directions_run

ส่งเสริมคุณภาพชีวิตและฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะในชุมชนตำบลหน้าถ้ำ

แบบติดตามประเมินปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation)

ชื่อโครงการ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตและฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะในชุมชนตำบลหน้าถ้ำ

รหัสโครงการ 64-00214-00 ระยะเวลาโครงการ 12 เมษายน 2564 - 31 มกราคม 2565

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้

1. ข้อมูลชุมชนใดบ้างที่มีและที่ใช้ข้อมูลในการดำเนินโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะกาย

1.ข้อมูลสุขภาพสุขภาพ - ความดัน - เบาหวาน - การฉีควัคซีนโควิค 19

1.โรงพยาบาลสุขภาพตำบลหน้าถ้ำ 2.องค์การบริหารส่วนตำบลหน้าถ้ำ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะจิต

1.ข้อมูลการรักษาสุภาพ 2.ข้อมูลการประเมินสุภาพจิตโดยการทำแบบสอบถาม

1.โรงพยาบาลสุภาพตำบลหน้าถ้ำ 2. แบบสอบถาม

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
3. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะสังคม

1.ข้อมูลจากการทำแบบสอบถามสมาชิกในชุมชน ทั้ง 4 หมู่บ้าน 2. ข้อมูลการมีส่วนร่วมจากผู้นำในชุมชน กลุ่มอาชีพ กลุ่มสตรี

1.ข้อมูลจากพัฒนาชุมชนตำบลหน้าถ้ำ 2.ข้อมูลจากแบบสอบถามสมาชิก

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
4. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะปัญญา

1.การทำแบบทดสอบองค์ความรู้การป้องกันโรคโควิค-19ก่อนและหลังกิจกรรม 2.การทดสอบองค์ความรู้ด้านอาชีพโดยการทำแบบทดสอบก่อนและหลังการทำกิจกรรม

1.แบบสอบถาม 2.การสอบถามในกลุ่มสมาชิก กลุ่มอาชีพ สตรี

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
5. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะปัจเจก

1.การใช้ข้อมูลแบบสอบถามแบบส่วนบุคคลในการวิเคราะห์ด้านสุภาพกายและจิต 2.การใช้ข้อมูลแบบส่วนรวมในการจัดการข้อมูลและแบ่งกลุ่มในการจัดกิจกรรม

ข้อมูลแบบสำรวจสุขภาพกาย สุภาพจิต

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
6. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะครอบครัว

1.การใช้ข้อมูลแบบสอบถามสถานะครอบครัวในมิติต่างอาทิเช่น - จำนวนสมาชิก รายได้ครัวเรือน สถานะครอบครัว

1.แบบสอบถาม 2.การพูดคุยกับสมาชิกและผู้เข้าร่วมกิจกรรม

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
7. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะชุมชน

1.การใช้ข้อมูลสมาชิกในชุมชน สมาชิกกลุ่มต่างๆในชุมชนเพื่อคัดเลือกเข้ากิจกรรม

1.ข้อมูลจาก อบต.หน้าถ้ำ 2.ข้อมูลจากแบบสอบถามและคณะทำงาน

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
99. อื่นๆ

 

 

2. การดำเนินโครงการนี้สอดคล้องกับแผนเดิมหรือมีการทบทวนแผนที่มีอยู่เดิมต่อไปนี้อย่างไร

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. แผนชุมชน

1.มีการวางกรอบการทำงานเดินไปตามแผนที่กำหนดโดยวางกรอบการทำงานปรับเปลียนตามบริบทของสถาณการณ์การแพร่ระบาดโควิค - 19ในแต่ละช่วง โดยการย่อยหรือขยายกิจกรรมออกโดยการลดจำนวนผูเข้าร่วมขยายการอบรมออกเป็นสองรอบการปรับเปลียนพื้นที่ในการจัดกิจกรรมในแต่ละครั้ง

1.แผนการทำงานและตัวชี้วัด 2.การประชุมพี่เลี้งและคณะทำงาน

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. แผนของท้องถิ่น

1.การจัดกิจกรรมสอดคล้องกับแผนพัฒนาท้องถิ่นในเรื่องการส่งเสริมอาชีพ การสร้างเศรษฐกิจฐานรากในชุมชน 2.การสร้างสุขภาวะในชุมชนให้น่าอยู่ในด้านสุภาพของคนในชุมชนและยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน 3.การรณรงณ์การป้องกันโรคระบาดโควิค-19 ในชุมชน

1.แผนพัฒนาชุมชน อบต.หน้าถ้ำ 2. ข้อมูลประชาคมจัดทำแผนพัฒนาชุมชนของหน่วยงานพัฒนาชุมชน

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
3. แผนของหน่วยงานราชการ

 

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
99. แผนอื่นๆ

1.แผนการทำงานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านชาสมุนไพรตำบลหน้าถ้ำ -แผนการพัฒนาส่งเสริมอาชีพและยกระดับคุณภาพชีวิตในชุมชนและสังคม -แผนการสร้างงานสร้างรายได้ในชุมชนยกระดับคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้ดีขึ้นแบบบูรณาการและยั่ฃยืน 2.แผนการทำงานของศูนย์ส่งเสริมอาชีพกลุ่มผู้เปราะบางตำบลหน้าถ้ำ -สร้างการมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้ด้อยโอกาสในชุมชนและสังคม

-ลดความเหลื่อมล้ำของกลุ่มเปราะบางในชุมชน

1.กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านชาสมุนไพร ตำบลหน้าถ้ำ 2.ศูนย์ส่งเสริมอาชีพกลุ่มผู้เราะบาง ตำบลหน้าถ้ำ

3. ทุนของชุมชนที่มีส่วนสำคัญต่อการดำเนินงานของโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในชุมชน

ตำบลหน้าถ้ำเป็นตำบลที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่เหมาะสมในการเพาะปลูก เพราะเป็นดินที่มีธาตุอาหารที่อุดมสมบูรณ์และเป็นชุมชนที่มีการใช้สารเคมีในการเกษตรน้อยมากเมื่อเทียบกับปริมาณการใช้ในชุมชนอื่นๆ และเป็นแหล่งผลิตผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอาทิ มังคุล ละมุด กระท้อนที่มีการผลิตแบบปลอดสารเคมี

1.ข้อมูลจากเกษตรตำบลหน้าถ้ำ 2.ผลผลิตจากเกษตรกรในชุมชน

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. วัฒนธรรม วิถีชีวิตที่มีอยู่ในชุมชน

ตำบลหน้าถ้ำเป้นชุมชนที่มีความหลากหลายทางอาชีพ และเป็นชุมชนพหุวัฒนธรรมและสมาชิกในชุมชนประกอบอาชีพทำสวนผลไม้เสียสวนใหญ่เนื่องตำบลหน้าถ้ำเป็นตำบลที่มีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรในทุกทุกด้อนที่เอื้อในการประกอบอาชีพด้านการเกษตร

1.จากเกษตรตำบลหน้าถ้ำ 2.แบบสอบถาม 3.ข้อมูลชุมชน

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
3. ภูมิปัญญาที่มีอยู่ในชุมชน

ตำบลหน้าถ้ำประชากรประกอบอาชีพที่มีความหลากหลาย จีงมีการด้านองค์ความรู้ร่วมกันในการเกิดการแลกเปลี่ยนกันในการจัดทำกิจกรรม การทำเวทีประชาคม การจัดทำแบบสอบถามข้อมูล อีกทั้งชุมชนยังมีองค์ความรู้และภูมิปัญญาที่ถ่ายทอดให้กันและกันในการจัดทำกิจกรรมเช่น ด้านการแปรรูป ด้านการผลิตพืชการเกษตร ด้านสมุนไพรชุมชน ด้านการรักษาโรคด้วยสมุนไพรชุมชน

1.ข้อมูลจากพัฒนาชุมชน 2.เกษตรกรในชุมชนตำบลหน้าถ้ำ 3.หน่วยงานเกษตรตำบลหน้าถ้ำ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
4. เศรษฐกิจของชุมชน

ชุมชนตำบลหน้าถ้ำเป็นชุมชุมชนที่มีความหลากหลายในการประกอบอาชีพ และเป็นชุมชนท่องเที่ยวที่มีแหล่งท่องเที่ยวสวยงามดั่งนั้นจึงทำให้เศรษฐกิจในชุมชนที่ดีแต่ขึ้นอยู่กับปัจจัยในการจัดการเช่น การท่องเที่ยวจำนวนนักท่องเที่ยว ผลไม้ขึ้นอยู่กับราคาผลไม้ รายของชุมชนขึ้นอยู่กับการจัดการปัจจัยในสององค์ประกอบนี้

 

4. คน กลุ่มคน เครือข่ายสำคัญที่มีส่วนร่วมในโครงการ

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. คน กลุ่มคน เครือข่ายที่เป็นภาคีหลัก (หมายถึงแกนนำที่เป็นผู้ปฏิบัติการของโครงการ)

1.สมาชิกกลุ่มอาชีพ จำนวน 10 คน 2.สมาชิกกลุ่มสตรี จำนวน 10 คน 3.สมาชิกกลุ่มเปราะบาง จำนวน 10 คน 4. สมาชิกกลุ่มแม่บ้าน/เยาวชน จำนวน 10 คน 5.เจ้าหน้าที่ ธกส.ยะลา/เจ้าหน้าที่เกษตร/เจ้าหน้าทีพัฒนาชุมชน

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. คน กลุ่มคน เครือข่ายที่เป็นภาคียุทธศาสตร์ (หมายถึงแกนนำที่เป็นผู้ผลักดัน หรือมีอิทธิพลต่อความสำเร็จของโครงการ)

1.พี่เลี้ยงโครงการในการควบคุมดูแลกิจกรรมและตรวจสอบความเรียบร้อย 2.ประธานกลุ่มนังวากรีนจัดหาสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรม 3.ประธานกลุ่มเบเกอรีศรีนังวาประสานสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรม 4.ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านชาสมุนไพรในการวางแผนงานขับเครื่อนประชาสัมพันธ์ 5.โหนด สสส.ในการกำกับดูแลกิจกรรม

 

5. งบประมาณและทรัพยากร

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
1. งบประมาณ

 

 

มีใช้สาระสำคัญที่มา
มีไม่มีใช้ไม่ใช้
2. ทรัพยากรอื่นๆ

สถานที่จัดอบรมกิจกรรม ใช้สถานที่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านชาสมุนไพรตำบลหน้าถ้ำเป็นที่จัดกิจกรรม เรียนรู้ และใช้สถานที่กลุ่มบันนังลูวาในการจัดอบรมการทำขนมให้กับกลุ่มสมาชิก

1.แผนการขับเคลื่อนการทำงานและการจัดกิจกรรม