directions_run

โครงการการฟื้นคืนชีวิตชาวสวนยางด้วยวิถีป่าร่วมยางยั่งยืน บ้านควนอินนอโม

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ชื่อกิจกรรมที่ 1 อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 27 พ.ค. 2565 27 พ.ค. 2565

 

  1. ประสานคณะทำงาน ทำความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ
  2. จัดหาคณะทำงานในตำแหน่งต่างๆ

 

1 นายณัฐพงศ์ คงสง พี่เลี้ยงของโครงการ ได้เข้ามาทำความเข้าใจของโครงการกับคณะกรรมการแปลงใหญ่ยางพาราสหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านควนอินนอโม จำกัด 2 ได้จัดเลือกคณะทำงาน ของโครงการ ดังต่อไปนี้ - นายก่อเกียรติ บุญพน ตำแหน่ง ผู้ประสานงานโครงการ - นายบุญโชค เอียดเฉลิม ตำแหน่ง ผู้ประสานงานพื้นที่ - นางวิมล บัวมา ตำแหน่ง ผู้บันทึกข้อมูล - นายดลเล๊าะ ทักษิณาวาณิชย์ ตำแหน่ง ฝ่ายการเงิน - นางมาลี นันทสิน ตำแหน่ง ฝ่ายบัญชี

 

กิจกรรม ที่เข้าร่วมกับหน่วย สสส. 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

ชื่อกิจกรรมที่ 2 เรียนรู้สร้างความเข้าใจ 10 มิ.ย. 2565 10 มิ.ย. 2565

 

  1. นำสื่อ วิดีดีทัศน์ มาแสดงให้กับสมาชิกเพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจ
  2. แนวคิดในการจัดทำโครงการ
  3. จัดหาสมาชิกเข้าร่วมโครงการ

 

  • สมาชิกมีความรู้ ความเข้าใจ แนวทางของโครงการมากยิ่งขึ้น
  • สมาชิกได้นำเสนอให้มีการไปศึกษาดูงาน เพื่อเป็นแนวทางในการทำโครงการ จึงได้กำหนดวันที่ไปศึกษาดูงาน เป็นวันพฤหัสบดี ที่ 13 มิถุนายน 2565 ณ ศูนย์เรียนรู้พันธุกรรมพืช ต.ลำสินธุ์ อ.ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง

 

ชื่อกิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงาน 23 มิ.ย. 2565 23 มิ.ย. 2565

 

  1. ศึกษาดูงานเพื่อหาแนวทางในการจัดทำป่าร่วมยาง
  2. หาแนวคิดเพื่อมาปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับตัวเอง

 

  • สมาชิกมีแนวคิด และมีความรู้ เพื่อนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับพื้นที่ของตัวเอง
  • กำหนดวันที่จะสรุปผลจาการไปศึกษาดูงาน เป็นวันพฤหัสบดีที่ 29 มิถุนายน 2565

 

ชื่อกิจกรรมที่ 4 สรุปผลจากการศึกษาดูงานและวิธีการดำเนินการ 29 มิ.ย. 2565 29 มิ.ย. 2565

 

  1. แลกเปลี่ยนข้อมูลที่ได้จากการ ศึกษาดูงาน
  2. วางแผนการปลูก

 

1 สมาชิกนำเสนอความรู้ แนวทางที่ได้จากการศึกษาดูงาน 2 นำแนวคิดที่ได้จาการศึกษาดูงานมาหาแนวทาง เพื่อปรับใช้ใช้ให้เหมาะสมกับพื้นที่ของสมาชิกแต่ละคน

 

ชื่อกิจกรรมที่ 1 อบรมคณะทำงาน 2 ส.ค. 2565

 

 

 

 

 

ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร 30 ก.ย. 2565 30 ก.ย. 2565

 

ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

 

ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

 

ชื่อกิจกรรมที่ 5 วางแผนการจัดการแปลง 10 ต.ค. 2565 10 ต.ค. 2565

 

ประชุมร่วมกัน เพื่อวางแผนการปลูกพืชร่วมสวนยาง ว่าแต่ละคนมีพื้นที่เท่าไหร่ และพื้นที่มีลักษณะเป็นอย่างไร

 

ข้อมูลที่ได้จากการวางแผนจัดการแปลง เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ แต่ละคน มีพื้นที่แตกต่างกัน บางคนพื้นราบและบางคนลาดเอียง

 

ชื่อกิจกรรมที่ 14 ARE พื้นที่ 2 ครั้ง 12 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

ชื่อกิจกรรมที่ 6 ส่งเสริมการจัดทำโรงเรือนเพาะชำพันธุ์พืช 22 ต.ค. 2565 22 ต.ค. 2565

 

จัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการทำโรงเพาะชำ

 

โรงเรือนเพาะชำพันธ์พืช

 

ชื่อกิจกรรมที่ 10 การปฏิบัติการปลูก 2 ม.ค. 2566 2 ม.ค. 2566

 

ลงมือปลูก

 

สมาชิกปฏิบัตการปลูก

 

ชื่อกิจกรรมที่ 7 เรียนรู้การขยายพันธ์พืช 15 ม.ค. 2566 15 ม.ค. 2566

 

อบรมการเพาะชำพันธุ์พืช

 

สมาชิกนำพืชที่เพาะชำไปใช้ปลูกเพิ่มในสวน จากพืชที่ปลูกอยู่เดิม

 

ชื่อกิจกรรมที่ 11 ติดตามแปลงป้าหมาย 2 ครั้ง 3 ก.พ. 2566 1 พ.ค. 2566

 

ลงสำรวจ ติดตาม แปลงเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ

 

สำรวจข้อมูลการปลูกพืชของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 2 ครั้ง ครั้งแรก ลงสำรวจวันที่ 3 ก.พ. 2566 -เกษตกรได้ดำเนินการปลูกเรียบร้อย -มีการวางแผนการปลูกเป็นสัดส่วน -มีเกษตกรเข้าร่วม จำนวน 30 คน - มีพื้นที่ 60 ไร่ ครั้งที่สอง ลงสำรวจวันที่ 1 พ.ค. 2566 - พืชที่ลงปลูกไปในรอบแรกความเสียจากอุทกภัย แต่เกษตกรได้ดำเนินการปลูกใหม่เรียบร้อย -เกษตกรบางรายสามารถนำพืชมาสร้างรายได้ให้เกิดขึ้นได้แล้ว ติดตามการปลูกพืช ของสมาชิก

 

ชื่อกิจกรรมที่ 12 เวทีเรียนรู้ผลการปฏิบัติงาน 2 ครั้ง 6 ก.พ. 2566 5 พ.ค. 2566

 

แลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน

 

เวทีเรียนรู้ผลการปฏิบัติงาน 2 ครั้ง 1. วันที่ 6 ก.พ. 2566 - คณะกรรมการได้นำข้อมูลที่ลงสำรวจมาแจ้งให้กับเกษตกรที่เข้าร่วมโครงการทราบ - แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเกษตกร 2. วันที่ 5 พ.ค. 2566   - คณะกรรมการได้นำข้อมูลที่ลงสำรวจมาแจ้งให้กับเกษตกรที่เข้าร่วมโครงการทราบ - แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเกษตกร - นำปัญหาที่เกิดมา วิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน

 

ชื่อกิจกรรมที่ 8 เรียนรู้การทำปุ๋ยหมักแทนการใช้สารเคมี 17 มิ.ย. 2566 17 มิ.ย. 2566

 

จัดอบรมการทำปุ๋ยหมักแทนการใช้สารเคมี จัดทำปุ๋ยหมัก เพื่อให้เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการนำไปใช้

 

เกษตรกรได้ปุ๋ยหมัก คน 3 กระสอบ

 

ชื่อกิจกรรมที่ 9 เรียนรู้การทำน้ำหมักแทนการใช้สารเคมี 20 มิ.ย. 2566 20 มิ.ย. 2566

 

จัดทำน้ำหมักเพื่อไล่แมลงแทนการใช้สารเคมี

 

สมาชิกได้รับน้ำหมักไปใช้แทนการใช้สารเคมี

 

ชื่อกิจกรรมที่ 13 สร้างพื้นที่แบ่งปันผลผลิตทางการเกษตร 25 มิ.ย. 2566 25 มิ.ย. 2566

 

1.ร่วมกันหาแนวทาง การวางแผนการตลาด 2. รวมกลุ่ม จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ผลผลิตที่เกิดขึ้น 3. กำหนดแผนการตลาด

 

วางแผนแนวทางการจำหน่ายผลผลิต
มี 2 แนวทาง คือ พ่อค้าคนกลางกับรวบรวมเพื่อจำหน่ายผลผลิต

 

ชื่อกิจกรรมที่ 15 สรุปผลการดำเนินโครงการ 25 ก.ค. 2566 25 ก.ค. 2566

 

จัดเวทีสรุปผลการดำเนินการ

 

สรุปผลการดำเนินโครงการ 1 จำนวนสมาชิก 30 คน 2. จำนวนพื้นที่ 60กว่าไร่ 3. เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายพืช

 

ค่าบริการอินเตอร์เน็ต 21 ก.ย. 2566

 

 

 

 

 

ปฐมนิเทศโครงการ 9 พ.ค. 2565 9 พ.ค. 2565

 

  • เข้าร่วมประชุม กับหน่วยงาน สสส.
  • ปฐมนิเทศ แนวทางการดำเนินโครงการ

 

  • อบรมเกี่ยวกับเอกสารที่ใช้ประกอบการรายงานผลโครงการ
  • แนวทางการดำเนินงาน
  • ทำบันทึกข้อตกลง

 

จัดทำป้ายโครงการ 25 พ.ค. 2565 25 พ.ค. 2565

 

จัดทำป้ายรณรงค์เขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

 

จัดทำป้ายรณรงค์เขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ขนาด 1.2*2.4 เมตร

 

อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 8 มิ.ย. 2565 8 มิ.ย. 2565

 

1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน  ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ  เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ

 

  1. กรรมการได้กำหนดแนวทางการดำเนินงาน
  2. นัดวันจัดอบรมสมาชิก เป็นวันพฤหัสบดี ที่ 16 มิถุนายน 2565 3. กำหนดวันศึกษาดูงาน เป็นวันพฤหัสบดี ที่ 23 มิถุนายน 2565 ผู้เข้าร่วมประชุม - 13 คน

 

อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 15 ก.ค. 2565 15 ก.ค. 2565

 

1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน  ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ  เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ

 

1 นายก่อเกียรติ บุญพน ได้นำเสนอความก้าวหน้าของโครงการ และขอฟังความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมประชุม เกี่ยวกับการดำเนินโครงการ 2. ได้วางแผนการดำเนินการขั้นต่อไป

 

อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 9 ส.ค. 2565 9 ส.ค. 2565

 

1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ

 

1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน 2. ติดตามการดำเนินงาน วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ
3. วางแผนการดำเนินการของเดือนถัดไป

 

อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 5 1 ก.ย. 2565 1 ก.ย. 2565

 

1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน  ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ  เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ

 

  1. คณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
  2. ติดตามการดำเนินงาน  ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
  3. วางแผนการดำเนินการ เดือนถัดไป

 

งานสมัชชา พัทลุง มหานครแห่งความสุข 12 ก.ย. 2565 12 ก.ย. 2565

 

กำหนดกา จัดงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข ภายใต้โครงการการขับเคลื่อนแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นแบบบูรราการ วันจันทร์ที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๑๕๖๕ ณ หอประชุมจังหวัดพัทลุง อำเภอเมืองลุง จะงหวัดพัทลุง ๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน/รับเอกสาร ๐๙.๐๐ - ๐๙.๑๕ น. การแสดงเปิดงานด้วยชุดการแสดงมโนราห์ จากนักเรียนโรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย พัทลุง ๐๙.๑๕ - ๐๙.๓๐ น. กล่าวต้อนรับผู้ร่วมงาน                      โดยนายวิสุทธิ์ ธรรมเพชร นายกองค์กรบริการส่วนจังหวัดพัทลุง ๐๙๓๐ - ๑๐.๐๐ น. รับชมวีดีทัศน์ความเป็นมาของสภาขับเคลื่อนพัทลุงมหานครแห่งความสุข และนำเสนอผลการดำเนินงานชองประเด็นการขับเคลื่อนพัทลุงใหานาครแห่งความสุข ๘ ประเด็น ดังนี้                    ประเด็นที่ ๑ ออกแบบระบบการศึกษาเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของผู้เรียนเพื่อสร้างพลเมืองผู้ตื่นรู้                    ประเด็นที่ ๒ สร้างเศรษฐกิจเกื้อกูล                    ประเด็นที่ ๓ ออกแบบระบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างระบบนิเวศที่ยั่งยื่น                    ประเด็นที่ ๔ จังหวัดอาหารปลอดภัยและรักษาพันธุ์พืช/สร้างจุดเด่นด้านสมุนไพรและการดูแลสุขภาพชุมชน                    ประเด็นที่ ๕ การสร้างความมั่นคงของชุมชน ( สวัสิการชุมชนและที่อยู่อาศัย )                     ประเด็นที่ ๖ ประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญา ประเพณีวัฒนธรรม                    ประเด็นที่ ๗ ออกแบบพื้นที่พิเศษของจังหวัดพัทลุง                    ประเด็นที่ ๘ สร้างการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน ๑๐.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. ผู้เข้าร่วมงานร่วมแลกเปลี่ยนความรู้ ให้ขอเสนอแนะต่อผู้แทนประเด็นทั้ง ๘ ประเด็น ณ ลานเวทีการเรียนรู้พัทลุงมหานครแห่งความสุข ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวันร่วมกันในบรรยากาศ คนเมืองลุงหิ้วชั้นมาชันชี ๑๓.๐๐ - ๑๓.๑๕ น. ตะลุง talk show ว่าด้วยโหม๋เรามาร่วมสร้างเมืองลุงแห่งความสุข ๑๓.๑๕ - ๑๔.๐๐ น. เวที่กลางถกแถลงเพื่อหาฉันทามติข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะ โดยกระบวนการมีสวนร่วมในการขับเคลื่อนพัทลุงมหานครแห่งความสุข ๑๔.๐๐ - ๑๕.๐๐ น. ผู้แทนภาคีเครือข่ายร่วมแสดงเจตจำนงในการสนับสนุนการขับเคลื่อนพัทลุงมหานครแห่งความสุข                          - ภาครัฐ โดย ผู็ว่าราชการจังหวัดพัทลุง                          - ภาควิชาการ โดย อธิการบดีมหาวิทยาลัยทักษิณ และรองอิการบดีสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน                          - ภาคท้องถิ่น โดย นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง                          - เครือข่ายสมัชชาสุขภาพ โดย เลขาธฺการ๕ณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ                          - เครือข่ายองค์กรชุมชน โดย ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ภาคใต้                          - ภาคเอกชน โดย ประธานหอการค้าจังหวัดพัทลุง                          - เครือข่ายภาคธุรกิจ โดย ประธานเครือข่ายผู้ประกอบการท่องเที่ยวจังหวัดพัทลุง ๑๕.๐๐ - ๑๕.๐๐ น. พิธีประกาศปฏิญญาความร่วมือเพื่อร่วมมือเพื่อสร้างพัทลุงมหานครแห่งความสุข

หมายเหตุ ๑ ขอความร่วมมือ ผู็เข้าร่วมงานนำปิ่นโตมาร่วมงานด้วย ตาม CONCEPT คนเมืองลุงหิ้วชั้นมาชันชี            ๒ กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม            ๓ พักรัประธานอาการว่างและเครื่องดื่ม                  - ช่วงเช้า เวลา ๑๐.๐๐ - ๑๐.๑๕ น.                  - ช่วงบ่าย เวลา ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔๕ น.

 

ผลผลิต มีกรรมการร่วมกิจกรรมจำนวน5คน ผลลัพธ์ ได้เรียนรู้การทำงานขับเคลื่อนพัทลุงภายใต้แผนงานการทำงานตามประเด็น8ประเด็น

 

อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 6 5 ต.ค. 2565 5 ต.ค. 2565

 

1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน  ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ  เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ

 

  1. คณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน
  2. ติดตามการดำเนินงาน  ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
  3. นัดวันจัดทำโรงเพาะชำ เป็นที่ 6 ตุลาคม 2565
  4. วางแผนการดำเนินการ เดือนถัดไป

 

ประเมินผลเผื่อการเรียนรู้และพัฒนา AREร่วมกับหน่วยจัดการโครงการ 1 10 พ.ย. 2565 10 พ.ย. 2565

 

8.30 -09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-09.30 น. กิจกรรม กลุ่มสัมพันธ์และนำเสนอวีดีทัศน์พื้นที่เด่น 09.30-12.00 น. แบ่งกลุ่ม ทบทวนผลลัพธ์รายประเด็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับภาคียุทธศาสตร์                      กลุ่มที่ 1 ประเด็นน้ำเสีย                      ภาคียุทธศาสตร์  ทสจ.พัทลุง  เทศบาลเมืองพัทลุง                      กลุ่มที่ 2 ประเด็นการจัดการขยะ                      ภาคียุทธศาสตร์  ทสจ.พัทลุง  ท้องถิ่นจังหวัด  อบจ.                      กลุ่มที่ 3 ประเด็นนาปลอดภัย                      ภาคียุทธศาสตร์  เกษตรจังหวัดพัทลุง  พัฒนาที่ดิน  ศูนย์วิจัยข้าว                      กลุ่มที่ 4 ประเด็นพืชร่วมยาง                      ภาคียุทธศาสตร์  เกษตรจังหวัดพัทลุง  กยท. พัทลุง  สปก. พัฒนาที่ดิน  เกษตรและสหกรณ์ฯ                      กลุ่มที่ 5 ประเด็นการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง                      ภาคียุทธศาสตร์  ทสจ.พัทลุง  ม.ทักษิณ  ประมงจังหวัดพัทลุง  ทช5  หน่วยเรือตรวจ  อบจ.พัทลุง 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน 13.00-14.00 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการดำเนินโครงการในประเด็น                      - การจัดทำรายงานผ่านระบบออนไลน์                      - การบริหารจัดการทีมคณะทำงาน                      - การเชื่อมโยงการทำงานกับภาค๊                      -การจัดการด้านการเงิน 14.00-14.30 น. สรุปผลการประชุม

 

-

 

อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 7 11 พ.ย. 2565 11 พ.ย. 2565

 

1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ

 

1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน 2. ติดตามการดำเนินงาน วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ
3. วางแผนการดำเนินการของเดือนถัดไป

 

อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 8 9 ธ.ค. 2565 9 ธ.ค. 2565

 

1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน  ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ  เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ

 

1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน  ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ  เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ

 

อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 9 11 ม.ค. 2566 11 ม.ค. 2566

 

1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ

 

1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน 2. ติดตามการดำเนินงาน วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ
3. วางแผนการดำเนินการของเดือนถัดไป

 

อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 10 10 ก.พ. 2566 10 ก.พ. 2566

 

1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน  ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ  เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ

 

1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน 2. ติดตามการดำเนินงาน วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ
3. วางแผนการดำเนินการของเดือนถัดไป

 

อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 11 11 มี.ค. 2566 10 มี.ค. 2566

 

1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน  ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ  เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ

 

1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน 2. ติดตามการดำเนินงาน วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ
3. วางแผนการดำเนินการของเดือนถัดไป

 

อบรมคณะทำงาน ครั้งที่ 12 28 เม.ย. 2566 28 เม.ย. 2566

 

1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2. จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมกันคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3. วางแผนการดำเนินการ

 

1.ประสานคณะทำงาน นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงาน 2. ติดตามการดำเนินงาน วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ
3. วางแผนการดำเนินการของเดือนถัดไป 4. จัดทำหนังสือขยาย เวลาโครงการ

 

ค่าบริการอินเตอร์เน็ต 30 เม.ย. 2566 30 เม.ย. 2566

 

จ่ายค่าบริการอินเตอร์เน็ต

 

-

 

ARE พื้นที่ ครั้งที่ 1 23 พ.ค. 2566 23 พ.ค. 2566

 

แลกเปลี่ยนข้อมูลการดำเนินการที่ผ่านมา

 

ปญ.สกย.บ้านควนอินนอโม จำกัด 1 จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ 30 คน 2. จำนวนพื้นที่ 60 กว่าไร่ 3. จำนวนคณะทำงาน 15 คน และอื่นๆ

 

ประเมินผลเผื่อการเรียนรู็และพัฒนา AREร่วมกับหน่วยจัดการโครงการ 30 พ.ค. 2566 30 พ.ค. 2566

 

09.00 หน่วยจัดชี้แจงวัตถุประสงการจัดกิจกรรม 09.30  กิจกรรมสร้งความสัมพันธ์ 10.00  แบ่งกลุ่มตามประเด็นนำเสนอผลการทำงานจากแต่ละพื้นที่ 11.30  สรุปผลการคุยในกลุ่มย่อย 12.00  พักเที่ยง 13.00  แบ่งกลุ่มย่อ 14.30  สรุปผลกลุ่มย่อย 15.00  สรุปผลการจัดกิจกรรม ปิดประชุม

 

ผลผลิต มีคณะทำงานโครงการจำนวน3คนเข้าร่วมกิจกรรม ผลลัพธ์  ผู้ร่วมกิจกรรมได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการดำเนินงานของแต่ละพื้นที่ร่วมกัน และได้ฝึกทักษะการพูดคุยในที่ประชุม

 

ARE พื้นที่ ครั้งที่ 2 21 มิ.ย. 2566 21 มิ.ย. 2566

 

แลกเปลี่ยนข้อมูลการดำเนินการที่ผ่านมา

 

ปญ.สกย.บ้านควนอินนอโม จำกัด 1 จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ 30 คน 2. จำนวนพื้นที่ 60 กว่าไร่ 3. จำนวนคณะทำงาน 15 คน และอื่นๆ

 

สมัชชพัทลุงมหานครแห่งความสุข หิ้วชั้นมาชันชี2 15 ส.ค. 2566 15 ส.ค. 2566

 

ตามที่ส านักสร้างสรรค์โอกาส (ส านัก 6) ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้สนับสนุนกระบวนการให้เครือข่ายภาคประชาสังคมที่ท างานเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพชุมชนในนาม หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นส าคัญทางยุทธศาสตร์ (Node flagship) จังหวัดพัทลุง เป็นผู้ด าเนินการหนุนเสริม กระบวนการสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายภาคประชาสังคมในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ซึ่งในส่วนของหน่วยจัดการระดับ flagship พัทลุงนั้นก าหนดเป้าหมายการขับเคลื่อนงานสู่ “Phatthalung Green City” ในการนี้หน่วยจัดการจังหวัดระดับ flagship พัทลุง ได้เชื่อมโยงการท างานกับภาคีทั้งในระดับพื้นที่ และระดับจังหวัด และร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง จัดงาน สมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข ครั้งที่ 2 “คนเมืองลุงหิ้วชั้นมาชันชี เพื่อก าหนดอนาคตตนเอง” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อน าเสนอการด าเนินงาน ของภาคีต่างๆ และเชื่อมโยงการด าเนินงานสู่การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม เพื่อให้จังหวัด พัฒนาเป็นมหานครแห่งความสุขของคนพัทลุง ดังนั้น เพื่อให้การด าเนินการของหน่วยจัดการที่มีจุดเน้นส าคัญทางยุทธศาสตร์ (Node flagship) จังหวัดพัทลุง เป็นไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุวัตถุประสงค์จึงขอเชิญท่านในฐานะผู้รับผิดชอบโครงการ พร้อมด้วย คณะท างานอีก 2 ท่าน เข้าร่วมเรียนรู้ในงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข ครั้งที่ 2 ในวันที่ 15 สิงหาคม 2566 เวลา 09.00 – 16.30 น. ณ หอประชุมเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต พัทลุง ทั้งนี้ขอความร่วมมือท่านน าปิ่นโตมาร่วมงานด้วนท่านละ 1 ปิ่นโต โดยทางผู้จัดงานรับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายปิ่นโตละ 100 บาท ส าหรับค่าเดินทางเข้าร่วมงานสามารถเบิกจากได้จากงบประมาณโครงการ

 

-