stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ลดอุบัติเหตุทางท้องถนน ตำบลตลิ่งชัน
ภายใต้โครงการ Node Flagship จังหวัดยะลา ปี 2565
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดยะลา
รหัสโครงการ 65-01-012
วันที่อนุมัติ 1 เมษายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2565 - 31 มีนาคม 2566
งบประมาณ 104,875.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ นางสาวรูฮาณี ยายา
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวรูฮาณี ยายา
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0892949409
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ junee9409@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวรอฮานี ดือเระ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2565 30 ก.ย. 2565 1 เม.ย. 2565 30 ก.ย. 2565 41,950.00
2 1 ต.ค. 2565 28 ก.พ. 2566 1 ต.ค. 2565 28 ก.พ. 2566 52,437.50
3 1 มี.ค. 2566 31 มี.ค. 2566 1 มี.ค. 2566 31 มี.ค. 2566 10,487.50
รวมงบประมาณ 104,875.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานอุบัติเหตุ
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 สืบเนื่องจากองค์การสหประชาชาติได้เล็งเห็นปัญหาอุบัติเหตุทางท้องถนนว่าเป็นปัญหาสำคัญและ เป็นสาเหตุของการสูญเสีย บาดเจ็บและเสียชีวิตของประชาชน จึงได้มีมติร่วมกันให้เป็นวาระสำคัญที่ทุกประเทศจะต้องเร่งดำเนินการแก้ไข โดยประกาศเป็น “ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน”
100.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สาเหตุหลักในการเกิดอุบัติเหตุของตำบลตลิ่งชัน จากปัจจัยด้านคน โดยมีพฤติกรรมเสี่ยงในการใช้รถใช้ถนนของผู้ขับขี่และผู้ใช้เส้นทาง ความประมาท หลับใน ง่วงนอน ความสามารถของผู้ขับขี่ลดลง เนื่องจากสภาพร่างกายไม่พร้อม การไม่เคารพกฎจราจร เนื่องจาก เส้นทางกลับรถไกลกว่า และการไม่ใช้อุปกรณ์นิรภัยด้านยานพาหนะ ยังพบว่า จุดเสี่ยง จุดอันตราย จุดที่เกิดเหตุบ่อยยังไม่ได้รับการแก้ไข ดังนั้นทางตำบลตลิ่งชัน มุ่งหวังเพิ่มประสิทธิภาพความครอบคลุม การลดอุบัติเหตุการใช้รถที่เพิ่มมากขึ้น และจากประชาชนขาดความรู้และไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบจราจรอย่างแท้จริง จึงจัดทำโครงการลดอุบัติเหตุทางท้องถนน ตำบลตลิ่งชันโดยมีวัตถุประสงค์ ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดระเบียบการจราจรในชุมชนและเกิดการแก้ไขจุดเสี่ยงของชุมชนที่เกิดอุบัติเหตุและเสียชีวิตบ่อยครั้ง รวมถึงสมาชิกในชุมชนมีการปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกันในการแก้ไขจุดเสี่ยง และพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับจุดเสี่ยง เพื่อเป็นการลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุ เพื่อลดอุบัติเหตุทางท้องถนนบ้านตะบิงติงงี ตำบลตลิ่งชัน อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

สอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัดยะลา

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ตัวชี้วัดที่ 1 ลดอุบัติเหตุทางท้องถนน

ลดอุบัติเหตุทางถนน ร้อยละ 50

25.00
2 ตัวชี้วัดที่ 2 ลดอัตราการตาย/เสียชีวิต

1.จุดเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับปัญหาในชุมชน ร้อยละ 60
ของจำนวนจุดเสี่ยงประเภทที่ชุมชนแก้ไขได้เอง 2.ส่งต่อจุดเสี่ยงที่ไม่สามารถแก้ไขเองร้อยละ100 3.มีป้าย/สื่อรณรงค์ตามจุดเสี่ยงในชุมชน

25.00
3 ตัวชี้วัดที่ 3 เพื่อการจัดการบริหารโครงการ

1.โครงการสามารถดำเนินโครงการได้มีประสิทธิภาพ 2.การรายงานผลเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด 3.แกนนำคณะทำงานมีศักยภาพสามารถดำเนินกิจกรรมตามโครงการได้สำเร็จ

100.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณเม.ย. 65พ.ค. 65มิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65ต.ค. 65พ.ย. 65ธ.ค. 65ม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66
1 การจัดตั้งคณะอนุกรรมการโครงการ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล 4 ครั้ง(1 เม.ย. 2565-31 ต.ค. 2565) 18,100.00                        
2 ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม(1 เม.ย. 2565-31 มี.ค. 2566) 10,000.00                        
3 จัดทำแผน และสรุปข้อมูล 2 กิจกรรรมย่อย(1 พ.ค. 2565-31 ก.ค. 2565) 7,250.00                        
4 ส่งเสริมความรู้การขับขี่ ปลอดภัย ต้องตระหนักเรื่องอุบัติเหตุ(1 พ.ค. 2565-31 ส.ค. 2565) 28,975.00                        
5 เฝ้าระวังเรื่องอุบัติเหตุ ตำบลตลิ่งชัน(1 ก.ย. 2565-31 ธ.ค. 2565) 3,000.00                        
6 ปรับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลง เพื่อลดอุบัติเหตุ(1 ต.ค. 2565-31 มี.ค. 2566) 24,925.00                        
7 คืนข้อมูลชุมชน(1 ก.พ. 2566-30 มี.ค. 2566) 3,625.00                        
รวม 95,875.00
1 การจัดตั้งคณะอนุกรรมการโครงการ เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล 4 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 100 18,100.00 4 18,100.00
28 พ.ค. 65 ประชุมจัดตั้งคณะทำงาน ครั้งที่ 1 25 3,625.00 3,625.00
3 มิ.ย. 65 ประชุมวางแผนการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล อุบัติเหตุและจุดเสี่ยง 25 7,225.00 7,225.00
4 มิ.ย. 65 ประชุมวางแผนการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล อุบัติเหตุและจุดเสี่ยง 25 3,625.00 3,625.00
6 ส.ค. 65 ประชุมติดตามความคืบหน้า 25 3,625.00 3,625.00
2 ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 43 10,000.00 16 10,530.28
1 เม.ย. 65 - 31 มี.ค. 66 ค่าจัดทำป้ายโครงการ 15 1,000.00 1,000.00
1 - 12 เม.ย. 65 เวทีพัฒนาข้อเสนอโครงการย่อย ปี65 ประเด็นลดอุบัติเหตุทางท้องถนน 2 640.00 640.00
1 - 30 เม.ย. 65 กิจกรรมเวทีประชุมเชิงปฎิบัติการ การพัฒฯาข้อเสนอโครงการย่อย 1 500.00 500.00
29 เม.ย. 65 เปิดบัญชีธนาคาร 0 0.00 500.00
5 พ.ค. 65 เวทีปฐมนิเทศโครงการย่อยฯ และทำข้อสัญญา (TOR) จังหวัดยะลา 2 640.00 640.00
21 พ.ค. 65 เวทีเรียนรู้การรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ 2 800.00 800.00
12 มิ.ย. 65 ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล รายงานการเงิน ครั้งที่ 1 3 300.00 300.00
17 ก.ย. 65 เวทีติดตามประเมินผลการเรียนรู้และพัฒนาระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่1 3 960.00 960.00
24 ก.ย. 65 ดอกเบี้ยรับ 0 0.00 2.82
22 ต.ค. 65 เวทีติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย 2 640.00 640.00
6 พ.ย. 65 เรียนรู้การจัดทำสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์ 3 960.00 960.00
26 พ.ย. 65 ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล รายงานการเงิน ครั้งที่ 2 3 300.00 300.00
4 ก.พ. 66 เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่2 3 960.00 960.00
13 มี.ค. 66 ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ต 1 2,000.00 2,000.00
15 มี.ค. 66 ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล รายงานการเงิน ครั้งที่ 3 3 300.00 300.00
25 มี.ค. 66 ดอกเบี้ยรับ 0 0.00 27.46
3 จัดทำแผน และสรุปข้อมูล 2 กิจกรรรมย่อย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 7,250.00 2 7,250.00
8 มิ.ย. 65 จัดทำแผนการดำเนินการดำเนินงานขับเคลื่อน โดยมีเวทีขับเคลื่อนระหว่างเครือข่าย 25 3,625.00 3,625.00
11 มิ.ย. 65 สรุปข้อมูลอุบัติเหตุ และชี้จุดเสี่ยงหาแนวทางการแก้ไข 25 3,625.00 3,625.00
4 ส่งเสริมความรู้การขับขี่ ปลอดภัย ต้องตระหนักเรื่องอุบัติเหตุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 175 28,975.00 5 28,975.00
24 มิ.ย. 65 เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฎกติกา ครั้งที่ 1 25 3,625.00 3,625.00
3 ก.ค. 65 อบรมให้ความรู้เรื่องกฎจราจร/การขับขี่อย่างปลอดภัย 100 18,100.00 18,100.00
20 ต.ค. 65 เวทีสันติสุข/เวทีประชาธิปไตย 25 0.00 0.00
17 - 18 ธ.ค. 65 เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฏกติกา ครั้งที่ 2 ใช้ข้อมูลทำแผนเฝ้าระวัง 7 วันอันตราย 12 3,480.00 3,480.00
30 - 31 ธ.ค. 65 เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฏกติกา ครั้งที่ 3 13 3,770.00 3,770.00
5 เฝ้าระวังเรื่องอุบัติเหตุ ตำบลตลิ่งชัน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 12 3,000.00 1 3,000.00
26 พ.ย. 65 - 31 ธ.ค. 65 กิจกรรม สำหรับผู้ปฏิบัติงาน จดบันทึกข้อมูลการเฝ้าระวังจุดเสี่ยง 12 3,000.00 3,000.00
6 ปรับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลง เพื่อลดอุบัติเหตุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 25 24,925.00 2 24,925.00
29 - 31 ธ.ค. 65 ปรับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลง เพื่อลดอุบัติเหตุ 25 20,025.00 20,025.00
3 ก.พ. 66 จัดทำป้ายไวนิลรณรงค์ ข้างทาง 0 4,900.00 4,900.00
7 คืนข้อมูลชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 25 3,625.00 1 3,625.00
3 ก.พ. 66 จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้ว 25 3,625.00 3,625.00
2 ก.ย. 65 เวทีพูดคุยผู้ประกอบการที่มีส่วนในการเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนน ครั้งที่ 1 25 3,000.00 2,900.00
65 9,000.00 3 9,000.00
1 ม.ค. 66 การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา จัดเวทีพุดคุยผู้ประกอบการที่มีส่วนในการเกิดอุบัติหตุทางท้องถนน ครั้งที่ 2 10 1,450.00 1,450.00
18 ม.ค. 66 จัดเวทีเพื่อให้คณะทำงานและสมาชิกถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 3 30 4,550.00 4,650.00
  1. ข้อมูลที่จะเก็บ 1.1 เป็นข้อมูลสำคัญที่จะบอกว่าโครงการบรรลุผลลัพธ์ เช่น จำนวนแกนนำ บทบาทแกนนำ กฎ/ระเบียบ/กติกา
    พฤติกรรมที่เปลี่ยนไป เป็นต้น 1.2 ข้อมูลที่นำมาประกอบคำอธิบายตัวชี้วัดควรมีลักษณะเป็นการเปรียบเทียบให้เห็นการเปลี่ยนแปลงจากสถานการณ์ เดิมอย่างชัดเจน
  2. วิธีเก็บข้อมูล
    2.1 ให้ชุมชนร่วมออกแบบการเก็บข้อมูลและดำเนินการจัดเก็บที่สอดคล้องกับตัวชี้วัด และหน่วยจัดการ (Node) ร่วม
    วิเคราะห์ข้อมูลที่ชุมชนจัดเก็บร่วมกับชุมชนที่สอดคล้องกับผลลัพธ์ระดับต่างๆ 2.2 ตัวอย่างวิธีเก็บข้อมูล เช่น การสอบถาม การสัมภาษณ์ การสังเกตการณ์ การประชุมกลุ่ม ภาพถ่าย คลิปวิดีโอ
    การสำรวจ การสรุปบทเรียน เรื่องเล่า บันทึกการประชุม แบบประเมินความรู้ความเข้าใจ แบบบันทึกการติดตาม เป็นต้น
  3. ทุกโครงการจะต้องนำเสนอรายงานความก้าวหน้าและรายงานปิดโครงการให้คณะทำงานรับทราบและรับรองรายงานก่อน นำส่ง สสส.)
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.จำนวนการเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนนลดลง ร้อยละ 50 2.อัตราความรุนแรงทางศีรษะลดร้อยละ 50 3. อัตราการบาดเจ็บและการตายลดลงร้อยละ 50 4. อัตราการตายลดลงร้อยละ 50

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 พ.ค. 2565 10:15 น.