แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการนาปลอดภัยที่ดอนทราย

รหัสโครงการ 65-00232-0034 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

การอบรมทำและใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ เพื่อใช้ในการทำนา จำนวน 180 ไร่ โดยหมุนเวียนกันไปตามกลุ่มย่อยที่แบ่งกันไว้ 4 กลุ่ม 10 วันต่อคร้ง

ภาพถ่าย/รายงานฯและกลุ่มนาปลอดภัยตำบลดอนทราย

การลงหุ้นกันเพือตั้งกลุ่มผลิตปุ๋ยฯอย่างเป็นทางการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

การรวมตัวกันเรียนรู้และมีปฏิบัติการตามโครงการร่วมกันของเหล่าสมาชิกกลุ่มทำนาปลอดภัย เป็นการสร้างเสริมสุขภาพทำให้มีอาหารปลอดภัยไว้บริโภคและเผื่อแผ่แก่ครัวเรือนอื่นที่ไม่ได้ทำนาในตำบล

ภาพถ่าย/รายงานฯและกลุ่มนาปลอดภัยตำบลดอนทราย

การเพิ่มพื้นที่ทำนาและเพิ่มจำนวนสมาชิกในระยะต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

การทำนาปลอดภัย สามารถลดรายจ่ายในการใช้สารเคมี ปุ๋ยเคมี

กลุ่มทำนาฯดอนทราย

การเพิ่มพื้นที่ทำนาและเพิ่มจำนวนสมาชิกในระยะต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

สมาชิกกลุ่มทำนา ทั้ง 40 รายต้องไม่ใช้สารเคมี ปุ๋ยเคมีในการทำนา

บันทีการประชุมกลุ่มทำนาฯ

แบ่งประเภทของการทำนาตามระดับต่างๆให้ชัดเจน เพื่อเป็นข้อมูลตั้งต้นใช้เปรียบเทียบเมื่อสิ้นสุดโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
  1. เกิดการแลกเปลี่ยนพันธ์ข้าวระหว่างคนทำนาในระดับหมู่บ้านในตำบล
  2. เกิดการประสานงานกับภาคี/บุคคลภายนอก ในการมาเป็นวิทยากรให้ความรู้ในการทำนาปลอดภัย
  3. จัดตั้งกลุ่มไลน์ กลุ่มทำนาดอนทราย เพื่อเป็นช่องทางสื่อสารในการดำเนินงานตามโครงการ

รายงานฯ/ภาพถ่ายกิจกรรม

พัฒนาไปเป็นเครือข่ายวิสาหกิจแลกเปลี่ยน ซื้อ ขาย ข้าวปลอดภัยในอนาคต

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

ในกระบวนการขาขึ้นของโครงการนี้ เริ่มต้นจากการประเมินสถานการณ์ เรื่องอาหารปลอดภัยในตำบลดอนทราย และพบว่าคนส่วนใหญ่นิยมบริโภคข้าวจากท้องตลาด ทำให้ไม่มั่นใจในความปลอดภัย เมื่อประเมินเบีื้องต้นพบว่า ในพื้นที่เองยังมีกลุ่มเกษตรกรที่ทำนาและพื้นที่นาอยู่พอสมควร เป็นต้นทุนในการผลิตข้าวปลอดภัย เริ่มต้นจากให้ครัวเรือนที่ทำนาผลิตข้าวให้ปลอดภัย เพื่อบริโภคในครัวเรือนก่อน หากมีเหลือก็ค่อยแบ่งปันสู่ครัวเรือนอื่นในระยะแรก นำมาสู่การเรียบเรียงเป็นโครงการนาปลอดภัยที่ดอนทรายขึ้น โดยใช้เครื่องมือ การประเมินสถานการณ์เบื้องต้น วิเคราะห์ปัญหาโดยต้นไม้ปัญหา นำไปสู่การจัดทำบันไดผลลัพท์ ยกร่างโครงการ เมือ่ได้รับการอนุมัติ ก็ดำเนินโครงการจนถึงปัจจุบัน จึงจัดเวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ในช่วงที่ผ่านมา โดยมีผลดังนี้คือ 1. ผลลัพท์ในบันไดขั้นที่ 1 เกิดกลุ่มทำนาเข้มแข็ง มีสมาชิกรวม 40 คน - มีข้อมูลการทำนาแบบ เดิม เป็นเบทไลน์ คือกลุ่มแรก ทำนาใช้สารเคมีอยู่ 22 ราย กลุ่มที่ 2 กำลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการใช้สารเคมี 10 ราย และกลุ่มที่ 3 เป็นนาอินทรีย์แล้ว 8 ราย - คนทำนาแบบเดิมรู้ข้อมูลถ่ายทอดได้ ซึ่งหมายรวมถึงสามารถเป็นวิทยากรในการทำนาอินทรีย์ได้จำนวน 10 คน - กลุ่มมีสมาชิกรายใหม่เพิ่มขึ้น จากเดิมมีสมาชิกเพียง 18 คน เพิ่มขึ้นเป็น 40 คน คน 2. ผ่านผลลัพท์ในบันไดขั้นที่ 2 สมาชิกมีความรู้เรื่องการทำนา และสามารถปรับสภาพแวดล้อมของนาได้ โดยการจัดกิจกรรม - ประชุมคณะทำงานและกลไกขับเคลื่อน
- อบรมสมาชิกกลุ่มทำนาปลอดภัย ในการเตรียมแปลง/การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ/สารชีวภาพปราบศัตรูพืช
- เรียนรู้ดูงานการทำนาปลอดภัย โดยเกิดผลตามตัวชี้วัดดังนี้คือ - สมาชิกรายใหม่ 40 คน มีความรู้การทำนาปลอดภัย 2.2 เกิดกลุ่มผลิตสารทดแทน ปุ๋ย สารกำจัดศัตรูพืช/วัชพืช โดยแบ่งกลุ่มย่อยเป็น 4 กลุ่มหมุนเวียนกันผลิตปุ๋ยฯ ทุก 10 วัน 2.3 มีการปรับปรุงดินร่วมกับ พด. มีวิทยากรจาก พด.พัทลุงมาเป็นวิทยากร และบรรจุแผนของพื้นที่ดอนทรายในแผนฟื้นฟูนา ของพด.พัทลุง 2.4 มีแผนการทำนาร่วมกัน โดยแบ่งพื้นที่ ออกเป็น 4 โซน แต่ละโซนจะมีทีมคอยบริหารจัดการและประสานงาน 2.5 มีแผนการใช้น้ำร่วมกับ ชป. เนื่องจากฝายท่าแนะไม่สามารถจ่ายน้ำเพื่อทำนาได้ จึงต้องพึ่งนาน้ำฝน 2.6มีการปรับปรุงพันธุ์ข้าวร่วมกับศูนย์วิจัย สมาชิกของกลุ่มเข้าร่วมโครงการผลิตพันธ์ข้าวพื้นบ้านอินทรย์ กับศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง จึงทำให้มีพันธ์ข่้าวมาใช้ในพื้นที่
โดยสรุปในบันไดขั้นที่สอง ขาดเพียงกิจกรรมเดียวจึงจะผ่านสมบูรณ์ คือกิจกรรมการไปศึกษาดูงานการทำนากับกลุ่มทำนาตะโหมด แต่การไปดูวานทีหลัง ก็อาจมีประโยชน์ในอีกแง่หนึ่งคือ การทำงานก่อนแล้วค่อยไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน ก็จะมีบทเรียนนำไปแลกเปลี่ยได้ เพราะประเมินความรู้ที่จำเป็นเบื้องต้นแล้ว คนในพื้นที่มีความรู้เพียงพอที่จะถ่ายทอดให้แก่กลุ่มทำนาดอนทรายได้ 3. จุดอ่อนที่ต้องปรับปรุงในการดำเนินงานระยะต่อไป คือการต้องแบ่งหน้าที่รับผิดชอบกระจายออกไปให้กับคนในทีมแกนนำทำตามความถนัด ต้องมีผู้รับผิดชอบการเงินที่ชัดเจน ให้สามารถแจ้งความเคลื่อนไหวของเงินได้ทุกเดือน ต้องมีการนำบันไดผลลัพท์มาใช้ในการประชุมทีมทุกเดือนเพือ่ใช้ประเมินความก้าวหน้าและติดตามงาน

รายงานกิจกรรม/บันทึกการประชุมทีม

จุดอ่อนที่ต้องปรับปรุงในการดำเนินงานระยะต่อไป คือการต้องแบ่งหน้าที่รับผิดชอบกระจายออกไปให้กับคนในทีมแกนนำทำตามความถนัด ต้องมีผู้รับผิดชอบการเงินที่ชัดเจน ให้สามารถแจ้งความเคลื่อนไหวของเงินได้ทุกเดือน ต้องมีการนำบันไดผลลัพท์มาใช้ในการประชุมทีมทุกเดือนเพือ่ใช้ประเมินความก้าวหน้าและติดตามงาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

การใช้แปลงนานำร่องเป็นแหล่งเรียนรู้ในการทำนาร่วมกัน โดยมีวิทยากรที่มีความรู้เป็นคนในตำบลเป็นผู้ร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้/บทเรียนให้แก่สมาชิก ร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก

รายงานฯ/ภาพถ่ายกิจกรรม

ถอดบทเรียนความรู้ และสรุปผลเพื่อยกระดับความรู้ของคนในทีมทำนาฯ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ