directions_run

พัฒนาส่งแสริมการผลิดและบริโภคผักปลอดภัยเพื่อสุขภาพในครัวเรือน ตำบลบุดี

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อส่งเสริมให้เกิดกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 1 มีคณะกรรมการวิสาหกิจชุมชนที่เข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 มีโครงสร้างคณะกรรมการและหน้าที่ชัดเจน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.2 มีทักษะความรู้ การวางแผนการผลืตตามความต้องการของตลาด การรับรองมาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.3 มีทักษะสามารถชักชวนสนับสนุนสมาชิกกลุ่ม เชื่อมโยงเครือข่ายการผลิตการรับรองมาตรฐาน และการตลาด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.4 กรรมการ มีทักษะสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้การปลูกและผลิตผักปลอดภัยให้กับสมาชิกใหม่ได้ ผลลัพธ์ที่ 2 มีวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรเข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 มีสมาชิกกลุ่มเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 สมาชิกมีความรู้เรื่องการรับรองมาตรฐานผักปลอดภัย GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.3 เกิดแผนการทำงานเชื่อมโยงร่วมกับภาคีเครือข่ายในการหนุนเสริมความรู้การปลูกผักปลอดภัยการผลิตผักตามความต้องการของตลาดและมาตรฐาน GAP ให้กับสมาชิก ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.4 มีข้อมูลผักที่ตลาดต้องการ มาจากนอกพื้นที่ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.5 มีข้อมูลผักทั้งใน – นอกพื้นที่ที่ต้องนำเข้าหรือซื้อมาจากนอกพื้นที่ ตัวชีวัดผลลัพธ์ 2.6 มีแผนการผลิต ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.7 มีกติกากลุ่ม ผลลัพธ์ที่ 3 มีการติดตาม ประเมินผล ร่วมกับภาคีอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 คณะกรรมการ ร่วมกับภาคีที่เกี่ยวข้องมีการติดตามร่วมกัน ในเรื่องการผลิตผักปลอดภัยตามแผนการปลูกและแผนการผลิตตามความต้องการของตลาด รวมทั้งการรับรองมาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.2 สมาชิกมีการคืนข้อมูลการผลิตผักปลอดภัย ตามแผนการผลิตและแผนความต้องการของตลาด รวมทั้งการรับรองมาตรฐาน GAP และแลกเปลี่ยนข้อมูลร่วมกันทุกเดือนและมีการปรับปรุงแผนการผลิตให้สอดคล้องกับตลาด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.3 เกิดโรงเรียนเกษตรกรที่ภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ หนุนเสริมและสนับสนุนทุนผ่านทาง อปท. และเครือข่าย
80.00

 

 

 

2 เพื่อให้การผลิตผักได้มาตรฐาน GAP
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 4 ปลูกผักปลอดภัยได้รับการรับรองมาตรฐาน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1 สมาชิกกลุ่มสามารถปลูกผักปลอดภัยได้ตามแผนความต้องการของตลาด เช่น ชนิดการปลูก / ปริมาณความต้องการ / ปลูกสอดคล้องกับฤดูการและตลาด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.2 สมาชิกโครงการ ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP ร้อยละ 100 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.3 มีแผนการเชื่อมโยงระบบการส่งผลผลิตผักปลอดภัยสู่โรงพยาบาล ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.4 เกิดเกษตรกรต้นแบบที่จะพัฒนาเป็นผู้ตรวจสอบมาตรฐานของเกษตรกรได้ ผลลัพธ์ที่ 5 มีตลาดและผู้บริโภคผักปลอดภัย ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 มีมูลค่าการขายผักปลอดภัยที่ผ่านมาตรฐาน GAP เพิ่มขึ้น 500 บาทต่อเดือน / (ขายกลุ่ม / ขายเดี่ยว ) ตัวชีวัดผลลัพธ์ 5.2 มีการขายผักปลอดภัย - ตลาดในชุมชน - ตลาดนอกชุมชน - ตลาดโรงพยาบาล - ตลาดออนไลน์ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.3 สมาชิกของโครงการมีการบริโภคผักปลอดภัย อย่างน้อย 400 กรัมต่อวัน
100.00

 

 

 

3 3.เพื่อบริหารจัดการโครงการ
ตัวชี้วัด : โครงการสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
100.00