directions_run

โครงการคนโตนดด้วนรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดขยะ ลดแหล่งนำโรค

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ โครงการคนโตนดด้วนรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดขยะ ลดแหล่งนำโรค ”

ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอัจฉรานันท์ คงเรือง

ชื่อโครงการ โครงการคนโตนดด้วนรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดขยะ ลดแหล่งนำโรค

ที่อยู่ ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-00232-001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคนโตนดด้วนรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดขยะ ลดแหล่งนำโรค จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคนโตนดด้วนรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดขยะ ลดแหล่งนำโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคนโตนดด้วนรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดขยะ ลดแหล่งนำโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-00232-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เทศบาลตำบลโตนดด้วน ตั้งอยู่เลขที่ 225 หมู่ที่ 2 ตำบลโตนดด้วน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ข้อมูลทั่วไปของพื้นที่ตำบลโตนดด้วน มีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 35.32 ตารางกิโลเมตร มีหมู่บ้านทั้งหมด 11 หมู่บ้าน มีครัวเรือนทั้งหมด 2,475 ครัวเรือน มีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ 6,175 คน ประชากรแฝง 140 คน รวม 6,315 คน มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1 ศูนย์ โรงเรียน 4 แห่ง วัด 3 แห่ง ตลาดชุมชน 3 แห่ง
สถานการณ์ปัญหาขยะของพื้นที่ตำบลโตนดด้วน เทศบาลตำบลโตนดด้วน ไม่มีรถขยะในการจัดเก็บ จากการสำรวจข้อมูลครัวเรือน ปริมาณขยะมูลฝอยประมาณ 4 - 5 ตัน/วัน ซึ่งครัวเรือนมีการจัดการขยะกันเอง เนื่องจากประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับคัดแยกขยะไม่เพียงพอ ประชาชนมีการคัดแยกในระดับครัวเรือน จำนวน 900 ครัวเรือน ยังไม่คัดแยก 1,575 ครัวเรือน ทำให้เกิดปัญหาขยะมีปริมาณมากขึ้นทุกปี และส่งผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน จากสถิติการเจ็บป่วย เมื่อปี 2564 มีไข้เลือดออก จำนวน 2 คน ป่วยเป็นโรคอุจจาระร่วง 44 คน ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล เฉลี่ย 125 บาทต่อคน และมีค่าใช้จ่ายในการควบคุมการระบาดของโรค ปีหนึ่งประมาณ 50,000 บาทต่อปี ในส่วนผลกระทบต่อสังคม ยังมีประชาชนนำขยะมาทิ้งที่ข้างทางถนนซึ่งเป็นสายหลักและสายรอง จำนวน 3 สาย ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จากปัญหาดังกล่าวส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจาก ขาดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี 1,575 ครัวเรือน ความสะดวกซื้อสะดวกใช้ ชาวบ้านยังไม่นิยมนำถุงผ้าหรือตะกร้ามาจากบ้านในการจ่ายตลาด เทศบาลตำบลโตนดด้วน ได้ให้ความสำคัญในการจัดการขยะ โดยมุ่งหวังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือปริมาณขยะลดลง โดยให้เกิดกลไกการจัดการขยะในระดับครัวเรือน/ระดับชุมชน และให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ มีกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ โดยการดำเนินงานโครงการจะทำให้เกิดประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนเป้าหมายของ Node Flagship ที่ขับเคลื่อนให้ประเด็นสุขภาวะในระดับจังหวัดตามกรอบเป้าหมายระยะยาว Phatthalung Green City ได้รับการแก้ไขอย่างมีส่วนร่วมสามารถบรรลุเป้าหมายการลดขยะในระดับภาพรวมของจังหวัดต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือน
  2. เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ
  3. เพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ
  4. เพื่อให้ปริมาณขยะลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ปฐมนิเทศผู้รับทุน
  2. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร
  3. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และป้ายชื่อโครงการ
  4. ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน
  5. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม
  6. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน
  7. คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ
  8. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  9. เข้าร่วมงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข กับหน่วยจัดการ
  10. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน
  11. เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) (ครั้งที่ 1)
  12. เข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยจัดการระดับจังหวัด (ARE ) ครั้งที่ 1
  13. ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลโตนดด้วน” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน)
  14. รณรงค์ BIG CLEANING DAY
  15. เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) (ครั้งที่ 2)
  16. เข้าร่วมเวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุน node flagship พัทลุง
  17. เข้าร่วมเวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุนจาก node flagship พัทลุง
  18. เข้าร่วมงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข ครั้งที่ 2
  19. เข้าร่วมงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข ครั้งที่ 2
  20. ค่าอินเตอร์เน็ตเพิ่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์
  21. เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปฐมนิเทศผู้รับทุน

วันที่ 9 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ได้รู้เรื่องเกี่ยวกับเอกสารการจัดการบริหารการเงินของโครงการ
  2. หลัการที่ถูกต้องในการเปืดบัญชีโครงการ
  3. การจัดทำรายงานผ่านระบบ Happy Network

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมโครงการมาร่วมประชุม ผลลัพธ์ - คณะทำงานได้เรียนรู้เกี่ยวกับระบบการเงิน - คณะทำงานสามารถคีย์ข้อมูลได้

 

4 0

2. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 11 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานได้สำรองเงินสำรองจ่ายค่าเปิดบัญชี จำนวน 500 บาท เพื่อเปิดบัญชีธนาคารรับเงินสนับสนุนโครงการย่อย จาก สสส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทางโครงการย่อยได้ทำการเปิดบัญชีธนาคารเรียบร้อยแล้ว และได้เบิกจ่ายเงินสำรองจ่ายจำนวน 500 บาทคืน

 

0 0

3. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และป้ายชื่อโครงการ

วันที่ 27 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อใช้ประกอบในการทำกิจกรรมต่างๆของโครงการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานได้มีการรณรงค์ห้ามสูบบุหรี่

 

0 0

4. ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน

วันที่ 31 พฤษภาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจร่วมกัน โครงการคนตลอดด้วนรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดขยะ ลดแหล่งนำโรค - ลงทะเบียนและคัดกรองผู้เข้าร่วมประชุมตามมาตรการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (Covid 19)
- ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายการขับเคลื่อนโครงการคนตลอดด้วนรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดขยะ ลดแหล่งนำโรค โดยนายสมคิด กิตติอุดมพร ปลัดเทศบาล พิธีเปิดโครงการโดย นายวรจิต สายแก้ว นายกเทศมนตรีตำบลโตนดด้วน - แนวทางการบริหารโครงการ การจัดเก็บข้อมูล ตัวชี้วัดผลลัพธ์ โดย นายไพฑูรย์ ทองสม นายเสณี จ่าวิสูตร นายนราพงษ์ สุกใส และนางสาวจุรีย์ หนูผุด ทีมสนับสนุนวิชาการ Node Flagship - การแบ่งหน้าที่ของคณะทำงาน จัดทำแผนปฏิบัติงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะทำงานจำนวน 30 คน มาจากเจ้าหน้าที่ อปท.และคัดเลือกแกนนำในหมู่บ้าน 11 หมู่บ้าน
  2. คณะทำงานคัดเลือกครัวเรือน ร่วมปฏิบัติการจัดการขยะนำร่องจาก 11 หมู่บ้าน
  3. คณะทำงานแบ่งบทบาทหน้าที่กัน
  4. คณะทำงานจัดทำแผนการดำเนินงาน

 

30 0

5. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม

วันที่ 24 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ศึกษาดูงานพื้นที่ที่ประสบความสำเร็จการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ ครัวเรือนมีการจัดการขยะที่ถูกต้อง

 

50 0

6. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน

วันที่ 6 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • มีการเลือกคณะกรรมการติดตามผล ตัวแทนของแต่ละหมู่บ้าน
  • กำหนดแผนการลงพื้นที่ให้ความรู้ในการคัดแยกขยะในหมู้บ้านทุกหมู่บ้าน โรงเรียน 4 แห่ง ศพด. และเทศบาล
  • กำหนดหลักเกณฑ์การตรวจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานมีข้อตกลงร่วมกันในการลงพื้นที่ติดตามผล

 

30 0

7. คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ

วันที่ 1 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เก็บรวบรวมข้อมูลขยะก่อนและหลัง การดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รู้ว่าปริมาณขยะแต่ละประเภทเพิ่ม เท่าเดิม หรือลดลง

 

30 0

8. ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

วันที่ 4 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สอนเด็กให้มีการเรียนรู้การคัดแยกขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการคัดแยกขยะได้อย่างถูกวิธี

 

400 0

9. เข้าร่วมงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข กับหน่วยจัดการ

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ขับเคลื่อนแผนชุมชนเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นแบบบูรณาการ ตลอดจนจัดให้มีกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมในการหาฉันทามติออกแบบผังพัฒนาพัทลุงมหานครแห่งความสุข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดนิทัศการนำเสนอการขับเคลื่อนประเด็นต่างๆ การออกร้านแสดงสินค้าและผลงานของชุมชน

 

5 0

10. การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน

วันที่ 6 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานโครงการฯครั้งที่ 2 วันที่ 13 กันยายน 2565 , ครั้งที่ 3 วันที่ 22 พฤศจิกายน 2565 , ครั้งที่ 4 วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 และครั้งที่ 5 วันที่ 29 มีนาคม 2566 ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลโตนดด้วน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

........

 

0 0

11. เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) (ครั้งที่ 1)

วันที่ 12 ตุลาคม 2565 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วางแผนการจัดเก็บข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เกิดการเรียนรู้และการปฏิบัติการ สามารถจัดการขยะถูกต้องถูกวิธี
  • เกิดกติกาเฝ้าระวัง, ติดตาม
  • ปริมาณขยะในครัวเรือนลดลง 50%
  • มีการใช้ประโยชน์จากขยะ

 

30 0

12. เข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยจัดการระดับจังหวัด (ARE ) ครั้งที่ 1

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมเวทีเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุนจาก Node flagship

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการได้มาร่วมแลกเปลี่ยนผลลัพธ์การดำเนินงานที่เกิดขึ้นร่วมกัน

 

2 0

13. ค่าอินเตอร์เน็ตเพิ่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์

วันที่ 1 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ใช้เพื่อการติดต่ิดต่อสื่่อสารคณะทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประสารงานคณะทำงานได้ทันท่วงที

 

0 0

14. ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลโตนดด้วน” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน)

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • รา่ยงานค่าใช้จ่ายของการดำเนินโครงฯ
  • ทบทวนกติกาชุมชนตำบลโตนด้วน
  • ติดตามประเมิน/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีกติกาด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชน
  • มีการติดตามการคัดแยกในระดับครัวเรือน ในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  • มีต้นแบบการจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 11 แห่ง

 

30 0

15. รณรงค์ BIG CLEANING DAY

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการรณรงค์ทำความสะอาด 2 ข้างทางถนนสายหลักในหมู่บ้านจำนวน 3 สาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ถนนสายหลักทั้ง 3 สายปลอดขยะ

 

150 0

16. เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) (ครั้งที่ 2)

วันที่ 19 มิถุนายน 2566 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

สร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เกิดคณะทำงาน "โรงเรียนขยะ" -เกิดการเรียนรู้และลงมือปฏิบัติ -เกิดกติการเฝ้าระวังติดตาม -ปริมาณขยะลดลง

 

30 0

17. เข้าร่วมเวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุนจาก node flagship พัทลุง

วันที่ 12 กรกฎาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามประเมินผลการดำเนินงานอย่างมีส่วนร่วม และเป็นการติดตามประเมินผลเพื่อการสร้างการเรียนรู้และพัฒนา ไว้เป็นระยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แลกเปลี่ยนผลลัพธ์การดำเนินงานที่เกิดขึ้นร่วมกัน

 

2 0

18. เข้าร่วมงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข ครั้งที่ 2

วันที่ 15 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นำเสนอการดำเนินงานของภาคีต่างๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้ข้อเสนอแนะสู่การเป็นพัทลุงมหานครแห่งความสุข 8 ประเด็น
  • นำเสนอผลการร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้ข้อเสนอแนะสู่การเป็นพัทลุงมหานครแห่งความสุข 8 ประเด็น
  • ผู้แทนภาคีเครือข่ายแสดงเจตจำนงในการขับเคลื่อนพัทลุงมหานครแห่งความสุข

 

2 0

19. เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน

วันที่ 31 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

สร้างกระบวนการคืนข้อมูลการสร้างความร่วมมือการจัดการขยะตำบลโตนดด้วน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีการใช้ประโยชน์จากขยะ
  • สร้างความร่วมมือการจัดการขยะตำบลโตนดด้วน

 

120 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือน
ตัวชี้วัด : 1.มีคณะทำงานที่มาจากหลายภาคส่วน 2.มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ 3.มีแผนการดำเนินงาน 4.มีการประชุมทุก 2 เดือน 5.คณะทำงานมีความรู้ในการจัดการขยะที่ถูกต้อง
30.00

 

2 เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนจัดการยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 80 % 2.ในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็กจัดการขยะที่ถูกต้อง ทุกแห่ง
400.00

 

3 เพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : 1.มีกติกาในด้านสิ่งแวดล้อมที่บรรจุไว้ใน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลโตนดด้วน” 2.มีการติดตามการคัดแยกขยะในระดับครัวเรือน ในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตลาดชุมชน 2 เดือน 3.มีต้นแบบการจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 11 แห่ง 4.ถนนปลอดขยะ 3 สาย
400.00

 

4 เพื่อให้ปริมาณขยะลดลง
ตัวชี้วัด : 1.ปริมาณขยะในพื้นที่ตำบลโตนดด้วนลดลงร้อยละ 50 2.มีการใช้ประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 40
400.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือน (2) เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ (3) เพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ (4) เพื่อให้ปริมาณขยะลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปฐมนิเทศผู้รับทุน (2) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร (3) ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และป้ายชื่อโครงการ (4) ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน (5) พัฒนาศักยภาพคณะทำงานจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม (6) การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน (7) คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ (8) ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (9) เข้าร่วมงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข กับหน่วยจัดการ (10) การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน (11) เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) (ครั้งที่ 1) (12) เข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยจัดการระดับจังหวัด (ARE ) ครั้งที่ 1 (13) ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลโตนดด้วน” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน) (14) รณรงค์ BIG CLEANING DAY (15) เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) (ครั้งที่ 2) (16) เข้าร่วมเวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุน node flagship พัทลุง (17) เข้าร่วมเวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุนจาก node flagship พัทลุง (18) เข้าร่วมงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข ครั้งที่ 2 (19) เข้าร่วมงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข ครั้งที่ 2 (20) ค่าอินเตอร์เน็ตเพิ่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ (21) เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคนโตนดด้วนรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดขยะ ลดแหล่งนำโรค จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-00232-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอัจฉรานันท์ คงเรือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด