ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อการบริหารจัดการโครงการข้อที่ 3 ( งบ 10,000 ) ตัวชี้วัด : 1-โครงการสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2-การรายงานผลเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด 3-แกนนำขณะทำงานมีศักยภาพสามรถดำเนินกิจการได้อย่างสำเร็จ |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อการบริหารจัดการโครงการข้อที่ 3 ( งบ 10,000 )
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ) (2) ผลลัพธ์ที่ 1 คณะกรรมการ และกลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง (3) ผลลัพธ์ที่ 2 มีกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง (4) ผลลัพธ์ที่ 3 มีการติดตาม ประเมินผล ร่วมกับภาคีอย่างต่อเนื่อง (5) ผลลัพธ์ที่ 4 ปลูกผักปลอดภัยได้รับการรับรองมาตรฐาน (6) ผลลัพธ์ที่ 5 มีพื้นที่การปลูกผักปลอดภัยเพิ่มขึ้น (7) ปฐมนิเทศ (8) อบรม แนวทางรายงานข้อมูล กิจกรรม/ผลลัพธ์ ผ่านระบบ (9) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (10) ประชุมคณะกรรมการ สมาชิกและผู้ประสานงานเพื่อชี้แจงเป้าหมายการดำเนินโครงการ เพื่อให้ขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน และแต่งตั้งคณะทำงาน จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน (11) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกกลุ่มเป็นผู้ตรวจแปลงปลูกผักปลอดภัยมาตรฐาน GAP จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน (12) ประชุมคณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกและผู้ประสานงานวางแผนการดำเนินงาน ข้อตกลงกติกากลุ่มการสำรวจข้อมูลพื้นฐานเกษตรกร (แบบฟอร์มของหน่วยจัดการ) การบันทึกข้อมูล แนวทางการรับสมาชิกใหม่ จำนวน 12 คน ระยะเวลา 1 วัน (13) ประชุมคณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกและผู้ประสานงานติดตามความก้าวหน้าระหว่างดำเนินการกิจกรรมโครงการ จำนวน 20 คน ระยะเวลา 1 วัน (14) ประชุมคณะกรรมการ คณะทำงาน สมาชิกและผู้ประสานงานสรุปผลการดำเนินงาน จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน (15) พัฒนาศักยภาพสมาชิกกลุ่ม คณะทำงาน กรรมการ ผู้ประสานงานศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบการจัดการปลูกผักปลอดภัยในพื้นที่จังหวัดยะลา จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน (16) พัฒนาศักยภาพสมาชิกกลุ่ม คณะทำงาน ผู้ประสานงานเรื่องกระบวนการปลูกผักปลอดภัยมาตรฐาน GAP จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน (17) ร่วมเวที “kick off ปลูกผักปลอดภัย” ณ สวนนูริสฟาร์ม ม.5 ต.ลำใหม่ อ.เมือง จ.ยะลา จำนวน 45 คน ระยเวลา 1 วัน (18) ทีมผู้ตรวจแปลงและภาคีที่เกี่ยวข้องลงพื้นที่การตรวจแปลงผักปลอดภัยของสมาชิกกลุ่ม และรวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตรฐาน 4 ครั้ง ๆ ละ 1 วัน จำนวน 10 คน (19) ร่วมเวที ติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพี่เลี้ยง (ARE ครั้งที่ 2 ) (20) การเก็บรวบรวมข้อมูล การบันทึกข้อมูล รายงานผลการดำเนินการโครงการระบบออนไลน์ 3 ครั้ง (21) ร่วมเวที ติดตามประเมินผลและพัฒนากับพี่เลี้ยง (ARE ครั้งที่ 3 ) (22) เวทีสรุปปิดโครงการ คืนข้อมูลให้ชุมชน มอบใบรับรองแก่สมาชิกกลุ่มปลูกผักปลอดภัยผ่านมาตรฐาน GAP จำนวน 45 คน ระยะเวลา 1 วัน (23) ร่วมเวทีติดตามแลกเปลี่ยนรู้กับพี่เลี้ยง( ARE) ครั้งที่ 1 จำนวน 9 คน ระยะเวลา 1 วัน (24) ศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของชุมชนทุ่งเหรียง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...