directions_run

ส่งเสริมสุขภาพปลูก กิน ผักปลอดภัยเพื่อความยั่งยืน ตำบลบาเจาะ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดยะลา


“ ส่งเสริมสุขภาพปลูก กิน ผักปลอดภัยเพื่อความยั่งยืน ตำบลบาเจาะ ”

ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายกริยา มูซอ

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพปลูก กิน ผักปลอดภัยเพื่อความยั่งยืน ตำบลบาเจาะ

ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-0002 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมสุขภาพปลูก กิน ผักปลอดภัยเพื่อความยั่งยืน ตำบลบาเจาะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพปลูก กิน ผักปลอดภัยเพื่อความยั่งยืน ตำบลบาเจาะ



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพปลูก กิน ผักปลอดภัยเพื่อความยั่งยืน ตำบลบาเจาะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-0002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 31 มีนาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,600.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์ผักปลอดภัย จังหวัดยะลา ปี 2565 มีเป้าหมายยุทธศาสตร์จังหวัด คือ ลดการนำเข้าผักจากนอกพื้นที่ โดยมีภาคีร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประกอบด้วย หน่วยงานภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดยะลา สำนักงานเกษตรกรจังหวัด ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรยะลา สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดยะลา สำนักงาน ธ.ก.ส. จังหวัดยะลา และโรงพยาบาลจังหวัดยะลา มีโมเดลผักปลอดภัยจากการขับเคลื่อนเมื่อปี 2565 จำนวน 2 โมเดล คือ โมเดลวิสาหกิจชุมชน มีกลุ่มเป้าและโครงสร้างกลุ่มที่จะดำเนินการชัดเจน และโมเดลกลุ่มเกษตรกร สมาชิกกลุ่มมีการรวมกลุ่มเกษตรกรปลูกผัก ดำเนินแบบกลุ่มแต่โครงสร้าง บทบาทหน้าที่คณะกรรมการยังไม่ชัดเจน พื้นที่ร่วมดำเนินโครงการจำนวน 12 ตำบล 13 ชุมชน ดังนี้ อำเภอเมือง 1 วิสาหกิจชุมชนสวนนูรีสฟาร์ม ลำใหม่ (โมเดลวิสาหกิจชุมชน) 2วิสาหกิจชุมชนบ้านชาสมุนไพร ตำบลหน้าถ้ำ 3 กลุ่มผักปลอดสารบ้านคลองทราย ตำบลยุโป 4 กลุ่มบ้านสวนเกษตรบ้านทุ่งเหรียง ตำบลยุโป 5 กลุ่มสวนเกษตรปลอดภัยตำบลบุดี อำเภอรามัน 6 กลุ่มพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรแบบยั่งยืน ตำบลยะต๊ะ (โมเดลกลุ่มาเกษตรกร) 7 กลุ่มเกษตรกรปลูกผักปลอดสาร อาหารปลอดภัย บือมัง ตำบลบือมัง 8 กลุ่มปามานีส ฮีดูบ ตำบลบาโงย 9 กลุ่มเกษตรกรปลูกผักปลอดภัยชุมชนเลสุ ตำบลกาลูปัง 10 กลุ่มปลูกผักตำบลวังพญา ตำบลวังพญา อำเภอยะหา 11 ศพก.เครือข่ายบ้านบลูกาลูวัส ตำบลกาตอง อำเภอบันนังสตา 12 วิสาหกิจชุมชนเกษตรกรพึ่งตนเองบ้านโปฮนญัมบู ตำบลบันนังสตา และ 13 วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตอาหารปลอดภัย ตำบลบาเจาะ
ตำบลบาเจาะ เป็นหนึ่งในพื้นที่เป้าหมายของหน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญระดับจังหวัด ตำบลลาเจาะ      มีจำนวนประชากรประมาณ 10,070 คน จำนวน 1,699 ครัวเรือน นับถือศาสนาอิสลาม 100% มีเนื้อที่แยกตามหมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1 บ้านอูแบ พื้นที่ประมาณ 5,000 ไร่ หมู่ที่ 2 บ้านบาเจาะ พื้นที่ประมาณ 2,500 ไร่ หมู่ที่ 3 บ้านบางลาง พื้นที่ประมาณ 11,250 ไร่ หมู่ที่ 4 บ้านบียอ พื้นที่ประมาณ 10,000 ไร่ หมู่ที่ 5 บ้านคอลอกาเอ พื้นที่ 13 ประมาณ 8,125 ไร่ และในพื้นที่พบว่า มีเกษตรกรหมู่ที่ 2 ทำการปลูกผักเป็นอาชีพเสริม ชุมชนบาเจาะมีฐานของเกษตรกรที่ปลูกผักรวมกลุ่มเป็นวิสาหกิจชุมชนจำนวน 40 คน โดยมีเกษตรกรคนรุ่นใหม่ (Young Smart Farmar) เป็นแกนนำของกลุ่ม ที่มีเป้าหมายผลิตอาหารปลอดภัยป้อนตลาดในพื้นที่จังหวัดยะลา กลุ่มมีแกนนำคณะกรรมการ 7 คน แบ่งหน้าที่รับผิดชอบแต่ละด้านตามแผนงานกิจกรรมของกลุ่มได้แก่ ด้าน 1) การผลิตเห็ดหลายหลายชนิด 2) การผลิตพืชผักปลอดภัย 3) การผลิตทุเรียนคุณภาพ 4) การแปรรูปอาหาร และ5) ด้านเชื่อมการตลาดกับผู้ประกอบการ ในการดำเนินการด้านปลูกผักปลอดภัย กลุ่มมีแนวคิดจะผลิตผักอินทรีย์ แต่ระยะแรกเริ่มจะใช้การรับรองแบบมาตรฐานผักปลอดภัย GAP รูปแบบปลูกจะปลูกในแปลงกลางพื้นที่จำนวน 7 ไร่ และกระจายพื้นที่ของสมาชิกปลูกบนดินและปลูกในถุงกระสอบอย่างน้อยครัวเรือนละ 100 กระสอบต่อรอบการผลิต
สภาพปัญหา ด้านฐานคิดเกษตรกรมีการร่วมกลุ่มกันเป็นวิสาหกิจชุมชน สมาชิกยังไม่ให้ความสำคัญในการมาประชุมกลุ่มเท่าที่ควร การปลูกผักจะเริ่มจากผักที่ปลูกง่าย และมีตลาด เช่น ผักบุ้ง แตงกวา ต้องการองค์ความรู้ในการผลิตให้ได้มาตรฐาน ด้านปัจจัยการผลิต คณะกรรมการเป็นคนรุ่นใหม่มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในแปลง สามารถค้นหา ศึกษาข้อมูลได้ดี มีพื้นที่ 7 ไร่ สำหรับเตรียมปลูกผัก ต้องความรู้การทำปุ๋ยชีวภาพ สารชีวภัณฑ์ การปรุงดินสำหรับปลูกผักในภาชนะ ในโรงเรือน หรือในพื้นที่จำกัด ด้านกลไกทำงาน ในกลุ่มจะมีคณะกรรมการที่มีหน้าที่เชื่อมด้านตลาด มีเกษตรกรรุ่นใหม่เข้าร่วมอบรมพัฒนา เรียนรู้กับหน่วยงานราชการอยู่ตลอด และด้านฐานคิดผู้บริโภค ยังไม่เข้าถึงผักปลอดภัย หาซื้อได้เฉพาะจุด เฉพาะวัน เช่น จุดตลาดเขียวหลังเกษตร มีขายวันอังคารกับวันพฤหัสบดีเฉพาะคนเมืองยะลาได้ซื้อ ผู้บริโภคบางคนสั่งออนไลน์ซื้อตรงจากเกษตรกรแต่ชนิดผักไม่หลายหลายส่วนใหญ่จะเป็นผักสลัด กรีนโอ๊ต เรดโอ๊ต การหาซื้อยังหายากสำหรับผู้บริโภค ผักปลอดภัยไม่ค่อยสวย ขายยากสำหรับผู้ผลิต ซึ่งต้องมีการประชาสัมพันธ์ สื่อสารให้มากขึ้น
ดังนั้นจากสถานการณ์ดังกล่าว วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตอาหารปลอดภัย ตำบลบาเจาะ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพปลูก กิน ผักปลอดภัยเพื่อความยั่งยืน ตำบลบาเจาะ เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง และเพื่อให้เกษตรกรสามารถบริโภคและจำหน่ายผักที่ปลอดภัย เพิ่มรายได้ครัวเรือนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง
  2. เพื่อให้เกษตรกรสามารถบริโภคและจำหน่ายผักที่ปลอดภัย เพิ่มรายได้ครัวเรือนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ
  2. กิจกรรมที่ 2 อบรมและวางแผนการผลิตตามมาตรฐาน GAP
  3. กิจกรรมที่ 3 kick off ปลูกผักปลอดภัย
  4. 4. กิจกรรมที่ 4 ติดตามผลการผลิตและจัดทำข้อมูลเป็นฐานเรียนรู้
  5. กิจกรรมที่ 5 เวทีสรุปโครงการ
  6. กิจกรรมที่ 6 สสส.สนับสนุนเพิ่มเติม
  7. เวที่พัฒนาข้อเสนอโครงการย่อย ปี2565
  8. เปิดบัญชีธนาคาร
  9. เวที่ปฐมนิเทศโครงการย่อย ปี2565
  10. เวที่เรียนรู้การทำจัดรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ
  11. คีย์ข้อมูลรายงานผลเข้าสู่ระบบ
  12. กิจกรรม 1.1 ประชุมคณะทำงาน
  13. กิจกรรม 2.1 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1
  14. กจิกรรม 2.2 ประชุบคณะกรรมการ ครั้งที่ 2
  15. กจิกรรม 2.3 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 3
  16. กิจกรรม 4 เปิดรับสมัครสมาชิกใหม่
  17. กิจกรรม 2.4 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 4
  18. กิจกรรม 3 คณะทำงานสำรวจข้อมูลของผู้ที่สมัครเข้าร่วมโครงการ
  19. กจิกรรม 2.1 การตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก
  20. กิจกรรม 2.2 กิจกรรมอบรมเกษตรกร
  21. กจิกรรม 2.4 จัดทำแผนการผลิตของสมาชิกและกลุ่ม
  22. การประชุมเวที่การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE Node) ครั้งที่ 1
  23. ดอกเบี้ยรับ
  24. กจิกรรม 2.3 อบรมพัฒนา เพื่อยกระดับกลุ่ม โดยการเรียนรู้แลกเปลี่ยนความรู้ พื้นที่ต้นแบบวิสาหกิจชุมชน (สวนนูรีสฟาร์ม ลำใหม่)
  25. ประชุมเวทีการประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา
  26. กิจกรรม 3.3 เวที ติดตามแลกเปลี่ยนเรียนรู้ARE ครั้งที่1
  27. กิจกรรม 3.2 กิจกรรมตรวจแปลง รวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน
  28. กิจกรรม 3.1 ปลูกผักปลอดภัย kick off ปลูกผักปลอดภัย
  29. ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่2
  30. ติดตามผลการผลิต
  31. ดอกเบี้ยรับ
  32. ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่3
  33. เวที่สรุป ปิดโครงการ
  34. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ เวที Node

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มประชากรที่จะเข้าร่วมดำเนินงานในโครงการ 40
ตัวแทนเกษตรกรคนรุ่นใหม่ ปราชณ์ชุมชนและกลุ่มอื่นๆที 10

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกษตรกรคนรุ่นใหม่มีการรวมกลุ่มเพื่อจัดการข้อมูลและวางแผนการผลิต       2. มีทักษะ ความรู้เกี่ยวกับแปลงปลูก ตามความต้องการของตลาด การรับรองมาตรฐาน GAP       3. มีการติดตามผลการดำเนินงานผ่านคณะกรรมการทุกๆ 1 เดือน     4. มีการติดตามประชุมกับสมาชิกเกษตรกรคนรุ่นใหม่ ทุกๆ 4 เดือน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เวที่พัฒนาข้อเสนอโครงการย่อย ปี2565

วันที่ 1 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

12

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1

 

2 0

2. เปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 29 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เปิดบัญชีธนาคาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เปิดบัญชีธนาคาร

 

0 0

3. เวที่ปฐมนิเทศโครงการย่อย ปี2565

วันที่ 5 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1

 

2 0

4. กิจกรรม 1.1 ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 21 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ก่อนงาน ประธานได้ประสานงานให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งทำการประสานแก่ผู้เข้ารวมโครงการที่สนใจในการปลูกผักมาตรฐานปลอดภัย เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการให้แก่สมาชิกผู้สนใจที่เข้าร่วมอบรม ตัวแทนองกรค์ปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวแทนกำนัน ตัวแทนโรงพยาบาล และอีกหลายๆภาคส่วน วันจัดงาน ช่วงแรก ตัวแทนคณะกรรมการได้กล่าวทักทายผู้เข้าร่วมงานจากนั้นทางประธานได้นำเสนอวิสัยทัศ เกษตร 4 ด้าน 4 section success เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้เข้าใจถึงแนวทางของวิสาหกิจเชื่อมโยงกับโครงการส่งเสริมสุขภาพปลูกกินผักปลอดภัยเพื่อความยั่งยืนตำบลบาเจาะ ช่วงที่สอง ทางตัวแทนคณะกรรมการโครงได้นำเสนอแนวทางรูปแบบการปลูกที่จะเข้ารับรองมาตรฐานปลอดภัยซึ่งสามารถแบ่งรูปแบบการบริหารจัดการได้ดังนี้ 1 . การเตรียมวัสดุปลูก 2. การเตรียมแปลง 3. การดูแลผลผลิต 4.การเก็บเกี่ยว 5.การตลาดในชุมชน
ช่วงที่สาม ทางเกษตรอำเภอได้แนะนำข้อระเบียบข้อบังคับในการเตรียมตัวของการเข้ารับรองมาตรฐานปลอดภัยตลอดจนแนวทางการสนับสุนเกษตรกรที่จะเข้าร่วมโครงการในครั้งนี้ ช่วงที่สี่ ตัวแทนหน่อยงานร่วมแลกเปลี่ยนเพื่อให้ทางผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเข้าถึงการสนับสนุนด้านอื่นๆ ช่วงที่ ห้า ผู้เข้าร่วมได้ร่วมแลกเปลี่ยนและนำเสนอแนวทางการทำงานร่วม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัธ์ของกิจกรรม สมาชิกคือเข้าใจ กระบวนการปลูกผักตาม GAP เกิดความตระหนักร่วมในการเริ่มปลูกผักกินเองภายในชุมชนเพื่อให้เกิดผลด้านสุขภาพที่ดี ผลผลิตคือกลุ่มเป้าหมายกี่คน 50 คน ผลที่เกิดขึ้นสมาชิกทำตามกระบวนการและไปดำเนินการเตรียมความพร้อมเพื่อเริ่มในการปลูกตามมาตรฐานปลอดภัยได้ได้

 

7 0

5. เวที่เรียนรู้การทำจัดรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ

วันที่ 21 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1

 

2 0

6. คีย์ข้อมูลรายงานผลเข้าสู่ระบบ

วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รวบรวมข้อมูลคณะทำงาน คณะกรรมการ ใบลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมโครงการ และใบเสร็จทุกกิจกรรมของโครงการ
ดำเนินงานตามโครงการพฤติกรรมการปลูกผัก การบริโภคผัก การใช้สารเคมี ในแต่ละครัวเรือนลงในเว็บไซต์ของโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดแผนงานที่เป็นไปได้มากขึ้นอีกทั้งยังลดความผิดพลาดในการบันทึกข้อมูลของโครงการ

 

1 0

7. กิจกรรม 2.1 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1

วันที่ 10 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมครั้งที่ 1 ประชุมชี้แจง ทำความเข้าใจโครงการ แบ่งบทบาทหน้าที่ พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน รวมถึงรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมการปลูกผัก การบริโภคผัก การใช้สารเคมี ในแต่ละครัวเรือน และด้านการตลาด โดยทางประธานโครงได้ประสานคณะกรรมที่มีศักยาภาพและที่มีบทบาทในการผลักดันในประเด็นผักปลอดภัยในชุมชนมาทำความเข้าใจประชุมชี้แจงถึงเป้าหมายหมายโครงการหลังจากนั้นได้แต่งตั้งคณะกรรมการและแบ่งบทบาทหน้าที่ได้ดังนี้ 1 นายกริยา  มูซอ  ประธานโครงการ 2 นายการิม  มูซอ ผู้ประสานงานเครื่อข่าย  3 นายอับดุลเลาะ  อาลีมามะ หัวหน้าฝ่ายภาคผลิต  4 นางสาวตัสนีม  โตะโยะ หัวหน้าฝ่ายการเงิน  5นางสาวอัสมารอ  กาซอ เลขานุการโครงการ 6 นายอานัส  มูซอ หัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์ 7 นายมาฮามุ  อาลีมามะ หัวหน้าฝ่ายเทคโนโลยีการปลูก 8 นาย มาหามะ เปาะดิง    รองหัวหน้าฝ่ายผลิต
จากนั้นได้ออกแบบเสนอกฏระเบียบการทำงานร่วมและข้อเสนอคุณสมบัติของสมาชิก และวางแผนการลงสำรวจข้อมูลเกษตรกรที่จะเข้าร่วมโครงการ
และวางแผนประสานการจัดการประชุมร่วมกับคู่ค้าที่เป็นหน่วยงานและเอกเอกชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 มีสมาชิกกลุ่มชัดเจน .2 สมาชิกมีความรู้การผลิตผักปลอดภัยและมาตรฐาน GAP 3 เกิดแผนการทำงานเชื่อมโยงร่วมกับภาคีเครือข่ายในการหนุนเสริมความรู้ การหนุนเสริมความรู้การปลูกผักปลอดภัยการผลิตผักตามความต้องการของตลาด และมาตรฐาน GAP ให้กับสมาชิก 4 มีข้อมูลผักที่ตลาดต้องการ ซื้อ มาจากนอกพื้นที่ 5 มีข้อมูลตลาดทั้งใน-นอก พื้นที่ที่ต้องนำเข้าหรือซื้อมาจากนอกพื้นที่ 6 มีแผนการผลิต 7 กติกาในกลุ่ม

 

7 0

8. กจิกรรม 2.2 ประชุบคณะกรรมการ ครั้งที่ 2

วันที่ 11 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทางประธานได้ประสานงานเรียกคณะกรรมการมาร่วมประชุมโดยมีวาระติดตามงานดังนี้ วาระ ติดตามงานความคืบหน้าการลงสำรวจข้อมูลเกษตรกร วาระ ข้อเสนอปัญหาที่คณะกรรมการได้ลงสำรวจ วาระ แนวทางการแก้ปัญหา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากผลการติดตามการลงสำรวจได้ข้อมูลจากการพูดคุยกับเกษตรกรสามารถสรุปได้ดังนี้ 1 การปลูกโดยไม่ใช่สารเคมีป้องกันแมลงสามารถเป็นไปได้ยาก 2 องค์ความรู้และเทคโนโลยี่การปลูกในรูปแบบใหม่เกษตรกรไม่ได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้อย่างถูกต้องเท่าที่ควร 3 การบริหารจัดการการปลูกเพื่อเข้ารับรองมาตรฐานปลอดภัยยุ่งยาก 4 เงินทุนในการใช้ดำเนินการสร้างโรงเรือนค่อนข้างสูง 5 การคัดบรรจุให้ได้มาตรฐาน 6 การตลาดที่ยั่งยืน

 

7 0

9. กจิกรรม 2.3 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 3

วันที่ 18 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประธานได้ประสานงานให้คณะกรรมเร่งสรุปแนวทางในการชักชวนให้สมาชิกในหมู่บ้านเข้ามาประชุม เพื่อดำเนินการสรุปปัญหาที่เกษตรกรไม่มีแรงจูงใจในการปลูกผักกินเองโดยทางคณะกรรมมีข้อสรุปดังนี้ 1ให้ทางคณะกรรมหาพื้นที่การดำเนินกิจกรรมรวมกันโดยใช้คำว่าแปลงรวมเพื่อให้ง่ายและสะดวกที่จะทำการปลูกผักในช่วงเริ่มต้น โดยแปลงรวมนี้จะรวมกันปลูกโดยแบ่งความรับผิดชอบร่วมกันอีกทั้งยังเป็นพื้นที่ทดลองวิจัยให้กลุ่มสมาชิก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดแผนงานที่เป็นไปได้มากขึ้นอีกทั้งยังลดความผิดพลาดในการทดลองช่วงแรกและเกิดความสามัคคีภายใต้งบประมาณที่จำกัด

 

7 0

10. กิจกรรม 2.4 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 4

วันที่ 25 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประธานได้ประสานงานให้คณะกรรมเร่งสรุปแนวทางในการชักชวนให้สมาชิกในหมู่บ้านเข้ามาประชุมเพื่อดำเนินการสรุปปัญหาที่เกษตรกรไม่มีแรงจูงใจในการปลูกผักกินเองโดยทางคณะกรรมมีข้อสรุปดังนี้ 1ให้ทางคณะกรรมหาพื้นที่การดำเนินกิจกรรมรวมกันโดยใช้คำว่าแปลงรวมเพื่อให้ง่ายและสะดวกที่จะทำการปลูกผักในช่วงเริ่มต้นโดยแปลงรวมนี้จะรวมกันปลูก โดยแบ่งความรับผิดชอบร่วมกันอีกทั้งยังเป็นพื้นที่ทดลองวิจัยให้กลุ่มสมาชิกได้เข้ามาทำการปลูกในพื้นที่กลางและแบ่งผลผลิตตามที่ได้ตกลงไว้คือ 50เปอร์เซ็น จากผลผลิตที่ได้กับเจ้าของที่ดินแปลงรวม โดยแปลงรวมจะใช้พื้นที่ของ นายกริยา  มูซอ ประธานโครงการในการเป็นพื้นที่ทดลองปลูกช่วงแรก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากผลการติดตามการลงสำรวจได้ข้อมูลจากการพูดคุยกับเกษตรกรสามารถสรุปได้ดังนี้ 1 การปลูกโดยไม่ใช่สารเคมีป้องกันแมลงสามารถเป็นไปได้ยาก 2 องค์ความรู้และเทคโนโลยี่การปลูกในรูปแบบใหม่เกษตรกรไม่ได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้อย่างถูกต้องเท่าที่ควร 3 การบริหารจัดการการปลูกเพื่อเข้ารับรองมาตรฐานปลอดภัยยุ่งยาก 4 เงินทุนในการใช้ดำเนินการสร้างโรงเรือนค่อนข้างสูง 5 การคัดบรรจุให้ได้มาตรฐาน 6 การตลาดที่ยั่งยืน

 

7 0

11. กิจกรรม 3 คณะทำงานสำรวจข้อมูลของผู้ที่สมัครเข้าร่วมโครงการ

วันที่ 13 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประธานได้ประสานงานให้คณะกรรมสำรวจข้อมูลของผู้ที่สมัครเข้าร่วมโครงการเร่งสรุปแนวทางในการปลูก ให้สมาชิกในหมู่บ้านให้ข้อมูลพื้นที่ ว่าเหมาะสมที่จะปลูกผักชนิดใหน เพื่อดำเนินการสรุปปัญหาที่เกษตรกรมีแรงจูงใจในการปลูกผัก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากผลการติดตามการลงสำรวจได้ข้อมูลจากการพูดคุยกับเกษตรกรสามารถสรุปได้ดังนี้ 1 การปลูกโดยไม่ใช่สารเคมีป้องกันแมลงสามารถเป็นไปได้ยาก 2 องค์ความรู้และเทคโนโลยี่การปลูกในรูปแบบใหม่เกษตรกรไม่ได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้อย่างถูกต้องเท่าที่ควร 3 การบริหารจัดการการปลูกเพื่อเข้ารับรองมาตรฐานปลอดภัยยุ่งยาก 4 เงินทุนในการใช้ดำเนินการสร้างโรงเรือนค่อนข้างสูง 5 การคัดบรรจุให้ได้มาตรฐาน 6 การตลาดที่ยั่งยืน

 

7 0

12. กิจกรรม 4 เปิดรับสมัครสมาชิกใหม่

วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมนี้ทางคณะกรรมได้ประกาศประชาสัมพันธ์ให้ผู้ที่สนใจเข้ามาร่วมสมัครเข้าร่วมโดยวันงานทางประธานและคณะกรรมการได้อบรมสมาชิกที่เข้าร่วมสมัคร เบื้องต้นเรื่องแนวทางการพัฒนาการปลูกผักและเทคโนลียีการปลูกผักเพื่อเป็นจุดริเริ่มและแรงบันดาลใจในการปลูกผักปลอดภัยซึ่งสมาชิก มีความสนใจเป็นอย่างยิ่งในการริเริ่มเพื่อให้ชุมชนคนในชุมชนมีสุขภาพที่ดีผ่านการรับทานพืชผักปลอดภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกผู้เข้าร่วมมีความกระตือรื้อร้นในการให้ความสำคัญกับการเริ่มปลูกผักปลอดภัย

 

50 0

13. กจิกรรม 2.1 การตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก

วันที่ 4 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประธานได้ประสานงานให้คณะกรรมการ ไปตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อเตรียมการปลูกที่ถูกต้องตามขั้นตอน รับรอง GAP
เพื่อดำเนินการสรุปปัญหาที่เกษตรกรมีแรงจูงใจในการปลูกผัก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากผลการติดตามการลงสำรวจได้ข้อมูลจากการพูดคุยกับเกษตรกรสามารถสรุปได้ดังนี้ 1 การปลูกไม่ใช่สารเคมีป้องกันแมลง 2 จัดการการปลูกเพื่อเข้ารับรองมาตรฐานปลอดภัย GAP

 

10 0

14. กิจกรรม 2.2 กิจกรรมอบรมเกษตรกร

วันที่ 6 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่เกษตรอำเภอ ร่วมแลกเปลี่ยนให้ความรู้เตรียมความพร้อมเกษตร เรื่องมาตรฐานปลอดภัย GAP
และสร้างเครือข่ายทีมเห็ดและผักปลอดภัย เพื่อส่งเข้า 3ร. โรงเรียน โรงพยาบาล ร้านอาหารในพื้นที่อำเภอ บันนังสตา และอำเภอเมืองยะลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกผู้เข้าร่วมมีความกระตือรื้อร้นในการให้ความสำคัญกับการเริ่มปลูกผักปลอดภัย เพื่อส่งเข้า 3ร. โรงเรียน โรงพยาบาล ร้านอาหารในพื้นที่อำเภอ บันนังสตา และอำเภอเมืองยะลา

 

50 0

15. กจิกรรม 2.4 จัดทำแผนการผลิตของสมาชิกและกลุ่ม

วันที่ 8 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทางประธานได้ประสานงานเรียกคณะกรรมการมาร่วมประชุมโดยมีวาระติดตามจัดทำแผนการผลิตของสมาชิกในกลุ่มดังนี้ วาระ ติดตามการลงแปลงผัก วาระ ข้อเสนอปัญหาการปลูกผัก วาระ แนวทางการแก้ปัญหา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากผลการติดตามการลงสำรวจได้ข้อมูลจากการพูดคุยกับเกษตรกรสามารถสรุปได้ดังนี้ 1 การปลูกโดยไม่ใช่สารเคมีป้องกันแมลง 2 องค์ความรู้และเทคโนโลยี่การปลูกในรูปแบบใหม่ 3 การบริหารจัดการการปลูกเพื่อเข้ารับรองมาตรฐานปลอดภัย 4 การคัดบรรจุให้ได้มาตรฐาน 5 การตลาดที่ยั่งยืน

 

50 0

16. กจิกรรม 2.3 อบรมพัฒนา เพื่อยกระดับกลุ่ม โดยการเรียนรู้แลกเปลี่ยนความรู้ พื้นที่ต้นแบบวิสาหกิจชุมชน (สวนนูรีสฟาร์ม ลำใหม่)

วันที่ 8 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะกรรมการและสมาชิก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ศึกษาข้อมู้ล

 

50 0

17. การประชุมเวที่การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE Node) ครั้งที่ 1

วันที่ 17 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเวทีการประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE Node)ครั้งที่1 โดยให้ส่งข้อมูลเพื่อการนำเสนอของโครงการย่อย (สไลค์ สรุปการดำเนินงาน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การประชุมเวทีการประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE Node)ครั้งที่1 วันที่17 กันยายน 2565 ณ ห้องประชุมปาร์ควิว จังหวัด ยะลา โดยให้ส่งข้อมูลเพื่อการนำเสนอของโครงการย่อย (สไลค์ สรุปการดำเนินงาน)

 

2 0

18. ดอกเบี้ยรับ

วันที่ 24 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดอกเบี้ยรับ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดอกเบี้ยรับ

 

0 0

19. ประชุมเวทีการประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา

วันที่ 22 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวที่ติดตามประเมฺินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย วันที่22 ตุลาคม2565 ณ.ห้องวังแก้ว โรงแรมยะลาแกรนค์พาเลซ โดยเรียนรู้ทบทวนในเรื่องของการศีย์บันทึกข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เวที่ติดตามประเมฺินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย วันที่22 ตุลาคม2565 ณ.ห้องวังแก้ว โรงแรมยะลาแกรนค์พาเลซ โดยเรียนรู้ทบทวนในเรื่องของการศีย์บันทึกข้อมูลรายงานผลลัพธ์และ การจัดการโดยพีเลียงได้ดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน เพื่อเตรียมการเบิกงบประมาณในงวดที่สองต่อไป

 

2 0

20. กิจกรรม 3.3 เวที ติดตามแลกเปลี่ยนเรียนรู้ARE ครั้งที่1

วันที่ 5 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนคณะกรรมการได้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสะท้อนปัญหาและแลกเปลี่ยนพัฒนาการของการปลูกผักปลอดภัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการได้เข้าใจปัญหาในกระบวนการทำงานมากขึ้น และในคณะกรรมการเกิดความเห็นอกเห็นใจคณะกรรมการและสมาชิกมากขึ้น

 

50 0

21. กิจกรรม 3.2 กิจกรรมตรวจแปลง รวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทางคณะกรรมการได้ประชุมการตรวจแปลง และรวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐานโดยสามมารถที่จะพิจรณาตรวจแปลงทั้งหมดสามแปลงคือแปลงของ นายอับดุลเลาะ  อาลีมามะ แปลงของนายกริยา  มูซอ และนางสาวอัสมารอ  กาซอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เข้าใจถึงการเตรียมข้อมูลเอกสารเพื่อการเตรียมมาตรฐาน GAP

 

10 0

22. กิจกรรม 3.1 ปลูกผักปลอดภัย kick off ปลูกผักปลอดภัย

วันที่ 2 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตามที่คณะกรรมการได้จัดประชุมเพื่อที่จะดำเนินการปลูกผักปลอดภัยโดยได้ทำแปลงร่วมกันโดยเป็นแปลงกลาง 3 แปลงในการดำเนินการกิจกรรมเพื่อเป็นต้นแบบและแหล่งเรียนรู้จากที่ได้เรียนรู้มาจากการอบรมเชิงปฏิบัติการเทคโนโลยีการปลูกผักปลอดภัยที่ นูริสฟาร์ม ซึ่งได้แบ่งการจัดกิจกรรมดังนี้ -ประชุมทำความเข้าใจในการจัดกิจกรรม -แบ่งกลุ่มลงแปลงทั้งสามแปลง -เตรียมแปลง -ทำสารชีวภัณและทำปุ๋ยหมัก -เพาะต้นกล้า -ลงแปลงปลูก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-งานคณะกรรมการได้เห็นถึงกระบวนการทำงานในหน้างานว่าจำเป็นต้องมีเทคนิคและทักษะพอสมควร -การแบ่งงานหรือวางแผนก่อนที่จะลงไปปฏิบัติมีความสำคัญ -การติดตามและประเมิณผลเป็นกลไกสำคัญที่ทำให้กระบวนการทำงานประสบความสำเร็จ

 

50 0

23. ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่2

วันที่ 17 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทางคณะกรรมการได้ประเมิณสรุปกิจกรรมติดตามผลการผลิตที่ทางคณะกรรมการได้ลงพื้นที่่เพื่อประเมิณติดตามและสนับสนุนกิจกรรมแปลงกลางทั้งสามแปลง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เรียนรู้เครื่องมือในการติดตามประเมิณผลที่สอดคล้องกับผลปฏิบัติ

 

50 0

24. ติดตามผลการผลิต

วันที่ 18 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

หลังจากที่คณะกรรมการและสมาชิกได้ร่วมจัดกิจกรรม kick off ปลูกผักปลอดภัย ทางคณะกรรมการได้ร่วมจัดกิจกรรมติดตามผลการผลิตและจัดทำข้อมูลฐานการเรียนรู้เพื่อถอดบทเรียนและติดตามผลการปลูกให้เป็นฐานข้อมูลของกลุ่มต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ได้เรียนรู้ประสบการณ์การถอดบทเรียนของคนกลุ่มใหญ่ที่มีทั้งสมาชิกและคณะกรรม -ได้เห็นมุมมองของผู้ที่เพิ่งลองฝึกปลูกที่มีความตื่นเต้น กับมุมมองของผู้ที่ปลูกจนชำนาญ -ได้เห็นการหนุนเสริมของเครือข่ายคณะกรรมการและสมาชิก

 

50 0

25. ดอกเบี้ยรับ

วันที่ 25 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

5,600

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

5,600

 

0 0

26. ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่3

วันที่ 30 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทางคณะกรรมการได้จัดประชุมเพื่อเตรียมสรุปและจัดเวทีสรุป ปิดโครงการโดยการจัดให้มีการนำเสนอปัญหาที่ยังติดขัดและร่วมกันหาแนวทาง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ถอดบทเรียนกระบวนการคิดและแนวทางของสมาชิกและการสร้างกระบวนการติดจะส่งผลดีต่อผลลัพเสมอ

 

50 0

27. เวที่สรุป ปิดโครงการ

วันที่ 31 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมในครั้งนี้ได้จัดเพื่อสรุปการดำเนินงานตลอดทั้งปีและประเมิณแนวทางที่จะขับเคลื่อนให้กลุ่มผักปลอดภัยให้ต่อเนื่องและแข็งแรงมากขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เห็นถึงวิธีคิดที่เปลี่ยนไปหลังจากที่ทุกคนได้ลงมือปฏิบัติ และได้เห็นการนำเสนอของเครือข่ายสมาชิก

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 1 มีคณะกรรมการกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 มีโครงสร้างคระกรรมการและหน้าที่ชัดเจน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.2 มีทักษะความรู้การวางแผนการผลิตตามความต้องการของตลาดการรับรองมาตรฐานGAP
100.00

 

2 เพื่อให้เกษตรกรสามารถบริโภคและจำหน่ายผักที่ปลอดภัย เพิ่มรายได้ครัวเรือนได้
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 2 มีวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรที่เข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 มีสมาชิกกลุ่มชัดเจน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 สมาชิกมีความรู้การผลิตผักปลอดภัยและมาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.3 เกิดแผนการทำงานเชื่อมโยงร่วมกับภาคีเครือข่ายในการหนุนเสริมความรู้ การหนุนเสริมความรู้การปลูกผักปลอดภัยการผลิตผักตามความต้องการของตลาด และมาตรฐาน GAP ให้กับสมาชิก ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.4 มีข้อมูลผักที่ตลาดต้องการ ซื้อ มาจากนอกพื้นที่ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.5 มีข้อมูลตลาดทั้งใน-นอก พื้นที่ที่ต้องนำเข้าหรือซื้อมาจากนอกพื้นที่ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.6 มีแผนการผลิต ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.7 กติกาในกลุ่ม
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มประชากรที่จะเข้าร่วมดำเนินงานในโครงการ 40
ตัวแทนเกษตรกรคนรุ่นใหม่ ปราชณ์ชุมชนและกลุ่มอื่นๆที 10

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง (2) เพื่อให้เกษตรกรสามารถบริโภคและจำหน่ายผักที่ปลอดภัย เพิ่มรายได้ครัวเรือนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการและรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ (2) กิจกรรมที่ 2  อบรมและวางแผนการผลิตตามมาตรฐาน GAP (3) กิจกรรมที่ 3 kick off ปลูกผักปลอดภัย (4) 4. กิจกรรมที่ 4 ติดตามผลการผลิตและจัดทำข้อมูลเป็นฐานเรียนรู้ (5) กิจกรรมที่ 5 เวทีสรุปโครงการ (6) กิจกรรมที่ 6 สสส.สนับสนุนเพิ่มเติม (7) เวที่พัฒนาข้อเสนอโครงการย่อย ปี2565 (8) เปิดบัญชีธนาคาร (9) เวที่ปฐมนิเทศโครงการย่อย ปี2565 (10) เวที่เรียนรู้การทำจัดรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ (11) คีย์ข้อมูลรายงานผลเข้าสู่ระบบ (12) กิจกรรม 1.1 ประชุมคณะทำงาน (13) กิจกรรม 2.1 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1 (14) กจิกรรม 2.2 ประชุบคณะกรรมการ ครั้งที่ 2 (15) กจิกรรม 2.3 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 3 (16) กิจกรรม 4 เปิดรับสมัครสมาชิกใหม่ (17) กิจกรรม 2.4 ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 4 (18) กิจกรรม 3 คณะทำงานสำรวจข้อมูลของผู้ที่สมัครเข้าร่วมโครงการ (19) กจิกรรม 2.1 การตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก (20) กิจกรรม 2.2 กิจกรรมอบรมเกษตรกร (21) กจิกรรม 2.4 จัดทำแผนการผลิตของสมาชิกและกลุ่ม (22) การประชุมเวที่การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE Node) ครั้งที่ 1 (23) ดอกเบี้ยรับ (24) กจิกรรม 2.3 อบรมพัฒนา เพื่อยกระดับกลุ่ม โดยการเรียนรู้แลกเปลี่ยนความรู้ พื้นที่ต้นแบบวิสาหกิจชุมชน (สวนนูรีสฟาร์ม ลำใหม่) (25) ประชุมเวทีการประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (26) กิจกรรม 3.3 เวที ติดตามแลกเปลี่ยนเรียนรู้ARE ครั้งที่1 (27) กิจกรรม 3.2 กิจกรรมตรวจแปลง รวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน (28) กิจกรรม 3.1 ปลูกผักปลอดภัย kick off ปลูกผักปลอดภัย (29) ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่2 (30) ติดตามผลการผลิต (31) ดอกเบี้ยรับ (32) ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่3 (33) เวที่สรุป ปิดโครงการ (34) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ เวที Node

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมสุขภาพปลูก กิน ผักปลอดภัยเพื่อความยั่งยืน ตำบลบาเจาะ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-0002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกริยา มูซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด