลสถานการณ์ขยะ แผนการดำเนินงาน

 

60 0

23. ค่าโทรศัพท์ 3 งวด

วันที่ 20 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ป้ายชื่อโครงการ และป้ายเขตปลอดบุหรี่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับป้ายชื่อโครงการ และป้ายเขตปลอดบุหรี่

 

1 0

24. กิจกรรมที่ 8 สื่อสารสาธารณะ

วันที่ 1 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำสื่อวีดีโอเกี่ยวกับการจัดการขยะในพื้นที่ตำบลควนปริง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วีดีโอเกี่ยวกับการจัดการขยะในพื้นที่ตำบลควนปริง เพื่อประชาสัมพันธ์ ลิงค์สื่อ ควนปริง ปลอดภัย ไร้ขยะ https://www.youtube.com/watch?v=vNeKxxxsnds

 

0 0

25. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 10 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

คืนเงินทดลองยืมเปิดบัญชีธนาคาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คืนเงินทดลองยืมเปิดบัญชีธนาคาร

 

0 0

26. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน ครั้งที่ 2 หน่วยจัดการจังหวัดที่มีจุดเน้นสำคัญ(Node Flagship) ประเด็นการจัดการขยะ

วันที่ 10 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการโครงการละ 2 คน เพื่อแลกเปลี่ยนผลการทำงานและผลลัพธ์ของโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของโครงการขยะ ทบทวนการดำเนินงาน ผลัพทธ์ที่ได้ ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะ

 

2 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างกลไกการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมในชุมชน
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 1 เกิดกลไกการจัดการขยะในชุมชน 1.1 เกิดคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมตำบลควนปริงที่มาจากตัวแทนกลุ่มคนที่หลากหลายและคลอบคลุมทุกหมู่บ้าน อย่างน้อย 15 คน 1.2 เกิดอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม หมู่บ้านละ 5 คน ที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการขยะที่ถูกต้อง 1.3 มีข้อมูลสถานการณ์ขยะทุกหมู่บ้าน 1.4 เกิดกติกา/ข้อตกลงร่วมกันเกี่ยวกับการจัดการขยะระดับตำบล
1.00

 

2 2.เพื่อให้ประชาชนในตำบลมีการคัดแยกขยะที่ต้นทาง
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 2 ประชาชนในตำบลมีความรู้ความเข้าใจและสามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง 2.1 มีการประชาสัมพันธ์และรณรงค์เกี่ยวกับการคัดแยกขยะอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 2.2 ครัวเรือน 30% สามารถคัดแยกขยะได้อย่างถูกต้อง ผลลัพธ์ที่ 3 เกิดครัวเรือนต้นแบบและชุมชนต้นแบบด้านการจัดการขยะตำบลควนปริง 3.1 เกิดครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะ ร้อยละ 10 3.2 เกิดชุมชนต้นแบบด้านการจัดการขยะตำบลควนปริง 1 ชุมชน ** ครัวเรือนต้นแบบต้องสามารถคัดแยกขยะได้ถูกวิธี และมีการใช้ประโยชน์จากขยะที่คัดแยก ** *ชุมชนต้นแบบ 1) ต้องมีครัวเรือนต้นแบบอย่างน้อยร้อยละ 50 2) ต้องมีแผนงานการจัดการขยะในชุมชนที่สอดคล้องกับบริบทชุมชนและสามารถปฏิบัติได้จริง 3) มีกติกา/ข้อตกลงร่วมกันด้านการจัดการขยะในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน และสามารถปฏิบัติการได้จริง ผลลัพธ์ที่ 4 ปริมาณขยะลดลง 4.1 ขยะในตำบลควนปริงลดลง ร้อยละ 20
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 7524
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ ประชาชน ตำบลควนปริง 7,524

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างกลไกการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมในชุมชน (2) 2.เพื่อให้ประชาชนในตำบลมีการคัดแยกขยะที่ต้นทาง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ) (2) กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม (3) กิจกรรมที่ 3 การจัดการตลาดต้นแบบเพื่อลดขยะอย่างยั่งยืน (4) กิจกรรมที่ 7 พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน (5) กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ขยะตำบลควนปริง (6) กิจกรรมที่ 4 จัดทำแผนการจัดการขยะระดับตำบลและระดับหมู่บ้าน (7) กิจกรรมที่ 6 การกำกับและติดตามการดำเนินงานตามแผนจัดการขยะ (8) กิจกรรมที่ 5 ประกวดครัวเรือนต้นแบบและหมู่บ้านต้นแบบ (9) กิจกรรมที่ 8 สื่อสารสาธารณะ (10) บัญชีธนาคาร (11) เวทีปฐมนิเทศคณะทำงานโครงการการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม ณ ภูผายอดรีสอร์ท (12) ค่าโทรศัพท์ 3 งวด (13) ป้ายชื่อโครงการ และป้ายเขตปลอดบุหรี่ (14) กิจกรรมที่ 3 การจัดการตลาดต้นแบบเพื่อลดขยะอย่างยั่งยืน (15) ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 1 (16) ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 2 (17) กิจกรรมที่ 7 พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน (18) กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ขยะตำบลควนปริง (19) ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 3 (20) รายงานในระบบ Happy net work (21) กิจกรรมที่ 4 จัดทำแผนการจัดการขยะระดับตำบลและระดับหมู่บ้าน (22) ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 4 (23) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน ครั้งที่ 1 หน่วยจัดการจังหวัดที่มรจุดเน้นสำคัญ(Node Flagship)ประเด็นการจัดการขยะ (24) ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 5 (25) กิจกรรมที่ 6 การกำกับและติดตามการดำเนินงานตามแผนจัดการขยะ (26) ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 6 (27) ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 7 (28) ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 8 (29) กิจกรรมที่ 5 ประกวดครัวเรือนต้นแบบและหมู่บ้านต้นแบบ (30) กิจกรรมที่ 8 สื่อสารสาธารณะ (31) ประชุมกลไกระดับจังหวัด (32) ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 9 (33) ค่าจัดทำชุดนิทรรศการ (34) ประชุมคณะกรรมการพิทักษ์สิ่งแวดล้อมและอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 10 (35) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน ครั้งที่ 2 หน่วยจัดการจังหวัดที่มีจุดเน้นสำคัญ(Node Flagship) ประเด็นการจัดการขยะ (36) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ควนปริง สะอาด ปลอดภัย ไร้ขยะ ต.ควนปริง อ.เมือง จ.ตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63001740008

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธนพงษ์ สัญวงค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด