directions_run

การจัดการขยะในชุมชนเมือง ต.ทับเที่ยง อ.เมือง จ.ตรัง

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ การจัดการขยะในชุมชนเมือง ต.ทับเที่ยง อ.เมือง จ.ตรัง
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดตรัง
รหัสโครงการ 63-00174-0006
วันที่อนุมัติ 20 กรกฎาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 กรกฎาคม 2563 - 10 ตุลาคม 2564
งบประมาณ 117,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชุมชนบางรัก
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายธนาวุธ คงเอียด
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายอาธร อุคคติ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 ก.ค. 2563 19 พ.ย. 2563 20 ก.ค. 2563 19 พ.ย. 2563 46,800.00
2 20 พ.ย. 2563 19 เม.ย. 2564 20 พ.ย. 2563 10 ต.ค. 2564 58,500.00
3 20 เม.ย. 2564 10 ต.ค. 2564 11,700.00
รวมงบประมาณ 117,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เทศบาลนคร มีพื้นที่ 14.77 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมเขตตำบลทับเที่ยง ซึ่งอาจเรียกตัวเมืองตรังได้อีกชื่อหนึ่งว่า "เมืองทับเที่ยง" มีประชากรในปี พ.ศ. 2560 จำนวน 59,894 คน แบ่งการเขตบริการจำนวน 66 ชุมชน โดยชุมชนในเขตเทศบาลนครตรัง จะมีสภาพความเป็นอยู่ในเป็นลักษณะของชุมชนเมือง ที่มีความหลากหลายของพื้นที่แตกต่างกัน มีลักษณะบ้านเดี่ยว บ้านทาวน์เฮ้าส์ ร้านค้า ผู้ประกอบการรวมถึงการค้าขายในตลาดสด
ปัจจุบันเทศบาลนครตรัง มีปริมาณขยะเกิดขึ้นในเขตเทศบาลนครตรัง วันละเกือบ 50 ตัน แยกเป็นขยะทั่วไปประมาณ 41 %  ขยะย่อยสลายได้ 30 % ขยะรีไซเคิล 29.97 %  และขยะอันตราย 0.03 % (ข้อมูลจากกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม,2563) ซึ่งทุกวันจะมีรถจัดเก็บขยะและนำฝั่งกลบที่กองขยะของเทศบาลนครตรัง ซึ่งอยู่ใกล้คลองนางน้อย ซึ่งเป็นแหล่งน้ำธรรมชาติก่อนที่จะไหลลงสู่แม่น้ำตรัง(แม่น้ำที่เป็นเส้นเลือกหล่อเลี้ยงคนตรัง) พบว่า เทศบาลนครตรังจะใช้งบประมาณจำนวนมากในการจัดการขยะ แต่ก็ยังมีปัญหาขยะบางส่วนถูกทิ้งในที่สาธารณะและไหลลงในท่อระบายน้ำทำให้เกิดท่ออุดตัน ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านกลิ่นและการปนเปื้อนของแหล่งน้ำธรรมชาติ
ปี 2561 เทศบาลนครตรังโดย กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะและการกำจัดขยะแก่ชาวชุมชนตามโครงการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมการกำจัดขยะเทศบาลนครตรัง เพื่อให้ชุมชนสามารถบริหารจัดการขยะได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล มีการจัดการที่เป็นระบบและเป็นกระบวนการ นับตั้งแต่การลดปริมาณขยะจากต้นทาง โดยอาศัยความร่วมมือจากประชาชนในฐานะเป็นผู้ผลิตและทิ้งขยะมูลฝอย เพราะหากทุกคนในชุมชนร่วมมือกันก็สามารถควบคุมและลดปริมาณขยะในพื้นที่ลงได้ สำหรับในครั้งนี้มีการทำถังขยะอินทรีย์ลดปริมาณขยะในครัวเรือน โดยถังกำจัดขยะเปียกนั้นทำจากถังขยะ ที่เจาะก้นถัง ออกแล้วขุดหลุมดินให้ลึก 1 : 3 ส่วนของถังหรือสัก 1 : 2 ส่วนของถัง ฝังถังลงไปในหลุมแล้วเอาเศษอาหารใส่ลงไปในถัง เศษขยะจากเศษอาหารที่บริโภคเหลือ หากสัมผัสกับดินด้านล่างก็จะเกิดการหมัก ย่อยสลายเศษอาหารจนกลายเป็นดินอินทรีย์ ถ้าหากมีกลิ่นก็เอาดินหรือเอาฝุ่นโรย แล้วเอาฝาปิดไว้ป้องกันกลิ่น แต่การดำเนินงานก็ประสบปัญหาเนื่องจากชุมชนในเขตเมือง พื้นที่บ้านไม่มีพื้นดินดังนั้นจึงไม่มีที่สำหรับวางถังกำจัดขยะเปียก แต่การจัดการในระดับชุมชนปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมของประชาชนที่เน้นความสะดวกสบายใช้บรรจุภัณฑ์ที่ใช้ครั้งเดียวทิ้ง ขาดผู้ประกอบการร้านที่ที่เอื้อสำหรับการลดการใช้พลาสติก
ดังนั้นเพื่อพัฒนาชุมชนในเขตเทศบาลนครตรังให้เป็นชุมชนต้นแบบที่มีการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมส่งเสริมให้มีการจัดการขยะตั้งแต่ต้นทางครัวเรือนมีการจัดการขยะ ลดการใช้ถุงพลาสติก มีผู้ประกอบการที่ร่วมลดการใช้ โฟมและถุงพลาสติก จึงขอเสนอโครงการ “การจัดการขยะในชุมชนเทศบาลนครตรัง” เพื่อสร้างกระบวนการให้ประชาชน และผู้ประกอบการมีส่วนร่วม มีการลดการใช้ถุงพลาสติก มีการคัดแยกและการนำไปจัดการต่ออย่างเหมาะสมต่อไป

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ปริมาณขยะในชุมชนเป้าหมายลดลง
  1. เกิดคณะทำงานการจัดการขยะที่เข้มแข็ง 1.1เกิดคณะทำงานที่ประกอบด้วยคณะกรรมการชุมชน จิตอาสาของชุมชนตรอกปลา และชุมชนบางรักอย่างน้อยรวม10 คน
    1.2 คณะทำงานมีความรู้เรื่องการจัดการขยะ 1.3 มีข้อตกลง แผนการทำงานที่ชัดเจนและมีแผนปฏิบัติงาน
  2. กลุ่มเป้าหมายมีความเข้าใจในกระบวนการคัดแยกขยะ   2.1 ครัวเรือนเป้าหมายมีความเข้าใจการจัดการขยะ 80%
      2.2 สถานประกอบการมีความเข้าใจการจัดการขยะ 80%   2.3 มีกติกาของครัวเรือนและผู้ประกอบในการมีส่วนร่วมจัดการขยะ   2.4 มีฐานข้อมูลการจัดการขยะครัวเรือน
  3. สิ่งแวดล้อมในชุมชนมีสภาพที่ดีและสะอาดมีความปลอดภัย 3.1 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะที่ถูกวิธีร้อยละ 90 3.2สถานประกอบการร่วมลดการใช้พลาสติกและโฟม 20 ร้าน
  4. ปริมาณขยะลดลง 4.1 ขยะลดลง ร้อยละ 20
1.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 220
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ เด็กและเยาวชน โรงเรียน วัด 100 -
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ ครัวเรือนในพื้นที่ชุมชนตร 120 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
1 ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ) กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 136 13,000.00 11 11,120.00
21 ก.ค. 63 เวทีปฐมนิเทศคณะทำงานโครงการการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม ณ ภูผายอดรีสอร์ท 5 2,000.00 1,000.00
20 ส.ค. 63 ค่าจัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายโครงการ 60 1,000.00 1,000.00
10 ต.ค. 63 เรียนรู้การจัดทำรายงาน ส.1 ง.1 ผ่านระบบ www.happynetwork.org (ครั้งที่ 1) 1 660.00 200.00
28 พ.ย. 63 ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ งวด 1 (เดือนสิงหาคม กันยายน ตุลาคม) 0 600.00 600.00
2 ธ.ค. 63 ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ 50 2,000.00 2,000.00
29 มี.ค. 64 ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ งวด 2 (เดือนพฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม) 0 1,000.00 1,000.00
8 เม.ย. 64 ค่าเดินทางและค่าที่พักเพื่อเข้าร่วมประชุมกับ สสส. หรือหน่วยจัดการระดับจังหวัด 0 1,940.00 1,520.00
25 เม.ย. 64 การประชุมสะท้อนผลลัพธ์กับทีมพี่เลี้ยง ภาคีเครื่อข่าย 10 1,400.00 1,400.00
1 ก.ค. 64 การประชุมออนไลน์กับทางสมัชชาสุขภาพจังหวัดตรัง 5 1,000.00 1,000.00
10 ต.ค. 64 ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ งวด 3 (เดือนเมษายน พฤษภาคม) 0 400.00 400.00
10 ต.ค. 64 การสะท้อนผลลัพธ์โครงการ 5 1,000.00 1,000.00
2 กิจกรรมที่ 2 ปฏิบัติการเรียนรู้คัดแยก การใช้ประโยชน์จากขยะ และจัดทำฐานข้อมูล กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 120 30,200.00 2 30,200.00
22 ส.ค. 63 กิจกรรมย่อย 2.1 วิทยากรให้ความรู้แก่ครัวเรือนและสถานประกอบการและร่วมสำรวจขยะเพื่อจัดทำฐานข้อมูลขยะชุมชน (ครั้งที่ 1) 60 8,600.00 8,600.00
23 ส.ค. 63 กิจกรรมย่อย 2.1 วิทยากรให้ความรู้แก่ครัวเรือนและสถานประกอบการและร่วมสำรวจขยะเพื่อจัดทำฐานข้อมูลขยะชุมชน (ครั้งที่ 2) 60 21,600.00 21,600.00
3 กิจกรรมที่ 3 กระตุ้น สร้างจิตสำนึกร่วมกันในการคัดแยกขยะ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 170 38,800.00 3 38,800.00
1 - 30 พ.ย. 63 กิจกรรมย่อย 3.3 คณะทำงาน เยาวชนอาสา ตัวแทนครัวเรือน สถานประกอบการ ออกติดตามเยี่ยม พร้อมรายงานความก้าวหน้าในการดำเนินโครงการ 10 ครั้ง 40 15,200.00 15,200.00
3 พ.ย. 63 กิจกรรมย่อย 3.1 กิจกรรมเดินรณรงค์เพื่อสร้างการรับรู้การคัดแยกขยะในชุมชนเทศบาลนครตรัง 30 10,100.00 10,100.00
18 พ.ย. 63 กิจกรรมย่อย 3.2 กิจกรรมรณรงค์การลดใช้ขยะในงานบุญประเพณี 100 13,500.00 13,500.00
4 กิจกรรมที่ 4 เสริมพลัง ลดปริมาณขยะในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 10 18,450.00 2 18,450.00
2 ธ.ค. 63 กิจกรรมย่อย 4.2 เสริมพลัง สร้างขวัญและกำลังใจให้แก่ครัวเรือนและสถานประกอบการต้นแบบ กลุ่มเยาวชนอาสา 0 17,400.00 17,400.00
21 ม.ค. 64 กิจกรรมย่อย 4.1 คณะทำงานประเมินปริมาณขยะภายในชุมชนและสถานประกอบการ คัดเลือกครัวเรือนและสถานประกอบการต้นแบบ 10 1,050.00 1,050.00
5 กิจกรรมที่ 5 สรุปผลการดำเนินงานและคืนข้อมูล กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 10 1,550.00 1 1,550.00
15 เม.ย. 64 กิจกรรมที่ 5 สรุปผลการดำเนินงานและคืนข้อมูล 10 1,550.00 1,550.00
6 กิจกรรมที่ 6 จัดทำสื่อเผยแพร่ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 4,000.00 1 4,000.00
1 พ.ค. 64 กิจกรรมที่ 6 จัดทำสื่อเผยแพร่ 0 4,000.00 4,000.00
7 กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาศักยภาพคณะทำงานการจัดการขยะชุมชนเทศบาลนครตรัง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 80 11,000.00 6 12,880.00
25 ก.ค. 63 กิจกรรมย่อย 1.1 ประชุมแต่งตั้งคณะทำงานในชุมชนเทศบาลนครตรัง 30 4,700.00 6,500.00
26 ก.ย. 63 กิจกรรมย่อย 1.2 ประชุมคณะทำงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน (ครั้งที่ 1) 10 1,260.00 1,300.00
26 พ.ย. 63 กิจกรรมย่อย 1.2 ประชุมคณะทำงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน (ครั้งที่ 2) 10 1,260.00 1,300.00
26 ม.ค. 64 กิจกรรมย่อย 1.2 ประชุมคณะทำงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน (ครั้งที่ 3) 10 1,260.00 1,260.00
26 มี.ค. 64 กิจกรรมย่อย 1.2 ประชุมคณะทำงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน (ครั้งที่ 4) 10 1,260.00 1,260.00
10 พ.ค. 64 กิจกรรมย่อย 1.2 ประชุมคณะทำงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน (ครั้งที่ 5) 10 1,260.00 1,260.00
8 บัญชีธนาคาร กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0.00 1 500.00
9 ต.ค. 64 ค่าเปิดบัญชีธนาคาร 0 0.00 500.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ต.ค. 2563 16:18 น.