แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ประชุมคณะทำงาน / สมาชิกร่วมโครงการ 9 พ.ค. 2565

 

 

 

 

 

ค่าเปิดบัญชีธนาคาร 10 พ.ค. 2565 10 พ.ค. 2565

 

ผู้รับผิดชอบโครงการ สำรองเงินจ่ายค่าเปิดบัญชีธนาคาร จำนวน 500 บาทเพื่อเปิดบัญชีธนาคารรับเงินสนุนสนุนจากหน่วยจัดการฯ สสส.

 

ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้เปิดบัญชีธนาคารของโครงการย่อยเรียบร้อยแล้ว และได้เบิกเงินสำรองจ่ายค่าเปิดบัญชีคืน

 

กิจกรรมที่ 4 ประชุมกลไก ติดตาม ประเมินผล 15 พ.ค. 2565

 

 

 

 

 

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 16 ก.ค. 2565 16 ก.ค. 2565

 

ติดตามงาน ประจำเดือน

 

คณะทำงาน รับรู้ ทิศทางการขับเคื่อนโครงการ และติดตามงานโครงการ

 

กิจกรรม 3 การสร้างแปลงต้นแบบ การทำนาปรานีต (เยี่ยมแปลงนาต้นแบบ) 2 ก.ย. 2565 2 ก.ย. 2565

 

จัดประชุมคณะทำงาน เยี่ยมแปลงสมาชิกนาต้นแบบ (นาอินทรีย์ ) 10 ราย

 

เรียนรู้การทำนาปลอดภัยสู่นาอินทรีย์ โดย คณะทำงาน สมาชิกเกษตรกร่ทีเข้าร่วม10 ราย  ผู้ตรวจแปลง สมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนพัทลุง เพื่อแลกเปลียนประสบการณ์ ซึ่งกันและกัน

 

กิจกรรมการเยี่ยมแปลงนา 2 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

อบรมพัฒนาศักยภาพสมาชิก 28 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจ 10 ธ.ค. 2565

 

 

 

 

 

เรียนรู้ดูงาน 11 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

ประชุมกรรมการกลุ่มวิสาหกิจ (3ครั้ง) 15 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

อินเตอร์เน็ต และบริการจัดทำเอกสาร 30 มิ.ย. 2566 30 มิ.ย. 2566

 

จัดทำเอกสารและคีย์ข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต

 

ข้อมูลในระบบอัพเดทเป็นปัจจุบัน และส่งเอกสารให้ฝ่ายการเงิน

 

ประชุมคณะทำงาน ร่วม สสส รับทราบโครงการพร้อมเซ็นสัญญา 9 พ.ค. 2565 9 พ.ค. 2565

 

ร่วมรับฟังรายละเอียดโครงการ เพื่อเซ้นสัญญาและนำมาปฏิบัติงานโครงการ ในภาคเช้า ที่มาของงบประมาณสนับสนุน การรายงานแบบฟอร์มต่าง ในระบบอินเตอรืเน็ต  ภาคบ่าย  เข้าระบบโปรแกรมการรายงานผ่านระบบเว็ป หลังจากนั้นเซ้นสัญญา .โครงการนาปลอดภัยที่ดอนทราย.

 

เรียนรู้และปฏิบัติในระบบและการใช้แบบฟอร์มจริงอย่างถูกต้อง

 

ประชุมคณะทำงานชี้แจงรายละเอียดโครงการ 15 พ.ค. 2565 15 พ.ค. 2565

 

ชี้แจงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ  แผนงาน ทั้งปี จนสิ้นสุดโครงการ 30 เมษายน 2566 ให้คณะทำงานทราบ  วัตถุประสงค์  กิจกรรม ผลลัพธ์ที่ได้จากการทำโครงการ

 

คณะทำงานรู้ขั้นตอนการดำเนินงาน ลำดับ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินงาน

1 อบรมปฐมนิเทศโครงการ 9-พ.ค.
ประชุมชี้แจงโครงการคณะทำงาน 15คน 15-พ.ค.
2 ประชุมคณะทำงานและสมาชิกกลุ่ม 20-21 พ.ค.
คณะทำงาน 15 คน,สมาชิก 40 คน 4 กลุ่ม
เนื้อหา : 1.1 ชี้แจงโครงการสมาชิกทราบ
1.2สำรวจข้อมูล (แบบสอบถาม)
1.3 การจัดการแปลง การพัฒนาสู่การรับรอง
  มาตรฐาน SDGsPGS (นาประนีต)
3 อบรมสมาชิกพัฒนาศักยภาพการทำนาปลอดภัย,ปัจจัยการผลิต 15-มิ.ย.
2.1 การเก้บเมล็ดพันธ์,การผลิต
2.2 การผลิตสารทดแทน ,การทำปุ๋ยหมักและน้ำหมัก
4 อบรมสมาชิกพัฒนาศักยภาพการทำนาปลอดภัย,การตั้งกลุ่มวิสาหกิจฯ 15-ก.ค.
3.1 การสร้างแบรนด์
3.2 การขาย และการทำบัญชี
5 ประชุมวางแผนคณะทำงานและผู้นำกลุ่มสมาชิก 20-ส.ค.
4.1 การสร้างแปลงต้นแบบ (นาประนีต)
แปลงนาอินทรีย์ 10 แปลง
4.2 ลงพื้นที่ตรวจแปลงนาต้นแบบ
6 เยี่ยมแปลงนา ครั้งที่ 1  จำนวน 10คน 21-ส.ค.
7 ประชุมกลไกการขับเคลื่อน ติดตาม ประเมินผล ครั้งที่ 1 15-ก.ย.
คณะทำงานและภาคีเครือข่าย 15 คน
8 เยี่ยมแปลงนา ครั้งที่ 2  จำนวน 10คน 15-ต.ค.
9 ประชุมการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจฯ 10 ม.ค
คณะทำงาน 15คน
ภาคีเครือข่ายเกี่ยวข้องรวม 45 คน
10 ติดตาม ประเมินผลนาต้นแบบ  เยี่ยมแปลงนา ครั้งที่ 3 จำนวน 10คน 11-ม.ค.
11 เรียนรู้ดูงานกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
12 ประชุมกรรมการกลุ่มวิสาหกิจฯ...ครั้งที่1 15-ก.พ.
รายงานความก้าวหน้า15 คน
สถานะทางบัญชี,สรุปยอดขาย,แหล่งขาย,
รายได้,ต้นทุน,ปัจจัยเออื้,ปรับแผน

13 ประชุมกลไกการขับเคลื่อน ติดตาม ประเมินผล ครั้งที่ 2 10-มี.ค.
14 ประชุมกรรมการกลุ่มวิสาหกิจฯ...ครั้งที่2 15-มี.ค.
รายงานความก้าวหน้า
15 ประชุมกรรมการกลุ่มวิสาหกิจฯ...ครั้งที่3 15-เม.ย. รายงานความก้าวหน้า

 

กิจกรรม 1 ประชุมคณะทำงานและสมาชิกเรียนรู้โครงการ การทำนาปลอดภัยสู่นาอินทรีย์ที่ดอนทราย 20 พ.ค. 2565 20 พ.ค. 2565

 

ชี้แจงรายละเอียดโครงการ แผนงาน ทั้งปี สิ้นสุด เม.ย.2566 เชิญวิทยากรให้ความรู้แนวทางการขับเคลื่อนโครงการ การจัดการแปลงปลูก

 

คณะทำงานรับทราบ แผนงาน รายละเอียดขั้นตอนการดำเนินงาน เกษตรกรรับรู้แนวทาง โครงการ เข้าใจการทำแปลงนา สู่นาปรานีต (นาอินทรีย์

 

กิจกรรมที่ 2 อบรมเพิ่มศักยภาพสมาชิกกลุ่มทำนาปลอดภัย ครั้งที่ 1 (การจัดการแปลง เตรียมดิน การเก็บเมล็ดพันธ์) 21 พ.ค. 2565 21 พ.ค. 2565

 

ช่วงเช้าวิทยากร นายชวพล อ่อนเรือง ให้ความรู้ในเรื่องการจัดการแปลง ความรู้เรื่องดิน ธาตุอาหารที่พืชต้องการ และในภาคบ่าย วิทยากร นางสาว นภัสสรณ์ ปรางแก้ว ให้ความรู้เรื่องการจัดการแปลงนาปลอดภัย สู่นาอินทรีย์ (นาปรานีต) มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS

 

สมาชิกเข้าการจัดการแปลง เตรียมดิน ปุ๋ย สำหรับการทำนา

 

ประชุมเตรียมงานประชุมชี้แจงโครงการคณะทำงาน/สมาชิก 20 มิ.ย. 2565 20 มิ.ย. 2565

 

ผู้นำพร้อมคณะทำงานของโครงการนาปลอดภัยที่ดอนทราย อธิบายความต้องการของผลสำเร็จโครงการนาปลอดภัยที่ดอนทราย ใน 3 ระดับ คือ ได้นาต้นแบบ  ปลอดภัยมากสุดเลิกใช้เคมี สู่นาอินทรีย์ , แปลงนาที่ ลดการใช้ยา ระดับปลอดภัยกลาง และระดับปลอดภัยน้อยสุด เมื่อจบโครงการ

 

คณะทำงานเข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการ พร้อมนำทีมสมาชิก จำนวน 40 ราย แบ่งเป็น 4 กลุ่ม มีผู้นำกลุ่ม ร่วมกันประสานงาน

 

อบรมสมาชิกพัฒนาศักยภาพการทำนา ครั้งที่ 2 (ปัจจัยการผลิต,การทำปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพ) 28 มิ.ย. 2565 28 มิ.ย. 2565

 

สมาชิกร่วมเข้าอบรมเรียนรู้ การทำน้ำหมัก 7 ชนิด, น้ำหมักกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ โดยวิทยากร จาก ศูนย์เรียนรู้ตามรอยพ่อ ท่าแค คุณธนิต  สมแก้ว ช่วงเช้า วันที่ 28/6/65 เรียนรู้หลักคิดในการทำเกษตรธรรมชาติตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รู้จริง แล้วทำจริง ทำบ่อยๆจนเกิดความชำนาญแล้วขยายผลได้  ช่วงบ่ายเรียนรู้ การทำน้ำหมัก จากพืช 3 ชนิด จากน้ำซาวข้าว หมักนมเปรี้ยว หมักเปลือกไข่ หมักจากถ่านกระดูกสัตว์ ,และจากซากสัตว์และการทำน้ำหมักกำจัดศัตรูพืช และสัตว์  การทำหัวเชื้อราขาว  หัวเชื้อขยายIMO2 และการทำปุุ๋ยหมัก IMO3 วันที่ 29/6/65  ฝึกปฏิบัติ เริ่มต้นทำจริง ตามขั้นตอนที่ได้เรียนรู้ ทฤษฎีมา จนครบ จากนั้นเก็บน้ำหมัก เมื่อครบ 10 วัน แล้วทำหัวเชื้อขยาย IMO2 และปุ๋ย IMO3 .ในวันที่ 8/7/65 หมักไว้ จนครบ 10 วัน จึงนำไปใช้งานได้

 

สมาชิกร่วมเข้าอบรมเรียนรู้ การทำน้ำหมัก 7 ชนิด, น้ำหมักกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ โดยวิทยากร จาก ศูนย์เรียนรู้ตามรอยพ่อ ท่าแค คุณธนิต  สมแก้ว ช่วงเช้า วันที่ 28/6/65 เรียนรู้หลักคิดในการทำเกษตรธรรมชาติตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รู้จริง แล้วทำจริง ทำบ่อยๆจนเกิดความชำนาญแล้วขยายผลได้  ช่วงบ่ายเรียนรู้ การทำน้ำหมัก จากพืช 3 ชนิด จากน้ำซาวข้าว หมักนมเปรี้ยว หมักเปลือกไข่ หมักจากถ่านกระดูกสัตว์ ,และจากซากสัตว์และการทำน้ำหมักกำจัดศัตรูพืช และสัตว์  การทำหัวเชื้อราขาว  หัวเชื้อขยายIMO2 และการทำปุุ๋ยหมัก IMO3 วันที่ 29/6/65  ฝึกปฏิบัติ เริ่มต้นทำจริง ตามขั้นตอนที่ได้เรียนรู้ ทฤษฎีมา จนครบ จากนั้นเก็บน้ำหมัก เมื่อครบ 10 วัน แล้วทำหัวเชื้อขยาย IMO2 และปุ๋ย IMO3 .ในวันที่ 8/7/65 หมักไว้ จนครบ 10 วัน จึงนำไปใช้งานได้

 

กิจกรรมที่ 3 การสร้างแปลงต้นแบบ ทานาปรานีต2 แปลง 2 ก.ย. 2565 2 ก.ย. 2565

 

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แปลงนาสมาชิก แปลงต้นแบบ นาปรานีต (นาอินทรีย์ 2 แปลง 1นายดำรงค์เกียรติ  คงทอง  2".นางบุญเสริม  รอดยัง

 

ได้เรียนรู้การทำนาปรานีตจากสมาชิกการสร้างแปลงต้นแบบ จำนวน 2 แปลง และผู้เข้าเยี่ยมแปลงนา จำนวน 25คน บริเวณแปลงใกล้ เคียง เจ้าของแปลงอธิบายให้ผู้เข้าเยี่ยมชมทราบถึงขั้นตอนการทำนาปรานีตของตนเอง เริ่มจากการเตรียมปัจจัยการผลิต เช่นเมล็ดพันธ์ การทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักจากจุลินทรีย์ท้องถิ่น ฯลฯ

 

กิจกรรมที่ 5 การเยี่ยมแปลงนา ครั้งที่ 1 2 ก.ย. 2565 19 ต.ค. 2565

 

แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำแปลงนาปรานีต(นาอินทรีย์) ลงเยี่ยมแปลงนา เจ้าของแปลง อธิบายการทำแปลงนาของตนเอง เริ่มต้นด้วยการเตรีย ปัจจัยการผลิต เพื่อทำปุ๋ยหมัก และน้ำหมักจากจุลินทรีย์ท้องถิ่น จากนั้นเตรียเมล็ดพันธ์ เมื่อได้แล้วเตรียไถนา เพื่อหมักดิน ก่อนว่านข้าวในนา จากนั้นดูแลวัชพืช และฉีดน้ำหมัก7ชนิด 3-4 ครั้ง และฉีดยากำจัดศัตรู ข้าวที่ทำเอง

 

สมาชิก 10 คนเข้าเยี่ยมแปลงนา ณ หนำ นายดำรงค์เกียรติ  คงทอง แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำแปลงนาปรานีต(นาอินทรีย์) ลงเยี่ยมแปลงนาปรานีต จำนวน 2 แปลง 1 นายดำรงค์เกียรติ คงทอง 2นาวบุญเสริม  รอดยัง

 

ประชุมสมัชชาสุขภาพ 12 ก.ย. 2565 12 ก.ย. 2565

 

ร่วมประชุมสมัชชาสุขภาพ

 

เรียนรู้ แลกเปลี่ยน พัทลุงมหานครแห่งความสุข ร่วมกัน ทั้งวัน ประเด้นเสวนา 8 ประเด็น
1 ออกแบบการศึกษาเพื่อเสริมสร้างศ้กยภาพของผู้เรียน 2 สร้างเศรษฐกิจเกื้อกูล 3 ออกแบบระบบจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สร้างระบบนิเวศที่ยั่งยืน 4 จังหวัดอาหารปลอดภัยและรักษาพันธ์พืช 5 การสร้างความมั่นคงของชุมชน 6 ประวัติศาสตร์  ภูมิปัญญา ประเพณีวัฒนธรรม 7 ออกแบบพื้นที่พิเศาของจังหวัดพัทลุง 8 สร้างการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

 

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานและสมาชิกกลุ่ม ครั้งที่ 1 (ARE1) 19 ก.ย. 2565 19 ก.ย. 2565

 

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปัญหา อุปสรรค

 

ได้กลไกการขับเคลื่อนโครงการฯที่เข็มแข็ง

 

กิจกรรม 4 ประชุมกลไก ติดตาม ครั้งที่ 1 11 ต.ค. 2565 11 ต.ค. 2565

 

สรุปผลการดำเนินงาน ระยะ 4เดือน

 

เกิดกลุ่มทำนาที่เข็มแข็ง แบ่งหน้าที่ทีมคณะทำงาน ได้ชัดเจน และทีมสมาชิก 40 ราย ออกเป็น 4 ทีม ในระดับเกณฑ์วัด 3 ระดับ มี อินทรีย์ 8 ราย, ระดับปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 10 ราย และสมาชิกกลุ่มที่ใช้สารเคมี ล้วน 22 ราย สมาชิกมีความรู้เรื่องการทำนา, มีกลไกการขับเคลื่อน ติดตามประเมินผล และพื้นที่นาปลอดภัยเพิ่มขึ้น

 

การประเมินผลเรียนรู้และพัฒนา 10 พ.ย. 2565 10 พ.ย. 2565

 

เรียนรู้ เสวนา แยกกลุ่มกิจกรรม

 

ได้เรียนรู้ ทบทวน กระบวนการ ปฏิบัติงานของแต่ละกิจกรรมต่างพื้นที่ โครงการทำนาอินทรีย์ตะโหมด และ โคกสัก ระบบการจัดการของแต่ละพื้นที่ แตกต่างกันตามสภาพแวดล้อมและภูมิของพื้นที่นั้นๆ

 

เยี่ยมแปลงนา ครั้งที่ 2 11 พ.ค. 2566 11 พ.ค. 2566

 

ผู้ตรวจแปลงเพื่อเข้ารับรองมาตรฐาน ลงตรวจเยี่ยมแปลงนาร่วมกับเจ้าของแปลง ตรวจแนวกันชน ทั้งสี่ด้าน และแปลงนาใกล้เคียง ให้คำแนะนำเกษตรกร ปรับปรุงเรื่องต่าง ๆ เช่นการทำปุ่ยหมัก ทำบริเวณแปลง สะดวกแก่การขนย้ายใช้งาน โดยบริเวณแปลงใกล้กัน ทำด้วยกัน แยกจุดให้กระจาย เป็นกลุ่มเล้ก

 

การเตรียมแปลงก่อนถึงช่วงทำนาเกษตร ว่านพืช ถั่วเขียวเพื่อปรับปรุ่งดิน ในแปลงนาต้นแบบ ทั้งสมาชิกแปลงใกล้กัน ร่วมกันทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักไว้ใช้งานเอง

 

ประชุมคณะทำงาน / สมาชิกร่วมโครงการ 11 พ.ค. 2566 11 พ.ค. 2566

 

การจัดตั้งวิสาหกิจชุมชนฯ ชี้แจงสมาชิก การทำให้กลุ่มเกิดความเข็มแข็ง โดยบริหารร่วมกันภายใต้กลุ่มเกษตรกรทำนาดอนทราย การจัดให้มีกติกา กลุ่ม ข้องบังคับ การลงหุุ้น เพื่อให้สมาชิกเป็นเจ้าของ

 

เกิดกลุ่มวิสาหกิจชุมชนคนทำนาอินทรีย์ดอนทราย เรื่มต้นจดทะเบียนสมาชิกลงหุ้น 7 ท่าน

 

กิจกรรม 2 อบรมสมาชิกพัฒนาศักยภาพการทำนา ครั้งที่3 (การจัดตั้งวิสาหกิจ การสร้างแบรนด์ การขาย การทำบัญชี) 12 พ.ค. 2566 12 พ.ค. 2566

 

อบรมเรียนรู้การจัดการ กลุ่มให้เกิดความเข็มแข็ง ตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนคนทำนาอินทรีย์ดอนทราย การทำบัญชีกลุ่ม การขายผลผลิต ปุ๋ยหมัก  แปรรูปข้าว ทั้งการรวบรวมผลผลิตสมาชิก

 

สมาชิกรวมตัวจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนคนทำนาอินทรีย์ เริ่มต้นเตรียมเอกสารประสานงาน เพื่อจดทะเบียนกลุ่มกับ เกษตรอำเภอควนขนุน มีกติการร่วมกัน ผลิต  รวบรวม และการจำหน่าย ภายใต้ กลุ่มเกษตรกรทำนาดอนทราย เช่น การลงหุ้นเริ่มต้น 100 บาท

 

เยี่ยมแปลงนา ครั้งที่ 3 12 พ.ค. 2566 12 พ.ค. 2566

 

ผู้ตรวจแปลงสมาพันธ์ฯ ลงตรวจเยี่ยมแปลงนาร่วมกับเจ้าของแปลง

 

แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้วยกัน ทั้งเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อให้สามารถเข้ารับรองมาตรฐาน เกษตรอินทรียืแบบมีส่วนร่วม SDGsPGS ได้

 

ดูงานนอกสถานที่ 19 พ.ค. 2566 19 พ.ค. 2566

 

ศึกษาดูงาน กระบวนการพัฒนายกระดับผลผลิตทางการเกษตร ณ วิบุลย์พันธ์ออร์แกนิคฟาร์ม ตำบลหานโพธิ์ อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ในช่วงเช้า ฟังการบรรยาย การทำเกษตรกรรมให้ยั่งยืนจากวิทยากร และชมการจัดกิจกรรมบูทต่างๆในงานพัทลุงฟาร์มเฟส ในภาคเช้า หลังจากนั้นไปศึกษาดูงาน ที่วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์บ้านทุ่งยาว ฟังการบรรยายจากท่านวิทยากรจากการทำการเกษตรในชุมชน การผลิตปุุ๋ยจากจุลินทรีย์ท้องถิ่น การปลูกผักยกแคร่ ในโรงเรือนกงมุ้ง แล้ว เดินทางกลับ บ่าย 4 โมง

 

สมาชิกที่ดูงานได้รับความรู้และ เทคนิคการให้ผลผลิตมีคุณภาพ ราคาขายแพงๆ การจัดการ บริหารกลุ่มให้เกิดความเข้มแข้ง สามารถอยู่ได้อย่างยั่งยืน

 

ประชุมกรรมการ ครั้งที่ 2 29 พ.ค. 2566 29 พ.ค. 2566

 

ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ  ร่างกติกา ข้อบังคับของกลุ่ม

 

เตรียมข้อมูลและเอกสารการจัดตั้งกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนคนทำนาอินทรีย์ดอนทราย เพื่อนำไปจดทะเบียนกับเกษตรอำเภอควนขนุนต่อไป

 

ประชุมกิจกรรม ARE ครั้งที่2 ประเด็นอาหารปลอดภัยและการจัดการทรัพยากร 30 พ.ค. 2566 11 ต.ค. 2565

 

สรุปผลการดำเนินงาน 4 เดือน

 

1 เกิดกลุ่มทำนาเข็มแข็ง การแบ่งหน้าที่งาน  ชัดเจน ทีมคณะทำงาน 18 คน ทีมสมาชิก  จำนวน 40 ราย 4 กลุ่ม จัดระดับเกณฑ์ ในกลุ่ม อินทรีย์ 8 ราย ,กลุ่มกำลังปรับพฤติกรรม 10 ราย และกลุ่มยังใช้ปุ๋ยเคมี 22 ราย

 

ประชุมกรรมการ ครั้งที่ 3 7 มิ.ย. 2566 7 มิ.ย. 2566

 

สรุปกิจกรรมการดำเนินงานทั้งโครงการ พร้อม กระบวนการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจ กำหนด กติกา เงื่อนไข ของกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนคนทำนาอินทรีย์ดอนทราย

 

จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนคนทำนาอินทรีย์ดอนทราย โดยมีนายดำรงค์เกียรติเป็นประธานกลุ่ม กรรมการ 7 ท่าน เตรียมเอกสารเพื่อไปจดทะเบียนที่เกษตรอำเภอต่อไป

 

ประเมินผล ติดตามงาน ครั้งที่ 2 (ว 6) 17 มิ.ย. 2566 17 มิ.ย. 2566

 

ติดตามงานเพื่อเตรียมสรุปการดำเนินงาน ปิดโครงการ ในการประชุมปิดโครงการ ในวันที่ 19 ,มิ.ย.2566

 

สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา  อุปสรรค .ในการดำเนินงานตลอดโครงการ

 

กิจกรรมที่ 1ประชุมคณะทำงานและสมาชิกกลุ่ม ครั้งที่ 2(ARE2) 19 มิ.ย. 2566 19 มิ.ย. 2566

 

ประธานโครงการ สรุปผลการดำเนินงานต่อสมาชิก ปัจจัยที่ทำให้โครงการสำเร็จ ปัญหาการดำเนินงาน และผลการดำเนินงาน บรรลุุเกินเป้าหมาย จากนั้นสมาชิกสะท้อนปัญหา และข้อเสนอแนะ

 

มีแกนนำกลุ่มในการขับเคลื่อน จำนวนพื้นที่นาปลอดภัย 40 ราย ปรับสู่นาอินทรีย์ที่ได้รับมาตรฐาน จำนวน 8 แปลง รอรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS จำนวน 12 แปลง
กลุ่มสมาชิกที่ผลิตปุ๋ยหมักใช้เองจำนวน 2 กลุ่ม กระจายพื้นที่ 2 โซนเพื่อให้สะดวกแก่การดำเนินงาน จำนวนผลผลิตข้าวปลอดภัย 72 ตัน ข้าวอินทรีย์ที่ได้ จำนวน 14 ตัน  จำนวนผู้บริโภค.ในพื้นที่ 600 ครัวเรือน รายได้ จากการจำหน่าย ข้าวปลอดภัย 4.8 แสนบาท ข้าวอินทรีย์ 3 แสนบาท ผู้ร่วมดำเนินงาน สหกรณ์จังหวัดพัทลุง กรมข้าว เกษตรอำเภอควนขนุน ม.ทักษิณ