แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 2

ชื่อโครงการ ลดอุบัติเหตุทางท้องถนน ตำบลตลิ่งชัน

ชุมชน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

รหัสโครงการ 65-01-012 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 31 มีนาคม 2566

รายงานงวดที่ : 2 จากเดือน ตุลาคม 2565 ถึงเดือน กุมภาพันธ์ 2566

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เวทีสันติสุข/เวทีประชาธิปไตย

วันที่ 20 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

กำนันได้เสนอจุดเสี่ยงที่เวทีสภาสันติสุข เรื่องการตัดทางเลี้ยวกลับรถ
ลดการย้อนศรของประชาชน ได้เสนอไปแล้ว แต่ผลสรุปยังไม่มีความคืบหน้า

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ภาคีเครือข่ายใช้เวทีประชุมคณะทำงานและกำนันเป็นประธานในการประชุม วันที่ 20 ตุลาคม 2565 ณ ห้องประชุม องค์การบริหารส่วนตำบลตลิ่งชัน เพื่อเสนอจุดเสี่ยงอุบัติเหตุของ ตำบลตลิ่งชัน เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงาน

 

25 0

2. เวทีติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินการตามผลลัพธ์ย่อย

วันที่ 22 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ได้เรียนรู้จากเวที ติดตามประเมินผลรายงานการดำเนินงานผลลัพธ์ย่อย ได้บันทึกข้อมูลในระบบ ตามกิจกรรมที่ดำเนินเสร็จเรียบร้อยแล้ว

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

แกนนำโครงการย่อย จำนวน 2 คน ได้แก่ น.ส.รูฮาณี ยายา และ น.ส.วายีฮะห์ มะยิ ได้ร่วมติดตามกจกรรมย่อย วันที่ 22 ตุลาคม 2565 ณ โรงแรมแกรนด์พาเลซ ได้เรียนรู้ และได้ทบทวนรายงานผลลัพธ์ และจัดการการเงินโดยมีพี่เลี้ยงได้ดำเนินการตรวจสอบหลกฐานครบถ้วน เพื่อเตรียมจัดสรรค์งบประมาณต่อไป

 

2 0

3. กิจกรรม สำหรับผู้ปฏิบัติงาน จดบันทึกข้อมูลการเฝ้าระวังจุดเสี่ยง

วันที่ 29 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต -เฝ้าระวังจุดเสี่ยง เป้าหมาย 6 จุดเสี่ยง
-พื้นที่ดำเนินการเฝ้าระวังเหตุการณ์ ม.1 ม.88 ม.11 ม.13
-รายงานผลทางไลน์ คณะอนุกรรมการ ลดอุบัติเหตุบนท้องถนนตำบลตลิ่งชัน ได้รายงานผลผ่านไลน์  12 คน
ผลลัพธ์ -ได้เฝ้าระวังจุดเสี่ยง 7 จุดเสี่ยง  ระหว่างดำเนินการ -เก็บข้อมูลจำนวนครั้งการเกิดอุบัติเหตุ /การเสียชีวิต/การส่งต่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล/ไม่รักษาต่อ อาการไม่หนัก

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

-รายงานผล เหตุการณ์อุบัติเหตุแต่ละจุด โดยมีคณะทำงานมีหน้าที่รับผิดชอบรายงาน ผ่านไลน์ -เฝ้าระวังจุดเสี่ยง เป้าหมาย 6 จุดเสี่ยง ในพี้นที่ 4 หมู่บ้าน ในตำบลตลิ่งชัน ได้แก่ ม.1 ม.88 ม.11 ม.13
-คณะทำงานจุดเสี่ยง 12 คน จุดเสี่ยง 2 คน

 

12 0

4. เรียนรู้การจัดทำสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์

วันที่ 6 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เรียนรู้การจัดทำสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์ (คลิป) -แบ่งกลุ่มช่วยกันเรียนรู้
-ลงพื้นที่สถานีนังวา เพื่อเก็บรายละเอียดทำคลิป ผลลัพธ์ จัดทำคลิปประชาสัมพันธ์1 คลิป ส่ง NODE

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เรียนรู้การจัดทำสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์ (คลิป) -แบ่งกลุ่มช่วยกันเรียนรู้
-ลงพื้นที่สถานีนังวา เพื่อเก็บรายละเอียดทำคลิป

 

3 0

5. ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล รายงานการเงิน ครั้งที่ 2

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงานได้รรับการติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล

 

3 0

6. เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฏกติกา ครั้งที่ 2 ใช้ข้อมูลทำแผนเฝ้าระวัง 7 วันอันตราย

วันที่ 17 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต
-ออกแบบสื่อ รณรงค์ 3 จุดเสี่ยง
-มีบทบาทหน้าที่ในการเฝ้าระวัง 7 วันอันตราย -มีคณะอนุกรรมการร่วมประชุม 25 คน

ผลลัพธ์ -ออกแบบสื่อ รณรงค์ 6 จุดเสี่ยง -มีผู้เข้าประชุมเกินเป้าหมาย รวม 10 คน -มีกฏกติกาเพิ่มระหว่างประชุม เพื่อวางแผนเฝ้าระวัง 7 วันอันตราย -อบต.ตลิ่งชัน ร่วมจัดกิจกรรม รณรงค์ช่วงเทศการปีใหม่ ร่วมกับ ชุดคณะกรรมการ ศปถ.ตำบล ในวันที่ 15 ม.ค.66

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

วันที่ 17-18 ธันวาคม ปณะชุมกำหนดกติกา เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฏกติกา ครั้งที่ 2 ใช้ข้อมูลทำแผนเฝ้าระวัง 7 วันอันตราย -มีคณะอนุกรรมการ เข้าร่วมประชุมเตรียมความพร้อมการเฝ้าระวังในช่วงเทศการวันหยุดยาว 7 วันอันตราย -แบ่งบทบาทหน้าที่แต่ละจุดที่รณรงค์เฝ้าระวัง7 วันอันตราย -ออกแบบเครื่องมือ สื่อที่ใช้ในการรณรงค์ เฝ้าระวัง7 วันอันตราย -ดำเนินงานตามขั้นตอนโดยมี ประธานการการประชุมทุกครั้ง

 

12 0

7. ปรับเปลี่ยน เปลี่ยนแปลง เพื่อลดอุบัติเหตุ

วันที่ 29 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

บริเวณข้างถนนมีความสะอาดมากขึ้น จุดเสี่ยงได้รับการแก้ไข ทำให้มีความเสี่ยงน้อยลง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

วันที่ 29 ธันวาคม 2565 คณะทำงาน ร่วมกับชาวบ้าน ร่วมกันทำความสะอาดบริเวณถนน สาย 410 ยะลา - เบตง โดยการตัดหญ้า และเก็บกวาดขยะบริเวณข้างทาง เพื่อลดเสี่ยงอุบัติเหตุในช่วง 7 วันอันตราย

 

25 0

8. เวทีกำหนดกติกา และการบังคับใช้กฏกติกา ครั้งที่ 3

วันที่ 30 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต  จัดเจ้าหน้าที่ในการรักษาความปลอดภัยทางถนน จำนวน 13 คน 2 วัน ผลลัพธ์  ประชาชนได้เคารพกฏกติกา ทำให้เกิดความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนในตำบลตลิ่งชัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดเจ้าหน้าที่ในการรักษาความปลอดภัยทางถนน โดยใช้กฏกติกาในการขับรถเพื่อสร้างความปลอดภัยในช่วงเทศการ

 

13 0

9. การประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา จัดเวทีพุดคุยผู้ประกอบการที่มีส่วนในการเกิดอุบัติหตุทางท้องถนน ครั้งที่ 2

วันที่ 1 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สรุปผลการดำเนินงาน อยู่ในบันไดผลลัพธ์ขั้นที่ 4 ผลผลิต คือ ดำเนินกิจกรรม 2 กิจกรรม 1.สำรวจข้อมูลอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขอย่างเป็นระยะ 2.รณรงค์แก้ไขปัญหาอุบัติเหตุ
*พฤติกรรมเสี่ยงได้รับการแก้ไข  ร้อยละ 70

ผลลัพธ์ คือ  พฤติกรรมเสี่ยงและสภาพแวดล้อมที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุลดลงจากเดิม *จุดเสี่ยงได้รับการแก้ไข/ส่งต่อ ร้อยละ 90 *พฤติกรรมเสี่ยงได้รับการแก้ไข  ร้อยละ 70 *ศีรษะลดร้อยละ 50 *ผู้ขับขี่มีการสวมหมวกนิรภัย  ร้อยละ  70

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

กระบวนการถอดบทเรียน  ประเด็นลดอุบัติเหตุทางท้องถนน ร่วมกันจัดเวทีการถอดบทเรียน ใช้วิธีการพูดคุย/บอกเล่าการทำงาน

 

10 0

10. จัดเวทีเพื่อให้คณะทำงานและสมาชิกถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 3

วันที่ 18 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างคณะทำงานกับภาคีเครือข่าย เรื่องข้อกำหนด การใช้กฎหมายบังคับ ในการใช้รถ ใช้ถนน และการทำ พรบ.
คณะทำงานเสนอแนวทางแก้ไขจุดเสี่ยง ต่ละจุดให้กับภาคีเครือข่าย เพื่อส่งต่อแนวทางการแก้ไขต่อไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

วันที่ 18 มกราคม 2566 คณะกรรมการ และภาคีเครือข่าย ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และถอดบนเรียน ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตะบิงติงงี จำนวน 30 คน

 

30 0

11. จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้ว

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงานได้เสนอข้อมูลการสำรวจอุบัติเหตุ จากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไข
จุดเสี่ยงที่ 1-3 ได้ทำการติดตั้งป้ายเตือนไว้เรียบร้อย เพื่อเตือนปัญหาการย้อนศร และมีการส่งต่อให้ อบต. เรื่องการประสานการปรับจุดกลับรถให้กรมทางหลวงต่อไป
จุดเสี่ยง 4 หลังจากติดตั้งป้ายเตือนเขตชุมชน ผู้ใช้รถ ใช้ถนน มีการฉะลอรถมากขึ้น เมื่อถึงเขตชุมชน จุดเสี่ยงที่ 5 - 6

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 จัดเวทีคืนข้อมูลการสำรวจอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไข โดยเวทีประชาคม ณ อบต.ตำบลตลิ่งชัน จำนวน 25 คน

 

25 0

12. จัดทำป้ายไวนิลรณรงค์ ข้างทาง

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้ใช้รถ ใช้ถนน มีความตระหนักมากขึ้น เพื่อลดอุบัติเหตุ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 ติดตั้งป้ายไวนิลตามจุดเสี่ยง 6 จุด รณรงค์เพื่อลดอุบัติเหตุทางท้องถนน

 

0 0

13. เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่2

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มย่อย เพื่อเกิดการพัฒนา

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2566 จัดเวทีติดตามประเมินผลเพื่อการพัฒนา (ARE) ระดับหน่วยจัดการครั้งที่ 2 จำนวน 3 คน 1.น.ส.รูฮาณี ยายา 2.น.ส.วายีฮะห์ มะยิ 3. น.ส.เจะแย แวนิซอ ณ โรงแรมแกรนด์พาเลซยะลา

 

3 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 34 30                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 104,875.00 102,437.82                  
คุณภาพกิจกรรม 120                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นางสาวรูฮาณี ยายา
ผู้รับผิดชอบโครงการ