directions_run

โครงการฟื้นเลให้สมบูรณ์ด้วยเขตอนุรักษ์ พื้นที่อ่าวแหลมดิน หมู่ที่ 6 ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ โครงการฟื้นเลให้สมบูรณ์ด้วยเขตอนุรักษ์ พื้นที่อ่าวแหลมดิน หมู่ที่ 6 ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ”

บ้านแหลมดิน ม.6 ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายดิเรก หัสนันท์

ชื่อโครงการ โครงการฟื้นเลให้สมบูรณ์ด้วยเขตอนุรักษ์ พื้นที่อ่าวแหลมดิน หมู่ที่ 6 ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

ที่อยู่ บ้านแหลมดิน ม.6 ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-00232-0028 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฟื้นเลให้สมบูรณ์ด้วยเขตอนุรักษ์ พื้นที่อ่าวแหลมดิน หมู่ที่ 6 ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านแหลมดิน ม.6 ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฟื้นเลให้สมบูรณ์ด้วยเขตอนุรักษ์ พื้นที่อ่าวแหลมดิน หมู่ที่ 6 ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฟื้นเลให้สมบูรณ์ด้วยเขตอนุรักษ์ พื้นที่อ่าวแหลมดิน หมู่ที่ 6 ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านแหลมดิน ม.6 ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-00232-0028 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 101,960.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ทะเลสาบสงขลาตอนกลางเป็นพื้นที่หนึ่งของทะเลสาบสงขลา อยู่ในเขตพื้นที่จังหวัดพัทลุง มีพื้นที่โดยรวม 1,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งอยู่ในเขตจังหวัดพัทลุง 4 อำเภอได้แก่ อำเภอปากพะยุน อำเภอบางแก้ว อำเภอเขาชัยสนและอำเภอเมืองพัทลุง โดยมีประชากรที่ใช้ฐานทรัพยากรในทะเลสาบสงขลาเป็นอาชีพและรายได้หลักจากการทำประมงในพื้นที่ดังกล่าวจำนวน 2,800- 3,000 ครัวเรือน มีเรือที่ใช้ในการทำประมง จำนวน 2,310 ลำ ชาวประมงจับสัตว์น้ำมีรายได้เฉลี่ยวันละ 300- 500 บาท (ฐานข้อมูลชาวประมงที่พื้นที่ทะเลสาบสงขลา, สมาคมรักษ์ทะเลไทย สิงหาคม 2562) จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นว่า จากจำนวนประชากรที่ใช้ทะเลสาบเป็นแหล่งรายได้หลักในการประกอบอาชีพ ส่งผลให้มีการใช้ทรัพยากรที่ขาดการบริหารจัดการที่เป็นระบบ มีการใช้เครื่องมือประมงที่ผิดกฎหมาย เช่นไซหนอน โพงพาง อวนล้อม การวางยาเบื่อ ตลอดถึงการใช้อวนตาถี่จับสัตว์น้ำต่ำกว่า 2.5 เซนติเมตร ฯลฯ อีกทั้งสาเหตุที่มาจากระบบนิเวศที่ทีมีความเปลี่ยนแปลง เกิดมลพิษน้ำเสีย ระบบนเวศน์ชายฝั่งเปลี่ยนสภาพ นอกจากนั้นมาตรการในการบังคับใช้กฎหมายที่ขาดความเข้มข้นไม่จริงจังรวมถึงการบูรณาการจากภาคีความร่วมมือจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้องไม่เป็นระบบขาดความต่อเนื่องในเชิงยุทธศาตร์ของหน่วยงานที่รับผิดชอบและระดับนโยบายของจังหวัด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่มีความสำคัญที่ทำให้ทรัพยากรสัตว์น้ำในทะเลสาบสงขลาลดจำนวนลงอย่างเห็นได้ชัด อย่างไรก็ตามในช่วงปี 2558 – 2564 ได้มีการรวมตัวของชุมชนประมงได้ร่วมคิดหารูปแบบสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเกี่ยวข้องในการฟื้นความอุดมสมบูรณ์ของทะเลสาบในพื้นที่เขตอำเภอปากพะยูน เช่น ชุมชนบ้านช่องฟืน ชุมชนบ้านบางขวน ชุมชนบ้านแหลมไก่ผู้ ฯลฯ ในอำเภอบางแก้วในรูปแบบการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของชุมชนที่ร่วมออกแบบกิจกรรมที่สอดคล้องกับพื้นที่ ทั้งการทำเขตอนุรักษ์ การสร้างบ้านปลา การร่วมกำหนดระเบียบกติกาข้อตกลง การมีอาสาสมัครในการออกตรวจตราดูแลเขต การจัดทำข้อมูลองค์ความรู้ตลอดถึงการรวมกลุ่มจัดการผลผลิตสัตว์น้ำแปรรูปพัฒนาผลิตภัณฑ์สร้างสร้างรายได้กับสมาชิกในชุมชน ภายใต้มาตรฐานอาหารทะเลปลอดภัย ‘บลูแบลนด์” ซึ่งเป็นชุมนประมงต้นแบบที่มีการขับเคลื่อนกิจกรรมในการฟื้นฟูทะเลให้มีความอุดมสมบูรณ์สัตว์น้ำเพิ่มขึ้นทั้งชนิดและปริมาณ รวมถึงรายได้จากการทำประมง เฉลี่ยวันละ 800 -1,500 บาท จนเป็นพื้นที่รูปธรรมและเป็นต้นแบบที่ชุมชนประมงในพื้นที่เครือข่ายยอมรับและมีความต้องการนำมาปรับใช้ในการขับเคลื่อนของชุมชนตัวเองเพื่อฟื้นความอุดมสมบูรณ์ของสัตว์น้ำตลอดถึงการเกิดหลักประกันความมั่นคงทางด้านอาหารทะเลที่ปลอดภัย อาชีพประมงที่ยั่งยืนและชุมชนเข้มแข็ง
ชุมชนบ้านแหลมดิน หมู่ที่ 6 ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง เป็นชุมชนที่อู่ติดชายฝั่งในพื้นที่ทะเลสาบตอนกลาง มีพื้นที่ 3,929 ไร่ มีพื้นที่แนวชายฝั่ง ระยะทาง 1.8 กิโลเมตร และมีอาณาเขตติดต่อของหมูบ้านดังนี้     - ทิศเหนือติดต่อกับบ้านคลองขุด หมู่ที่ 8 ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง     - ทิศใต้ติดต่อกับบ้านสะทัง หมู่ที่ 7 ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง     - ทิศตะวันตกติดต่อกับบ้านใหญ่ หมู่ที่ 5 ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง     - ทิศตะวันออกติดต่อกับทะเลสาบสงขลา
    ชุมชนบ้านแหลมดิน มีครัวเรือน 274 ครัวเรือน มีประชากรทั้งหมด 718 คน อาชีพหลักคือ การทำประมงควบคู่กับการทำสวน 65 ครัวเรือน มีเรือที่ใช้ทำการประมง 68 ลำ รายได้เฉลี่ยจากการทำประมงวันละ 300 – 500 บาท สัตว์น้ำที่จับได้โดยส่วนใหญ่ ปลาชะโด ปลาหัวโหม้ง ปลาตะเพียน ปลานิล กุ้งก้ามกราม ปลาบุตรี กุ้งนาฯลฯ ซึ่งเป็นการทำประมงตามฤดูลกาลเท่านั้น และในบางช่วงที่จับสัตว์น้ำได้มากขายได้ราคาถูก สาชิกในชุมชนได้มีการแปรรูปทำปลาเค็มแดดเดียว ขายในราคา กิโละ 100 บาทเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มสัตว์น้ำเสริมรายได้ให้กับสมาชิกในชุมชนอีกทางหนึ่งด้วยแต่ยังเป็นลักษณะต่างคนต่างทำ ในขณะเดียวกันชุมชนยังมีปัญหาการทำประมงที่ใช้เครี่องมือผิดกฎหมายในการจับสัตว์น้ำ เช่น อวนตาถี่ต่ำกว่า 2.5 เซนติเมตร การใช้ใซหนอน การวางยาเบื่อ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้ชนิดสัตว์น้ำลดลง
เนื่องจากปัจจุบันชาวประมงได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โรคโควิด 2019 ทำให้ชาวบ้านไม่มีงานทำ จึงหันมาทำประมงเพิ่มขึ้น มีเรือและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น แต่ในขณะเดียวกันสัตว์น้ำมีปริมาณลดลง สังเกตุได้จากปริมาณสัตว์น้ำที่จับได้ในปัจจุบัน มีขนาดเล็กลง และขายได้ราคาต่ำ
จากปัญหาดังกล่าว ทางชุมชนได้ร่วมคิดหาทางออกแก้ปัญหาโดยใช้เวทีประชุมประจำเดือนของหมู่บ้านเพื่อหารือในการฟื้นฟูชายฝั่งเลหน้าบ้านโดยร่วมกันกำหนดเขตอนุรักษ์ขึ้นในอ่าวแหลมดิน เนื้อที่ 5 ไร่ เนื่องจากมีระบบนิเวศอุดมสมบูรณ์ มีพืชพรรณต่างๆ เช่นต้นลำพู ต้นราโพ สายบัว สาหร่ายหางกระรอก ซึ่งเป็นพืชที่ช่วยกำบังลม เหมาะแก่เพาะฟักเจริญเติบโตของสัตว์น้ำวัยอ่อน จากการประชุมดังกล่าวจึงมีการจัดตั้คณะทำงานและมีทีมรับผิดชอบที่ชัดเจนเพื่อร่วมกันขับเคลื่อนหาทางออกในการฟื้นฟูทะเลสาบให้สมบูรณ์และยั่งยืนตลอดไป โดยการจัดทำกิจกรรมการฟื้นเลให้สมบูรณ์ด้วยเขตอนุรักษ์ ซึ่งใช้กระบวนการต่าง (รายละเอียดในแผนกิจกรรม) แต่ละกิจกรรมต้องร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ท้องถิ่น ท้องที่ตลอดถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันฟื้นฟูทะเลสาบให้เกิดความอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งอาชีพ แหล่งรายได้ และแหล่งอาหารทะเลที่มีคุณภาพและปลอดภัยภายใต้ความร่วมมือก่อให้เกิดพลังเครือข่ายที่เข้มแข็ง คาดว่าผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการจะทำให้ทะเลหน้าบ้านเกิดความอุดมสมบูรณ์มีพันธุ์สัตว์น้ำเพิ่มขึ้นใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้องกับ เป้าหมาย ทิศทาง ยุทศาตร์การดำเนินงาน 10 ปีของ สสส. ที่ให้เกิดการกระจายโอกาสการทำงานร่วมของชุมชนและภาคีต่างๆ อันจะนำไปสู่ความเข้มแข็งและดกิดการเปลี่ยนแปลงของสังคม สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะและป็นประเด็นคานงัดนำไปสู่การขับเคลื่อนยุทธศาตร์ของจังหวัดพัทลุง ว่าด้วย “พัทลุงสีเขียว คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี” (Phatthalung Green City) ซึ่งเป็นเป้าหมายภาพรวมของจังหวัดต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกิดกลไกการที่เข้มแข็งทำงานร่วมกันในการรักษาทะเล
  2. เพื่อให้เกิดมาตรการชุมชนในการเฝ้าระวังการดำเนินการตามกติกาชุมชนที่เข้มแข็ง
  3. เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการฟื้นฟูทะเลสาบสงขลาตอนกลาง
  4. เพื่อให้นิเวศทะเลสาบสงขลาตอนกลางได้รับการฟื้นฟูและมีสัตว์น้ำอุดมสมบูรณ์ขึ้น
  5. 5. เพื่อให้บริหารจัดการโครงการเต็มไปด้วยความเรียบร้อย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร
  2. เดินทางและค่าที่พักเพื่อเข้าร่วมประชุมกับ สสส. หรือ หน่วยจัดการระดับจังหวัด
  3. กิจกรรมที่ 4 เวทีประชุมคณะทำงานโครงการ (ครั้งที่1)
  4. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม
  5. กิจกรรมที่ 1 เวทีพูดคุยทำความเข้าใจ สถาณการณ์ปัญหาของชายฝั่งบ้านแหลมดิน(เวทีเปิดโครงการ)
  6. กิจกรรมที่ 2 จัดทำข้อมูลชนิดพันธุ์สัตว์น้ำ เครื่องมือและรายได้จากการจับสัตว์น้ำ
  7. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  8. กิจกรรมที่ 3 เวทีคืนข้อมูลชุมชนชนิดพันธุ์สัตว์น้ำ เครืองมือและรายได้จากการจับสัตว์น้ำ
  9. กิจกรรมที่ 9 จัดตั้งกลุ่มประมงอาสา รับสมัครประมงอาสา
  10. กิจกรรมที่ 4 เวทีประชุมคณะทำงานโครงการ (ครั้งที่2)
  11. กิจกรรมที่ 10 การศึกษาดูงานนอกสถานที่
  12. กิจกรรมที่ 4 เวทีประชุมคณะทำงานโครงการ (ครั้งที่3)
  13. การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)
  14. การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)
  15. เวทีประชุมคณะทำงานโครงการ (ครั้งที่4)
  16. การปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ
  17. เวทีประชุมคณะทำงานโครงการ (ครั้งที่5)
  18. เวทีทำความเข้าใจรูปแบบวิธีการจัดการผลผลิตสัตว์น้ำชุมชนและการสร้างมูลค่าเพิ่ม
  19. การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)
  20. เวทีประชุมคณะทำงานโครงการ (ครั้งที่6)
  21. การทำบ้านปลา
  22. เวทีทำความเข้าใจ กำหนดเขตอนุรักษ์ อาณาเขต
  23. การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)
  24. เวทีจัดทำกฎกติกาข้อตกลงเขตอนุรักษ์
  25. เวทีปิดโครงการ
  26. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ สมาชิกในชุมชนพื้นที่ที่ดำเ 300
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ ชาวประมงพื้นบ้านแหลมดิน ม 100

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 6 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร

 

0 0

2. เดินทางและค่าที่พักเพื่อเข้าร่วมประชุมกับ สสส. หรือ หน่วยจัดการระดับจังหวัด

วันที่ 9 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

1.เรียนรู้ข้อมูลการรับทุน 2. เรียนรู้การใช้โปรแกรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้เรียนรู้ข้อมูลการรับทุน 2. ได้เรียนรู้การใช้โปรแกรม

 

4 0

3. กิจกรรมที่ 4 เวทีประชุมคณะทำงานโครงการ (ครั้งที่1)

วันที่ 13 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะทำงาน  2 เดือนละ 1 ครั้ง
  2. แบ่งทีมทำงานรับผิดชอบแต่ละฝ่าย
  3. กำหนดมาตรการและแผนงาน/ทบทวนสรุปและวางแผนการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ร่วมกิจกรรม 15 คน เป็นคณะทำงาน แบ่งบทบาทหน้าที่การทำงาน การประชุมครั้งที่ 1

ทราบปัญหาของทะเลสาบบ้านแหลมดิน ในสถานการณ์ปัจจุบันคือ ปัญหาสัตว์น้ำลดลง วางแผนวิธีแก้ไขปัญหา และมาตรกรในการฟื้นเลให้สมบูรณ์ด้วยเขตอนุรักษ์

 

15 0

4. กิจกรรมที่ 1 เวทีพูดคุยทำความเข้าใจ สถาณการณ์ปัญหาของชายฝั่งบ้านแหลมดิน(เวทีเปิดโครงการ)

วันที่ 15 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานโครงการ ประมงอาสา ชาวประมงในพื้นที่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1.ลงทะเบียนมีผู้เข้าร่วม 86 คน มาจาก ผู้นำท้องถิ่น อบต. ชาวบ้านในชุมชน แหลมดิน
2.ให้ความรู้ความเข้าใจสถานการณ์ทะเลสาบ การอนุรักษ์ และฟื้นฟูพื้นที่ริมเล
3.วิทยากรชื่อ นายอุสัน แหละหีม เป็นผู้มีความด้านทำเขตอนุรักษ์ คุณครูชาวฝั่ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีผู้เข้าร่วมประชุม 86 คน 2.ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องทะเลสาบ และการอนุรักษ์ฟื้นฟูชายฝั่ง 3.ผู้ร่วมประชุมมีความรู้เรื่องพันธุ์สัตว์น้ำ

 

100 0

5. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม

วันที่ 15 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ป้ายปลอดบุหรี่และแอลกกอฮอล์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายปลอดบุหรี่และแอลกกอฮอล์

 

0 0

6. กิจกรรมที่ 2 จัดทำข้อมูลชนิดพันธุ์สัตว์น้ำ เครื่องมือและรายได้จากการจับสัตว์น้ำ

วันที่ 17 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดเก็บข้อมูลชนิด/พันธุ์สัตว์น้ำและเครื่องมือที่ใช้ในการทำประมง/รายได้จากการทำประมง จำนวน 100 ชุด 2.ใช้แบบสอบถามในการจัดเก็บข้อมุล 3.แบ่งทีมทำงานในการรับผิดชอบจัดเก็บข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานด้านชนิด/พันธ์ุสัตว์น้ำและเครื่องมือในการทำประมง 2.มีข้อมูลในการดำเนินกิจกรรม/โครงการไปในทิศทางเดียวกัน ถูกต้อง ชัดเจนและแม่นยำ 3.มีการค้นพบสายพันธ์ุสัตว์น้ำ เกิดการอนุรักษ์ หวงแหนทรัพยากรในพื้นที่มากขึ้น 4เกิดการทำงานเป็นทีม

 

50 0

7. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

วันที่ 19 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อดำเนินกิจกรรมให้สำเร็จ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อดำเนินกิจกรรมให้สำเร็จ

 

0 0

8. กิจกรรมที่ 3 เวทีคืนข้อมูลชุมชนชนิดพันธุ์สัตว์น้ำ เครืองมือและรายได้จากการจับสัตว์น้ำ

วันที่ 20 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.นำเสนอร่างข้อมูลชนิดพันธ์ุสัตว์และเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำบริเวณบ้านแหลมดิน 2.จัดทำต้นฉบับข้อมูลชนิดพันธ์ุสัตว์น้ำและเครื่องมือในการจับสัตว์น้ำในพื้นที่ทะเลสาบบริเวณชายฝั่งบ้านแหลมดิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมม 25 คน ได้รู้รับข้อมูลชนิดพันธุ์สัตว์น้ำเพิ่มขึ้น ในพื้นที่บ้านแหลมดิน
ได้ทราบชนิดของเครื่องมือในการทำประมง
ได้ทราบถึงรายได้ของชาวประมงในแต่ละวัน

 

25 0

9. กิจกรรมที่ 9 จัดตั้งกลุ่มประมงอาสา รับสมัครประมงอาสา

วันที่ 9 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รับสมัครพี่น้องชาวประมง เพื่อให้มีส่วนร่วมในการฟื้นฟู ดูแลเขตพันธุ์สัตว์น้ำบ้านแหลมดิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีตัวแทนประมงอาสา จำนวน 20 คน
แบ่งบทบาทหน้าที่ ประกอบด้วย ประชาสัมพันธุ์ ประมงอาสา
เกิดกลุ่มประมงเป็นรูปธรรม จัดตั้ง ณ หมู่บ้านแหลมดิน

 

20 0

10. กิจกรรมที่ 4 เวทีประชุมคณะทำงานโครงการ (ครั้งที่2)

วันที่ 12 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะทำงาน  2 เดือนละ 1 ครั้ง
  2. แบ่งทีมทำงานรับผิดชอบแต่ละฝ่าย
  3. กำหนดมาตรการและแผนงาน/ทบทวนสรุปและวางแผนการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แบ่งหน้าที่ การทำงาน เพื่อทำความเข้าในการเริ่่มกระบวนการฟื้้นฟู และกิจกรรมต่างๆของโครงการ
เพื่อให้ชาวประมงเข้าใจกระบวนและมีส่วนร่วม ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 15 คน

 

15 0

11. กิจกรรมที่ 10 การศึกษาดูงานนอกสถานที่

วันที่ 15 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1,ศึกษาดูงานนอกสถานที่ (ชุมชนต้นแบบ เช่น การบริหารจัดการโครงการ/การดำเนินงาน)
2. เพื่อนำกิจกรรมของชุมชนอื่นมาศึกษา นำกรอบรายละเอียดของโครงการ ของชุมชนที่ประสบความสำเร็จแล้วมาเป็นแนวทางในการดำเนินการ เพื่อวางแผนต่อยอดและพัฒนา 3.ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์ชายฝั่งของตนเอง

วิทยากร คือ นายอุสัน แหละหีม ปราชญ์ และผู้มีความรู้ด้านการบริหารจัดการชายฝั่ง โดยให้ความรู้เกี่ยวการ รวมกลุ่มของชุมชน
กระบวนการแปรรูปผลผลิต และช่องทางการจำหน่าย มีการลงพื้นที่ดูงาน โดยลงเรือดูความสมบูรณ์ของทะเลสาบ ดูอาณาเขตของชุมชนบ้านช่องฟืน
ดูลักษณะการทำบ้านปลาของช่องฟืน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ศึกษาดูงาน 15 คน ณ ชุมชนบ้านช่องฟืนม.2
2.ได้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการพื้นที่เขตอนุรักษ์ของชุมชน 3.ได้รับความรู้และแนวทางการทำบ้านปลา
4.มีกฎกติกาของชุมชนแหลมดิน อาทิ ห้ามกระทุ้งน้ำในเขต 156 ไร่ ห้ามวางอวน ห้ามวิงปลาในเขตด้วยลูกศร ห้ามใช้เครื่องมือผิดกฎหมาย ห้ามใช้อวนตาถี่
5.ได้ความรู้เกี่ยวการต่อยอดผลผลิต

 

15 0

12. กิจกรรมที่ 4 เวทีประชุมคณะทำงานโครงการ (ครั้งที่3)

วันที่ 15 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะทำงาน  2 เดือนละ 1 ครั้ง
  2. แบ่งทีมทำงานรับผิดชอบแต่ละฝ่าย
  3. กำหนดมาตรการและแผนงาน/ทบทวนสรุปและวางแผนการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมประชุม 15 คน
ได้ทราบถึงความเปลี่ยนแปลงทะเลสาบตอนล่าง ทะเลสาบบ้านแหลมดิน ได้ทราบชนิดพันธุ์สัตว์น้ำ รายได้ของชุมชน ระบบนิเวศน์วิทยา หลังจากมีเขตอนุรักษ์

 

15 0

13. การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30 - 09.00 ลงทะเบียน 09.00 - 09.30 แนะนำพิธีกรและวิทยากร 10.00 - 10.30 แบ่งกลุ่มตามโครงการที่รับผิดชอบ 11.00 - 12.00 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของโครงการแต่ละพื้นที่ที่รับผิดชอบ 12.00 - 13.00 พักเที่ยง 13.00 - 14.00 วิทยากรบรรยายสรุปรายการที่ตรวจพบและขอข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อส่งให้โครงการ
14.00 - 15.00 วิทยากรอธิบายการใช้ระบบในการทำโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเครือข่ายชาวประมงตั้งแต่เกาะนางคำถึงทะเลน้อยมี 65 ชุมชน โดยพื้นที่เหล่านี้มาจากการก่อตั้งเริ่มคิดโดยใช้ชุมชนเป็นฐานในการทำงานโดยพื้นที่ชุมชนที่อยู่ติดทะเลสาบมีพื้นที่อนุรักษ์ฟื้นฟูรวมตัวกันจัดตั้งเป็นกลุ่มเพื่อทำเรื่องของเขตอนุรักษ์ให้ฟื้นฟูทะเลสาบให้มีแหล่งอาหารที่สมบูรณ์ยั่งยื่นให้ถึงลูกหลานมีอาหารทะเลกินอยู่ตลอด

 

3 0

14. เวทีประชุมคณะทำงานโครงการ (ครั้งที่4)

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00 - 09.30 น. ลงทะเบียน เริ่มประชุมชี้แจงคณะทำงานวางแผนเรื่องการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ โดยคำนึงถึงความลึกระดับน้ำของการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ หากระดับน้ำลึกเกินไปส่งผลกระทบต่อการหายใจของพันธุ์น้ำและได้ให้คณะกรรมการออกไปสำรวจระดับน้ำในเขตอนุรักษ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จะทำให้สัตว์น้ำมีเปอร์เซ็นต์รอดมากขึ้น
  • ระบบนิเวศสมบูรณ์

 

15 0

15. การปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ

วันที่ 12 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมวางแผนคณะทำงานลงไปดูระดับน้ำในการปล่อยปลาและอุณหภูมิของน้ำ
  • วางแผนแบ่งทีมในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น
  • ทำให้ระบบนิเวศสมบูรณ์

 

30 0

16. เวทีประชุมคณะทำงานโครงการ (ครั้งที่5)

วันที่ 13 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00 - 09.30 น. ลงทะเบียน เริ่มประชุมวางแผนคณะทำงานเรื่องการแปรรูปผลผลิตสัตว์น้ำ ชี้แจงรายละเอียดการแปรรูปผลผลิตสัตว์น้ำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ทำให้เกิดการเพิ่มมูลค่าของสัตว์น้ำที่แปรรูป สามารถเก็บผลผลิตได้นานกว่าสัตว์น้ำที่ไม่ได้แปรรูป
  • ทำให้ชาวบ้านมีรายได้เพิ่มขึ้น

 

15 0

17. เวทีทำความเข้าใจรูปแบบวิธีการจัดการผลผลิตสัตว์น้ำชุมชนและการสร้างมูลค่าเพิ่ม

วันที่ 16 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00 - 09.30 น. ลงทะเบียน เริ่มประชุมเชิญวิทยากรมาบรรยายการแปรรูปสัตว์น้ำ หลักการแปรรูปสัตว์น้ำเมื่อจับสัตว์ได้จากแหล่งน้ำ และได้อธิบายการถนอมอาหารโดยกรรมวิธีต่างๆซึ่งยังคงมีคุณภาพที่ผู้บริโภคต้องการทั้งนี้เนื่องจากสัตว์น้ำเน่าเสียง่ายกว่าเนื้อสัตว์ประเภทอื่นฉะนั้นควรเก็บรักษาสัตว์น้ำทันที

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ทำให้เกิดการเพิ่มมูลค่าของสัตว์น้ำที่แปรรูป สามารถเก็บผลผลิตได้นานกว่าสัตว์น้ำที่ไม่ได้แปรรูป
  • ทำให้ชาวบ้านมีรายได้เพิ่มขึ้น
  • สามารถเป็นอาชีพเสริมให้คนในหมู่บ้าน

 

20 0

18. การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เริ่มลงทะเบียนเวลา 09.00 น. มีการพูดคุยทำความเข้าใจกลไกชุมชนฟื้นฟูทะเลสาบตอนกลางที่เข้มแข็งมีคณะทำงานและมีทั้งผู้นำชุมชน ชาวประมง เข้ามาเป็นคณะทำงานผู้นำท้องถิ่นท้องที่เป็นแกนนำคณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการฟื้นฟูทะเลสาบสงขลาแบบมีส่วนร่วมมีข้อมูลเกี่ยวกับทะเลสาบสงขลาตอนกลาง และทราบถึงจำนวนเรือ เครื่องมือประมง พฤติกรรมของชาวประมง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทะเลสาบสงขลาได้รับการฟื้นฟูให้มีความอุดมสมบูรณ์
  2. จำนวนพันธุ์สัตว์น้ำที่เพิ่มขึ้น
  3. รายได้จากการทำประมงเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีพันธุ์สัตว์น้ำเพิ่มขึ้น

 

20 0

19. เวทีประชุมคณะทำงานโครงการ (ครั้งที่6)

วันที่ 13 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00 - 09.30 น. ลงทะเบียน ทบทวนกิจกรรมแต่ละอย่างที่ผ่านมาว่ามีอุปสรรคหรือต้องแก้ไขปรับปรุงตรงไหนบ้าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • กิจกรรมแต่ละอย่างดำเนินไปได้ด้วยดี
  • สามารถปรับปรุงกิจกรรมได้

 

15 0

20. การทำบ้านปลา

วันที่ 17 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00 - 9.30 น. ประชุมมอบหมายงานหน้าที่ของแต่ละคนที่จะทำบ้านปลาเพื่อไปหาวัสดุอุปกรณ์ในการทำบ้านปลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีจำนวนพันธุ์สัตว์น้ำหลายชนิดมาอาศัย ทั้งแม่พันธุ์และตัวอ่อนเพื่อเข้ามาหลบภัยจากชาวประมง

 

20 0

21. เวทีทำความเข้าใจ กำหนดเขตอนุรักษ์ อาณาเขต

วันที่ 29 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00 - 09.30 น. ลงทะเบียน ประชุมกำหนดสถานที่จำนวนพื้นที่จะทำเขตอนุรักษ์และออกแบบกำหนดเขตมีการใช้สัญลักษณ์ในการบอกแนวเขต และมีการใช้เวทีประชุมในการออกเสียงผู้ที่ได้รับผลได้ผลเสียในการกำหนดเขตอนุรักษ์มีการแบ่งทีมรับผิดชอบเพื่อสร้างความเข้าใจเรื่องเขตอนุรักษ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีกติกาเขตอนุรักษ์แบบมีส่วนร่วมจากชาวประมง คนในชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีเครือข่ายประมงอาสา โดยคนในชุมชน เกิดมาตรการชุมชนและกระบวนการเฝ้าระวังการดำการกติกาชุมชนที่เข้มแข็ง

 

40 0

22. การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)

วันที่ 30 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00 - 09.30 น. ลงทะเบียน ประชุมชี้แจงประเด็นเชิงสังคมและการมีส่วนร่วมมีคณะทำงานเกิดประมงอาสาการมีส่วนร่วมท้องถิ่นท้องที่สถาบันการศึกษาการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน
-ประเด็นทางทรัพยากร มีพันธุ์สัตว์น้ำเพิ่มขึ้น มีจำนวนเรือเพิ่มขึ้น ด้านการปรับสภาพแวดล้อมมีเขตอนุรักษ์ มีการปล่อยพันธุ์ปลา มีบ้านปลา
-ด้านสุขภาพคนกินปลาเพิ่มมากขึ้น ปัยจัยที่เกิดจากความสำเร็จชุมชนชาวประมงมีรายได้เพิ่มมากขึ้น หน่วยงานยอมรับการทำงานของชุมชน ชุมชนมีส่วนร่วมกับกฎกติกา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ทรัพยากรสัตว์น้ำในเขตอนุรักษ์ มีพันธุ์ปลาหลากหลาย ทำให้ชาวประมงมีรายได้เพิ่มขึ้นและมีความหวงแหนทรัพยากรสัตว์น้ำชายฝั่งหน้าบ้านตนเอง

 

20 0

23. เวทีจัดทำกฎกติกาข้อตกลงเขตอนุรักษ์

วันที่ 10 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00 - 9.30 น. ลงทะเบียน เริ่มประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดกฎกติกาและเขตอนุรักษ์เมื่อทุกคนทราบแนวเขตอนุรักษ์ของอ่าวสะทังแล้วคณะทำงานต้องมีกฎกติกาหรือธรรมนูญหมู่บ้านเพื่อเป็นตัวกำกับในการออกมาตรการรองรับกรณีมีผู้กระทำผิดในเขตอนุรักษ์เราจะแก้ไขโดยวิธีการใดเป็นอันดับแรก ครั้งแรกว่าคร่าวตักเตือนส่งหน่วยงานภาครัฐหากเกิดติดต่อกัน กติกาเขตห้ามวางอวนทุกชนิดในเขตอนุรักษ์ ห้ามทอดแห ห้ามดักไซในเขต ห้ามจับปลากลางคืน ห้ามยิงปลาในเขต ห้ามราวเบ็ด ห้ามล้อมกระทุ้งน้ำ ห้ามจับปลาในฤดูวางไข่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ชาวประมงเคราพกฎกติกา
  • มีสัตว์น้ำเพิ่มมากขึ้น
  • ระบบนิเวศในเขตสมบูรณ์

 

10 0

24. เวทีปิดโครงการ

วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00 - 09.30 น. ลงทะเบียน ประชุมสรุปการปิดโครงการพื้นเลด้วยเขตอนุรักษ์ทำให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในชุมชนโดยชุมชนกำหนดกิจกรรมของตนเองเพื่อให้สอดคล้องกับบริบทในพื้นที่เพื่อสร้างความมั่นคงด้านอาหาร รายได้ สุขภาพของคนในชุมชนตลอดจนทะเลสาบมีความมั่นคงทางด้านอาหารยั่งยืนตลอดไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์จากโครงการพื้นเลเขตอนุรักษ์มีคณะทำงานมีประมงอาสา มีเครือข่ายชายฝั่ง มีข้อมูลจำนวนเรือ เครื่องมือ รายได้ มีกฎกติกา มีการกำหนดเขต มีการปล่อยปลา มีบทลงโทษ มีการแปรรูปพันธุ์สัตว์น้ำเพื่อเพิ่มมูลค่า มีคนบริโภคปลาเพิ่มขึ้นในแต่ละมื้อ จึงเกิดผลให้คนมีสุขภาพดี

 

100 0

25. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงาน

วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อดำเนินกิจกรรมให้สำเร็จ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมสำเร็จไปได้ด้วยดี

 

1 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดกลไกการที่เข้มแข็งทำงานร่วมกันในการรักษาทะเล
ตัวชี้วัด : 1. มีคณะทำงานที่มีทั้งผู้นำชุมชน ชาวประมง หน่วยงานรัฐ หน่วยงานท้องถิ่นเข้ามาร่วมเป็นคณะทำงาน 2. ผู้นำท้องถิ่นที่ท้องถิ่น ชุมชนเป็นแกนนำในคณะทำงาน 3. คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการในการฟื้นฟูทะเลสาบสงขลาแบบมีส่วนร่วม 4. มีข้อมูลเกี่ยวกับทะเลสาบสงขลาตอนกลางในทุกมิติ (จำนวนเรือ ชนิดสัตว์น้ำ ปริมาณสัตว์น้ำที่จับได้ ปฏิทินสัตว์น้ำ เครื่องมือประมง พฤติกรรมการหาปลาของชาวประมง รายได้การทำอาชีพประมง)
0.00

 

2 เพื่อให้เกิดมาตรการชุมชนในการเฝ้าระวังการดำเนินการตามกติกาชุมชนที่เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 1.มีกติกาเขตอนุรักษ์แบบมีส่วนร่วมจากชาวประมง คนในชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (แนวเขต เครื่องมือการจับ ช่วงเวลาในการจับ ข้อห้าม บทลงโทษ 2.มีประมงอาสาไม่ตำกว่า 20 คน 3. มีเครือข่ายประมงอาสาที่เป็นที่ยอมรับของคนในชุมชน 4. มีกองทุนประมงอาสา 5. เกิดข้อบัญญัติระดับท้องถิ่นเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่งในพื้นที่
0.00

 

3 เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการฟื้นฟูทะเลสาบสงขลาตอนกลาง
ตัวชี้วัด : 1. มีการกำหนดเขตอนุรักษ์ไม่น้อยกว่า 2 จุด โดยแต่ละจุดมีระยะยื่นไปในทะเลไม่น้อยกว่า 500 เมตร คลอบคลุมความยาวตามชายฝั่งไม่น้อยกว่า 60% 2. มีบ้านปลาจำนวนไม่น้อยกว่า 3 หลัง 3. มีการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำไม่น้อยกว่า 1 ครั้งต่อปี ครั้งละไม่น้อยกว่า 100,000 ตัว 4. ชาวประมงปฏิบัติตามกติกาข้อตกลง 5. จำนวนเครื่องมือประมงผิดกฎหมายลดลง
0.00

 

4 เพื่อให้นิเวศทะเลสาบสงขลาตอนกลางได้รับการฟื้นฟูและมีสัตว์น้ำอุดมสมบูรณ์ขึ้น
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนสัตว์น้ำที่จับได้เพิ่มขึ้นในแต่ละฤดูกาล 2. จำนวนพันธุ์สัตว์น้ำเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 5 ชนิด 3. รายได้จากการขายปลาสดเพิ่มขึ้น 4. รายได้จากการแปรรูปสัตว์น้ำเพื่อจำหน่ายเพิ่มขึ้น
0.00

 

5 5. เพื่อให้บริหารจัดการโครงการเต็มไปด้วยความเรียบร้อย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ สมาชิกในชุมชนพื้นที่ที่ดำเ 300
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ ชาวประมงพื้นบ้านแหลมดิน ม 100

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดกลไกการที่เข้มแข็งทำงานร่วมกันในการรักษาทะเล (2) เพื่อให้เกิดมาตรการชุมชนในการเฝ้าระวังการดำเนินการตามกติกาชุมชนที่เข้มแข็ง (3) เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการฟื้นฟูทะเลสาบสงขลาตอนกลาง (4) เพื่อให้นิเวศทะเลสาบสงขลาตอนกลางได้รับการฟื้นฟูและมีสัตว์น้ำอุดมสมบูรณ์ขึ้น (5) 5. เพื่อให้บริหารจัดการโครงการเต็มไปด้วยความเรียบร้อย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ถอนคืนเงินเปิดบัญชีธนาคาร (2) เดินทางและค่าที่พักเพื่อเข้าร่วมประชุมกับ สสส. หรือ หน่วยจัดการระดับจังหวัด (3) กิจกรรมที่ 4 เวทีประชุมคณะทำงานโครงการ (ครั้งที่1) (4) ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม (5) กิจกรรมที่ 1 เวทีพูดคุยทำความเข้าใจ สถาณการณ์ปัญหาของชายฝั่งบ้านแหลมดิน(เวทีเปิดโครงการ) (6) กิจกรรมที่ 2 จัดทำข้อมูลชนิดพันธุ์สัตว์น้ำ เครื่องมือและรายได้จากการจับสัตว์น้ำ (7) ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (8) กิจกรรมที่ 3 เวทีคืนข้อมูลชุมชนชนิดพันธุ์สัตว์น้ำ  เครืองมือและรายได้จากการจับสัตว์น้ำ (9) กิจกรรมที่ 9 จัดตั้งกลุ่มประมงอาสา  รับสมัครประมงอาสา (10) กิจกรรมที่ 4 เวทีประชุมคณะทำงานโครงการ (ครั้งที่2) (11) กิจกรรมที่ 10 การศึกษาดูงานนอกสถานที่ (12) กิจกรรมที่ 4 เวทีประชุมคณะทำงานโครงการ (ครั้งที่3) (13) การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) (14) การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) (15) เวทีประชุมคณะทำงานโครงการ (ครั้งที่4) (16) การปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ (17) เวทีประชุมคณะทำงานโครงการ (ครั้งที่5) (18) เวทีทำความเข้าใจรูปแบบวิธีการจัดการผลผลิตสัตว์น้ำชุมชนและการสร้างมูลค่าเพิ่ม (19) การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) (20) เวทีประชุมคณะทำงานโครงการ (ครั้งที่6) (21) การทำบ้านปลา (22) เวทีทำความเข้าใจ กำหนดเขตอนุรักษ์ อาณาเขต (23) การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) (24) เวทีจัดทำกฎกติกาข้อตกลงเขตอนุรักษ์ (25) เวทีปิดโครงการ (26) ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการฟื้นเลให้สมบูรณ์ด้วยเขตอนุรักษ์ พื้นที่อ่าวแหลมดิน หมู่ที่ 6 ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

รหัสโครงการ 65-00232-0028 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการฟื้นเลให้สมบูรณ์ด้วยเขตอนุรักษ์ พื้นที่อ่าวแหลมดิน หมู่ที่ 6 ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-00232-0028

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายดิเรก หัสนันท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด