แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ ลดอุบัติเหตุทางท้องถนน ตำบลตลิ่งชัน

ชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

รหัสโครงการ 65-01-012 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน เมษายน 2565 ถึงเดือน กันยายน 2565

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าจัดทำป้ายโครงการ

วันที่ 1 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-ผลผลิตได้ไวนิลโครงการลดอุบัติเหตุทางท้องถนนตำบลตลิ่งชัน 2 ผืน
-ผลลัพธ์ ระดมความคิดออกแบบไวนิล โดยคณะทำงานลดอุบัติเหตุทางท้องถนนตำบลตลิ่งชัน จำนวน 2 ผืน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ออกแบบป้ายโครงการลดอุบัติเหตุทางท้องถนนตำบลตลิ่งชัน

 

15 0

2. กิจกรรมเวทีประชุมเชิงปฎิบัติการ การพัฒฯาข้อเสนอโครงการย่อย

วันที่ 20 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เข้าร่วมประชุมเชิงปฎิบัติการ การพัฒฯาข้อเสนอโครงการย่อย วันที่ 12-13 มี.ค.65 โดยเบิกจ่ายค่าเดินทาง 20 เม.ย.65

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมเชิงปฎิบัติการ การพัฒฯาข้อเสนอโครงการย่อย

 

1 0

3. เปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 29 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เปิดบัญชีธนาคาร

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เปิดบัญชีธนาคาร

 

0 0

4. เวทีปฐมนิเทศโครงการย่อยฯ และทำข้อสัญญา (TOR) จังหวัดยะลา

วันที่ 5 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ได้เซ็นสัญญาโครงการย่อย ลดอุบัติเหตุบนท้องถนน ร่วมกับหน่วยงานภาคส่วน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

แกนนำโครงการย่อย จำนวน 2 คน ได้แก่ น.ส.รูฮาณี ยายา และน.ส.เจะแย แวนิซอ ได้ร่วมกิจกรมมเวทีปฐมนิเทศโครงการย่อย วันที่ 5 พ.ค. 2565 ณ ห้องประชุม สสจ.ยะลา ได้รับรู้และเข้าใจหลักการ แนวทางการดำเนินโครงการ สามารถวางแผนดำเนินการ Time Line เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดผลลัพธ์ต่อไป

 

2 0

5. เวทีเรียนรู้การรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ

วันที่ 21 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงานโครงการย่อย เกิดความเข้าใจ สามารถเข้าระบบบันทึกข้อมูลแผนกิจกรรม/แผนงบประมาณได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

พี่เลี้ยงโครงการย่อย จำนวน 2 คน ได้แก่ นางรออิมะ ดอกา และ น.ส.รอฮานี ดือเร๊ะ ได้อบรมและเรียนรู้การรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบวันที่ 21 พ.ค. 2565 ณ สำนักวิทยบริการ ชั้น ณ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี หมายเหตุ ใช้ระยะทางขาไป 50 กิโล  ขากลับ 50 กิโล  จากบ้านพักบันนังสตา ถึง  มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

 

2 0

6. ประชุมจัดตั้งคณะทำงาน ครั้งที่ 1

วันที่ 28 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

การอภิปราย  สถานการณ์อุบัติเหตุตำบลตลิ่งชัน
        จากสถิติการเกิดอุบัติเหตุของอำเภอบันนังสตาในปี 2564 ย้อนหลัง พบว่า ตำบลตลิ่งชัน มีอัตราการเกิดอุบัติเหตุสูงสุด จำนวน 105 ครั้ง เสียชีวิต 12 คน บาดเจ็บจำนวน 200 คน หากวิเคราะห์ตามเขตพื้นที่พบว่าตำบลตลิ่งชัน  4 หมู่บ้านยังเป็นพื้นที่ที่มีอัตราการเกิดอุบัติเหตุสูงสุด คือ อุบัติเหตุเกิดขึ้น 36 ครั้ง เสียชีวิต 4 คน บาดเจ็บ  จำนวน 50 คน ปี พ.ศ.2564  (คณะทำงานศูนย์กู้ภัยตำบลตลิ่งชัน ณ 31 มีนาคม 2565 )  ผู้รับผิดชอบได้ชี้แจงแนวการดำเนินงานและวัตถุประสงค์ 2 ข้อ ดังนี้     1) เพื่อส่งเสริมให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนเรื่องป้องกันอุบัติเหตุทางถนนที่เข้มแข็งผลลัพธ์         ที่คาดหวัง คือ เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ 2) เพื่อแก้ปัญหาจุดเสี่ยง และสภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยง ผลลัพธ์ที่คาดหวัง คือ
    ประชาชนมีความรู้และเกิดความตระหนักเพื่อลดอุบัติเหตุทางท้องถนน  มติในที่ประชุม : รับทราบ     ผู้รับผิดชอบโครงการได้แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ จุดเสี่ยงในพื้นที่ ในการเฝ้าระวังอุบัติเหตุ
    มอบหมายหน้าที่                   -ม.1 ข้างตลาดนัด /ตรงข้ามตลาดนัดตะบิงติงงี ทางเข้าแยก  ไปศรีสาคร จ.นราธิวาส/สามแยก                   ก่อนถึงทางไปตลาดนัด ตะบิงติงงี    นางสาวเจะแย  แวนิซอ      รับผิดชอบพื้นที่จุดเสี่ยง                   - ม.8 หน้า รพ.สต.ตะบิงติงงี          นางหัสหม๊ะ กาลมิตรกาญจน์ รับผิดชอบพื้นที่จุดเสี่ยง                   - ม.11 หน้าบ้านแกนนำ อุบัติเหตุ    นางสาวฮายาตี  ดายะ        รับผิดชอบพื้นที่จุดเสี่ยง                   - ม.13 เส้นทางหลัก บันนังสตา-ยะลา ย้อนศรบ่อยครั้ง นางหายาตี ยีเต๊ะ  รับผิดชอบพื้นที่จุดเสี่ยง         มติในที่ประชุม : รับทราบ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมจัดตั้งคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 1 จำนวน 25 คน วันที่ 16 เมษายน 2565 ณ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี อภิปรายสถานการณ์การเกิดอุบัติเหตุย้อนหลัง ในพื้นที่ ตำบลตลิ่งชัน

 

25 0

7. ประชุมวางแผนการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล อุบัติเหตุและจุดเสี่ยง

วันที่ 3 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีคณะทำงาน 25 คน แบ่งหน้าที่รับผิดชอบตามพื้นที่จุดเสี่ยง ได้รับทราบวิธีการเก็บข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลได้ถูกต้อง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะทำงาน ประชุมวางแผนการเก็บข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุ จำนวน 25 คน วันที่ 3 มิถุนายน 2565 ณ รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี โดยมีวิทยากร นางสีตีนุร อาแซ นำเสนอ เรื่อง การเก็บข้อมูลอุบัติเหตุบนท้องถนน และการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหา ลดอุบัติเหตุใน ตำบลตลิ่งชัน

 

25 0

8. ประชุมวางแผนการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล อุบัติเหตุและจุดเสี่ยง

วันที่ 4 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงานได้วางแผนเก็บข้อมูลในพื้นที่ตำบลตลิ่งชัน โดยแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ลงพื้นที่ 4 หมู่บ้าน ในเขตพื้นที่ตำบลตลิ่งชัน ได้แก่ ม.1 บ้านตะบิงติงงี ม.8 บ้านจาเราะปีแซคละ ม.11 บ้านยีลาปัน และ ม.13 บ้านปาลอบาตะ เพื่อหาจุดเสี่ยงเกิดอุบัติเหตุ ต่อไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุม เปิดโครงการ และแต่งตั้งคณะทำงาน จำนวน 25 วันที่ 4 มิถุนายน 2565 ณ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านตะบิงติงงี เพื่อวางแผนลงพื้นที่เก็บข้อมูลกการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ตำบลตลิ่งชัน

 

25 0

9. สรุปข้อมูลอุบัติเหตุ และชี้จุดเสี่ยงหาแนวทางการแก้ไข

วันที่ 8 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เสนอแนวทางการดำเนินงานในพื้นที่ตำบลตลิ่งชัน
-พบแนวทางการแก้ไข เสนอโดยคณะทำงาน -กำนันได้เสนอในเวทีสภาสันติสุข เรื่องประเด็นจุดเสี่ยงที่เป็นปัญหา มีขนาดความรุนแรง ส่งผลต่อประชาชนในพื้นที่ -ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 25 คน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ดำเนินงาน คณะกรรมการร่วมกับภาคีร่วมดำเนินการ

 

25 0

10. จัดทำแผนการดำเนินการดำเนินงานขับเคลื่อน โดยมีเวทีขับเคลื่อนระหว่างเครือข่าย

วันที่ 11 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงาน 25 คน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะทำงาน 25 คน

 

25 0

11. ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล รายงานการเงิน ครั้งที่ 1

วันที่ 12 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ความก้าวหน้าบันทึกข้อมูล

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล รายงานการเงิน ครั้งที่ 1

 

3 0

12. เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฎกติกา ครั้งที่ 1

วันที่ 24 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เกิดข้อกำหนดกติกาได้รับจากการอบรมฯ และคณะกรรมการ -สนับสนุนศูนย์แจ้งข่าวอุบัติเหตุตลิ่งชัน และได้ทราบข้อมูลพร้อมประชาสัมพันธ์ศูนย์ฯดังกล่าว

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะกรรมการและภาคีร่วมดำเนินการ บูรณาการกับกิจกรรม อบรมให้ความรู้กฏจราจร/ขับขี่ปลอดภัย

 

25 0

13. อบรมให้ความรู้เรื่องกฎจราจร/การขับขี่อย่างปลอดภัย

วันที่ 3 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการอบรม
ศปถ.ตำบลตลิ่งชันร่วมกับคณะทำงานหลักร่วมกันจัดอบรมให้ความรู้เรื่องอุบัติเหตุ/กฏจราจร สร้างความปลอดภัยทางถนน
โดยมีท่านรองนายก อบต.ตลิ่งชัน (ผู้แทนจากนายก )ร่วมเป็นประธานในกิจกรรมดังกล่าวฯ มี ปภ.ตำบล /อบต.
กู้ชีพ-กู้ภัยEMS , RMS ผู้ใหญ่บ้านและเเต่ละหมู่บ้านที่เป็นเขตรับผิดชอบจุดเสี่ยง ตำบลตลิ่งชัน พูดคุยเรื่องสถานการณ์อุบัติเหตุ/การได้รับแจ้งข่าว อุบัติเหตุ และ ทีม อบต.ปภ.สธ.ตลิ่งชัน ประชาสัมพันธ์เรื่องศูนย์รับแจ้งข่าวอุบัติเหตุตลิ่งชัน 24.ชั่วโมง ประเด็นที่ คกก.ศปถ.ตำบล เสนอในเวที สภาสันติสุขอำเภอ เรื่องการตัดทางเลี้ยวกลับรถให้สั้นลง ซึ่งถูกเสนอไปแล้วยังไม่ได้รับการถูกพิจารณาแก้ไข ทั้งนี้
คณะทำงานโครงการย่อยได้ส่งต่อจุดเสี่ยงให้ ปภ.สธ.อบต.ตลิ่งชัน รับทราบปัญหาแล้ว และจะทำบันทึกส่งต่อจุดเสี่ยงส่งต่อ ปภ.จังหวัด เพื่อเข้าแผนในการวางแผน หาแนวทางแก้ไขต่อไป.   ทั้งนี้ คกก.ได้เชิญ วิทยากรชำนาญการ จาก สสจ.ยะลา มีผู้เข้าร่วมการอบรม นักเรียนโรงเรียน บ้านตะบิงติงงี เยาวชน รวม 100 คน ค้นหาตัวแทนนักเรียนในกิจกรรมครั้งนี้ได้นักเรียน จำนวน 5 คน เป็นตัวแทนนักเรียนเป็นตัวอย่างการมีวินัยในการใช้รถบนท้องถนนขับขี่ปลอดภัย -จัดกลุ่ม5กลุ่มย่อย เพื่อร่วมกันหาวิธีในการเฝ้าระวังอุบัติเหตุสร้างความปลอดภัยทางถนน บริเวณจุดเสี่ยงเขตโรงเรียน.

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ดำเนินการตามขั้นตอน มีภาคีร่วมดำเนินการร่วมเป็นทีมในการดำเนินกิจกรรม คกก.รวม 25 คน

 

100 0

14. ประชุมติดตามความคืบหน้า

วันที่ 6 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เป้าหมายคณะทำงาน 15 คน ร่วมกิจกรรมรณรงค์ขับขี่ปลอดภัย อุบัติเหตุลดลง ความปลอดภัยเพิ่มขึ้น
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคณะทำงาน 25 คน ร่วมกิจกรรมรณรงค์ขับขี่ปลอดภัย อุบัติเหตุลดลง ความปลอดภัยเพิ่มขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะทำงาน 25 คน ร่วมกิจกรรมรณรงค์ขับขี่ปลอดภัย อุบัติเหตุลดลง ความปลอดภัยเพิ่มขึ้น

 

25 0

15. เวทีพูดคุยผู้ประกอบการที่มีส่วนในการเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนน ครั้งที่ 1

วันที่ 2 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงาน ตามบรรไดผลลัพธ์ ขั้นที่ 1

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงาน ตามบรรไดผลลัพธ์ ขั้นที่ 1 ติดตามรายงานหลักฐานการเบิก-จ่ายโครงการ

 

25 0

16. เวทีติดตามประเมินผลการเรียนรู้และพัฒนาระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่1

วันที่ 17 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สรุปผลลัพธ์บันไดขั้นที่ 2 กำลังดำเนินการบันไดผลลัพธ์ขั้นที่ 3

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

แกนนำโครงการย่อย จำนวน 3 คน ได้แก่ น.ส.รูฮาณี ยายา น.ส.เจะแย แวนิซอ และน.ส.วายีฮะห์ มะยิ ได้ร่วมกิจกรมมวิทีติดตามประเมินผลการเรียนรู้ และพัฒนาระดับหน่วยจัดการ วันที่ 17 กันยายน 2565 ณ ห้องประชุมพิมพ์มาดา โรงแรมปาร์ควิวยะลา ได้นำเสนอผลการดำเนินงานโครงการ ลดอุบัติทางท้องถนน

 

3 0

17. ดอกเบี้ยรับ

วันที่ 24 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ดอกเบี้ยรับ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ดอกเบี้ยรับ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 34 17                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 104,875.00 54,677.82                  
คุณภาพกิจกรรม 68                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. ปรับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลง เพื่อลดอุบัติเหตุ ( 1 ต.ค. 2565 - 31 มี.ค. 2566 )
  2. เวทีสันติสุข/เวทีประชาธิปไตย ( 20 ต.ค. 2565 )
  3. เวทีติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย ( 22 ต.ค. 2565 )
  4. เรียนรู้การจัดทำสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์ ( 6 พ.ย. 2565 )
  5. กิจกรรม สำหรับผู้ปฏิบัติงาน จดบันทึกข้อมูลการเฝ้าระวังจุดเสี่ยง ( 26 พ.ย. 2565 - 31 ธ.ค. 2565 )
  6. ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล รายงานการเงิน ครั้งที่ 2 ( 26 พ.ย. 2565 )
  7. เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฏกติกา ครั้งที่ 2 ใช้ข้อมูลทำแผนเฝ้าระวัง 7 วันอันตราย ( 17 ธ.ค. 2565 - 18 ธ.ค. 2565 )
  8. ปรับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลง เพื่อลดอุบัติเหตุ ( 29 ธ.ค. 2565 - 31 ธ.ค. 2565 )
  9. เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฏกติกา ครั้งที่ 3 ( 30 ธ.ค. 2565 - 31 ธ.ค. 2565 )
  10. การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา จัดเวทีพุดคุยผู้ประกอบการที่มีส่วนในการเกิดอุบัติหตุทางท้องถนน ครั้งที่ 2 ( 1 ม.ค. 2566 )
  11. จัดเวทีเพื่อให้คณะทำงานและสมาชิกถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 3 ( 18 ม.ค. 2566 )
  12. คืนข้อมูลชุมชน ( 1 ก.พ. 2566 - 30 มี.ค. 2566 )
  13. จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้ว ( 3 ก.พ. 2566 )
  14. จัดทำป้ายไวนิลรณรงค์ ข้างทาง ( 3 ก.พ. 2566 )
  15. เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่2 ( 4 ก.พ. 2566 )

(................................)
นางสาวรูฮาณี ยายา
ผู้รับผิดชอบโครงการ