directions_run

พัฒนาส่งแสริมการผลิดและบริโภคผักปลอดภัยเพื่อสุขภาพในครัวเรือน ตำบลบุดี

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมที่มีส่วนร่วมกับ สสส สนับสนุนเพิ่มเติม ( เบิกจ่ายตามจริง ) 16 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 1 ตั้งคณะกรรมการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 16 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 2 อบรมและจัดทำแผนการผลิตของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 16 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 3 Kick off ปลูกผักปลอดภัย 28 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 4 การรับรองมาตราฐานผักปลอดภัย 28 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 5 ติดตามและสรุปผล 28 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

เวทีพัฒนาข้อเสนอโครงการ 5 เม.ย. 2565 5 เม.ย. 2565

 

ร่วมประชุมรับฟังข้อมูล และเรียนรู้การจัดทำเอกสาร และเซ็นสัญญาข้อตกลงโครงการ

 

1 ร่วมประชุมับฟังข้อมูลต่างๆ จากโหนดจังหวัด
2 เรียนรู้การจัดทำเอกสารต่างๆ
3  เซ็นสัญญาข้อตกลงโครงการ

 

เปิดบัญชีธนาคาร 29 เม.ย. 2565 29 เม.ย. 2565

 

ได้ทำการเปิดบัญชีธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ( ธกส )  เพื่อรองรับงบประมาณโครงการพัฒนาส่งเสริมการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยเพื่อสุขภาพในครัวเรือนตำบลบุดีโดยใช้เงินเปิดบัญชีธนาคารจำนวนเงิน  500 บาท

 

งบประมาณโครงการพัฒนาส่งเสริมการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยเพื่อสุขภาพในครัวเรือนตำบลบุดี  กวดแรก จำนวนเงิน  40,000 บาท

 

เวทีปฐมนิเทศโครงการ 5 พ.ค. 2565 5 พ.ค. 2565

 

1 ประชุมรับฟังข้อมูลโครงการ 2  เรียนรู้การจัดทำเอกสาร 3  เ็นสัญญาข้อตกลงโครงการ

 

1  เรียนรู้การทำเอกสารต่างๆ
2  เซ็นสัญญาโครงการ 3  ประชุมรับฟังข้อมูลต่างๆ

 

เปิดรับสมัครสมาชิกใหม่เข้าร่วมโครงการ 10 พ.ค. 2565 10 พ.ค. 2565

 

รับสมัครสมาชิกเข้าร่วมโครงการพัฒนาส่งเสริมการผลิตและบริโภคผักปฃอดภัยเพื่อสุขภาพในครัวเรือน ตำบลบุดี  จำนวน 40 คน

 

ได้สมาชิกเข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คนประกอบด้วย
1. สมาชิกหมูี่ 1 จำนวน  20 คน
2. สมาชิกหมู่ที่ 8 จำนวน  13 คน
3. สมาชิกหมู่ที่  2  จำนวน  2 คน
4. สมาชิกหมู่ที่  3  จำนวน 1  คน
5. สมาชิกหมู่ที่ 4 จำนวน  1 คน 6. สมาชิกหมู่ที่ 6 จำนวน  2 คน 7. สมาชิกหมู่ที่ 9  จำนวน 1  คน

 

เวทีติดตามการปลูกครั้งที่ 1 18 พ.ค. 2565 18 พ.ค. 2565

 

เวทีติดตามการปลูกผักปลอดภัยครั้งที่1 วางแผนเพื่อพัฒนาศักยภาพของสมาชิกกลุ่ม

 

1 จัดเก็บข้อมูลคุณภาพชนิดผักที่ปลูก 2 ตรวจสอบการจดบันทึกข้อมูลการทำบัญชีรายการขาย 3 ตรวจสอบการจดบันทึกการใช้ปุ๋ย 4 ตรวจสอบหาค่าสารเคมี

 

ไวนิ้วป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ 19 พ.ค. 2565 19 พ.ค. 2565

 

จัดทำไวนิ้วป้ายโครงการพัฒนาส่งเสริมการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยเพื่อสุขภาพในครัวเรือนตำบลบุดี และป้าย บันไดผลลัพธ์

 

จัดทำไวนิ้วป้ายโครงการพัฒนาส่งเสริมการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยเพื่อสุขภาพในครัวเรือนตำบลบุดี และป้าย บันไดผลลัพธ์

 

เวทีเรียนรู้การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ 21 พ.ค. 2565 21 พ.ค. 2565

 

ผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน2คน มีความรู้และความเข้าใจในการใช้เว็ปไซต์

 

วิทยากรสอนการสมัครเข้าระบบตนสร้างสุข และเรียนรู้การบันทึกกิจกรรม

 

ประชุมคณะกรรมการกลุ่ม ครั้งที่ 1 27 พ.ค. 2565 27 พ.ค. 2565

 

ประชุมชี้แจง โครงการเพื่อกำหนดขอบเขต วางแผนการดำเนินงาน การจัดทำข้อมูล

 

ชี้แจงเรื่องโครงการพัฒนาเสริมการผลิตและบริโภคผักปลอดภัยเพื่อสุขภาพในครัวเรือน ตำบลบุดี 1 ชี้แจงโครงการ รับสมัคร สมาชิกกลุ่ม 2 จำหนด การจัดการแปลงพื้นที่ปลูก 3 วางแผนการผลิตตามฤดูกาล 4 จำนาน พื้นที่การปลูกของสมาชิก

 

เวทีติดตามการปลูกครั้งที่ 2 6 มิ.ย. 2565 6 มิ.ย. 2565

 

เกษตรกรเรียนรู้เรื่องการเก็บผักและแพ็กเกจจิ้งเพื่อนำส่งผักให้ลูกค้า

 

1 เพื่อศึกษาการเรียนรู้และเเลกเปลี่ยนข้อมูลในการปลูกผักปลอดภัย 2 เพื่อพัฒนาเเละยกระดับความเข้มแข็งของกลุ่มให้เข้าถึงเทคโนโลยีเเละนวัตกรรมในการผลิตผักปลอดภัย 3 มีการวางแผนในการจัดการผลผลิตให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภค

 

เปิดตัวโครงการ 11 มิ.ย. 2565 11 มิ.ย. 2565

 

โครงการ เพื่อกำหนดขอบเขต วางแผนการดำเนินงาน การจัดทำข้อมูล

 

1 จัดเก็บข้อมูลโครงสร้างคณะกรรมการกลุ่ม 2 จัดเก็บข้อมูลสมาชิกกลุ่มเป็นรายบุคคล 3 จัดตั้งกฏ/ระเบียบ/กติกากลุ่ม 4 จัดทำแผนการผลิตตลอดฤดูกาล 5 จัดทำแผนการตลาด

 

จัดทำรายงานออนไลน์ 12 มิ.ย. 2565 12 มิ.ย. 2565

 

จัดทำรายงานผ่านระบบ

 

สามารถคีย์เข้าระบบได้

 

เวทีพัฒนาเพื่อยกระดับกลุ่ม จัดทำแผนการบริหารจัดการ ข้อตกลง กฏกติกากลุ่ม การจดบันทึกข้อมูล การผลิต การทำบัญชีครัวเรือน การบริโภค 15 มิ.ย. 2565 15 มิ.ย. 2565

 

1 จัดทำแผนการบริหารจัดการ 2 ทำข้อตกลง/กติกา
3 การจดบันทึกข้อมูลการผลิต 4 บัญชีครัวเรือน 5 การบริโภคผักปลอดภัย

 

  1. เวทีพัฒนาเพื่อยกระดับกลุ่ม
  2. จัดทำ ข้อตกลง กฏกติกากลุ่ม  5 ข้อ  ดังนี้ 1. บริโภคผักปลูกเอง 2. ใช้ปุยหมักในการปลูก 3. ปลูกผัก 5 ชนิดขึ้นไป  4. ใช้นำ้หมักกำจัดแปลง 5. ห้ามใช้สารเคมีในการปลูก
  3. การจดบันทึกข้อมูล การผลิตผักปลอดภัย
  4. การทำบัญชีครัวเรือน  มีการจดบันทึกต้นทุนอาชีพและผลการขาย
  5. การบริโภคผักปลอดภัย

 

เวทีออกแบบสำรวจข้อมูลเกษตรกรในพื้นที่เพื่อจัดเก็บข้อมูลการลงพื้นที่ 16 มิ.ย. 2565 16 มิ.ย. 2565

 

คณะกรรมการลงสำรวจพื้นที่กลุ่มสมาชิกเพื่อพัฒนาศักยภาพกลุ่มสมาชิกผู้ผลิตผักปลอดภัยให้มีความเข้มแข็ง

 

คณะทำงานลงสำรวจแปลงพื้นที่ปลูกผักปลอดภัย 1 ตรวจดูรายการผักที่ปลูก 2 ตรวจสภาพดินเเละการจัดการปุ๋ยและวัชพืช 3 ตรวจสอบการจดบันทึกรายการขาย

 

กิจกรรมอบรมเกษตรกร เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบมาตราฐาน GAP 20 มิ.ย. 2565 20 มิ.ย. 2565

 

-เปิดพิธี -ให้คามรู้ความสำคัญของมาตรฐานGAP -หลักฐานในการขอGAP

 

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 40คน ผลผลิต  หลักฐาน การขอ GAP ประกอบด้วย บัตรประชาชน,หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล,หนังสือมอบอำนาจ,แบบคำขอใบรับรองแหล่งผลิต GAP

 

ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 2 22 มิ.ย. 2565 22 มิ.ย. 2565

 

วางแผนเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ เพื่อยกระดับกลุ่ม

 

1 พัฒนาศักยภาพ คณะกรรมการ 2 การจัดทำบัญชี ครัวเรือน 3 การเชื่อมโยง การตลาด

 

เวทีการตรวจแปลงเกษตรกรก่อนการปลูก เพื่อ ปรับ/เตรียมการปลูกที่ถูกต้องตามมาตราฐาน GAP 30 มิ.ย. 2565 30 มิ.ย. 2565

 

-เปิดตัวโครงการ -แนะนำชุมชนให้ภาคีเครือข่ายได้รู้จัก
-แนะนำภาคีเครือข่าย
-ตรวจแปลงปลูก

 

รู้จักภาคีเครือข่ายที่สามารถประสานงานและช่วยเหลือโครงการให้บรรลุเป้าหมาย เช่นการจัดอบรมต่าง ๆ ที่เครือข่ายมีความรู้และ การแนะนำ/แก้ปัญหาที่โครงการประสบ    ตรวจแปลงปลูกของสมาชิกที่มีมาตราฐานเพื่อเป็นตัวอย่างให้สมาชิกอื่น ๆ

 

ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 3 19 ก.ค. 2565 19 ก.ค. 2565

 

1  ประชุมวางแผนการผลิตของสมาชิก 2  วางแผนการทำปฏิทินการผลิต 3  วางแผนการพัฒนากลุ่มและการตลาด

 

คระกรรมการวางแผนและจัดการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ โดยมีการนัดหมายกับสมาชิกกลุ่มจำนวน 40 ราย จัดทำแผนปฎิทินการปลูกตามความต้องการของตลาด เช่น กระเพา โหระพา ผักนำ้ แมงลัก พริก และจัดทำแผนพัฒนากลุ่ม โดยมีการผลิตผักปลอดภัยให้ได้มาตราฐาน GAP และขยายช่องทางการจำหน่ายสินค้าเพิ่มมากขึ้นโดยเน้นขยายร้านอาหาร  5 ร้าน ร้านมลีนีโภชนา ร้านตะกงแกง  ร้านขนมจีน ร้านหลังกองร้อย

 

เวทีติดตามการปลูกครั้งที่ 3 24 ก.ค. 2565 24 ก.ค. 2565

 

ลงพื้นที่ตรวจแปลงของสมาชิก ม.1

 

1 สมาชิกได้ขยายพันธุ์พืชที่ปลูก เช่น พริก มะเขือ ผักบุ้ง 2 แนะนำเรื่องการจัดการแปลงปลูกให้มีความสะอาดและเป็นระเบียบมากขึ้น 3 แนะนำเรื่องการใช้ปุ๋ยจำนวนปริมาณการใช้และลักษณะการใช้

 

พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการมาตรฐาน GAP 3 ส.ค. 2565 3 ส.ค. 2565

 

คณะกรรมการกลุ่ม 14 ราย

 

1 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการเรื่องมาตรฐาน GAP
2 เพิ่มทักษะคณะกรรมการในการผลิตผักปลอดภัย 3 แลกเปลี่ยนเรียนรุ้ การบริหารจัดการแปลงพื้นที่ปลูก

 

เวทีติดตามการปลูกครั้งที่ 4 11 ส.ค. 2565 11 ส.ค. 2565

 

คณะกรรมการลงพื้นที่ติดตามสมาชิกปลูกผักปลอดภัย วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางการพัฒนากลุ่มเพื่อสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มและสร้างกิจกรรมการมีส่วนร่วมร่วมกัน

 

1 พัฒนาเพื่อสร้างเป็นเครือข่ายกลุ่มปลูกผักระหว่างชุมชน 2 แลกเปลี่ยนข้อมูลในการปลูกผักระหว่างชุมชน หมู่1 3 เพื่อพัฒนาศักยภาพกลุ่มสมาชิกผู้ผลิตผักปลอดภัย

 

เวทีจัดทำแผนการผลิตของสมาชิกกลุ่ม ปฏิทินการผลิตสอดคล้องกับการตลาด แผนการรับรอง GAP แผนการพัฒนากลุ่ม แผนการตลาด 28 ส.ค. 2565 28 ส.ค. 2565

 

1  จัดทำแผนการผลิตผักปลอดภัยให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดและผู้บริโภคเป็นหลัก เช่น ผักบุ้ง ถั่วฝักยาว แตงกวา ผักคะน้า โหระพา ผักนำ้ เป็นต้น 2  จัดทำแผนปฏิทินการผลิตผักตามฤดูกาลและผักอายุสั้น 3  จัดทำแผนการจัดส่งตลาดและร้านอาหารในชุมชนและในตัวเมืองยะลา

 

1 ตลาดมีความต้องการในผัก  คะน้า  กวางตุ้ง ผักกาดขาว  โหระพา  แมงลัก  กระเพา ผักนำ้  มะเขืออ้อร้อ  มะระขี้นก จำนวนอย่างละ  3 กิโลต่อสัปดาห์ 2  ผักอายุสั้นที่สามารถขายได้เลย เช่น  ผักนำ้  ผักบุ้ง  มะเขือ  มะระขี้นก
3  ส่งร้านค้าในชุมชนจำนวน  5  ร้าน  ในตัวเมืองยะลาจำนวน  8 ร้าน  จำนวน  1-2 กิโลต่อร้าน

 

เวทีติดตามการปลูกครั้งที่ 5 5 ก.ย. 2565 5 ก.ย. 2565

 

คณะกรรมการลงสำรวจพื้นที่แปลงปลูก ม.1 ต.บุดี อ.เมือง จ.ยะลา

 

1 สร้างทักษะความรู้การวางแผนการผลิตตามความต้องการของตลาด 2 สมาชิกสามารถชักชวน สนับสนุนสมาชิกกลุ่มเชื่อมโยงเครือข่ายการผลิตและการตลาด 3 แลกเปลี่ยนถ่ายทอดองค์ความรู้การปลูกและการผลิตผักปลอดภัย ให้กับกลุ่มสมาชิก
4 ดูการจดบันทึกข้อมูลการตลาดทั้งในเเละนอกพื้นที่

 

เวทีติดตามแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ARE ครั้งที่ 1 10 ก.ย. 2565 10 ก.ย. 2565

 

สมาชิกกลุ่มเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  15 ราย

 

ประชุมชี้แจง โครงการเพื่อกำหนดขอบเขต วางแผนการดำเนินงาน การจัดทำข้อมูล การวางแผนการดำเนินงาน การจัดทำข้อมูล

 

เวทีติดตามประเมินผล เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ระดับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 1 17 ก.ย. 2565 17 ก.ย. 2565

 

-แลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อย -ติดตามความคืบหน้าโครงการ

 

แนวทางการขับเคลื่อนโครงการให้ประสบผลสำเร็จ

 

ดอกเบี้ยรับ 24 ก.ย. 2565 24 ก.ย. 2565

 

ดอกเบี้ยรับ

 

ดอกเบี้ยรับ

 

เวทีติดตามการปลูกครั้งที่ 7 12 ต.ค. 2565 12 ต.ค. 2565

 

ลงตรวจแปลงของสมาชิก แนะนำการปลูก ดูศัตรูพืช ศัตรูะรรมชาติ

 

ลงตรวจแปลงของสมาชิก  โดยการสภาพของดินว่าขาดการรดนำ้เพียงพอกับพืช แนะนำการปลูก  การปลูกพืชหลายๆอย่างผสม ดูศัตรูพืชศัตรูะรรมชาติ  พบมากคือแมงสิง  และเต่าแตงลายจุด

 

ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 2 17 ต.ค. 2565 17 ต.ค. 2565

 

สมาชิกกลุ่มเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  15 ราย

 

ประชุมติดตามผลการผลิต การรับรอง GAP และการตลาด คณะทำงานอธิบายถึงการผลิตผักโดยปลอดภัยเพื่อขอการรับรองจาก GAP และหาแหล่งขาย หรือตลาดที่เราสามารถส่งออกผักของเราได้

 

กิจกรรมการจัดทำสื่อสาร 6 พ.ย. 2565 6 พ.ย. 2565

 

จัดทำสือสาร

 

ทำสือสารประชาสัมพันธ์

 

เวที่ติดตามผลการผลิตผักปลอดภัย การตลาด 15 พ.ย. 2565 15 พ.ย. 2565

 

ทำปฏิทินการปลูกผักปลอดภัยเพื่อรองรับมาตราฐาน GAP จัดทำแผนการตลาด

 

ปฏิทินการผลิต ดังนี้  มิ.ย -ก.ค ปลูก ถั่วพลูและพริก พ.ย - ธ.ค ปลูก ถั่งฝักยาว แตงกวา พริก ม.ค - ก.ค ปลูกถั่วฝักยาว แตงกวา ผักบุ้ง พริก ถั่วพลู เป็นต้น แผนการตลาด  มีตลาดชุมชน    ตลาดในเมือง  ตลาดโรงพยาบาล
การเพิ่มของสมาชิกให้มีการขยายพื้นที่ปลูกให้มากขึ้น

 

เวทีติดตามการปลูกครั้งที่ 8 24 พ.ย. 2565 24 พ.ย. 2565

 

สมาชิกยายแปลงปลูกผัก ดูสภาพของพื้นที่ ดูการจัดการแปลงปลูก

 

สมาชิกย้ายแปลงปลูกแตงกวา สภาพของพื้นที่มีการจัดทำแปลงปลูกเพิ่มจากเดิมมีอยู่ 3 บล็อคเพิ่มเป็น 5 บล็อค แนะนำการจัดการแปลงโดยการทำให้ดินมีความร่วนสุย  ควรใส่ปุ๋ยคอกเพิ่ม

 

ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 4 2 ธ.ค. 2565 2 ธ.ค. 2565

 

คณะกรรมการแจ้งรายละเอียดการดำเนินงานของสมาชิก แจกแจงงบประมาณโครงการ ชี้แจงการปลูกผักของสมาชิก

 

ผลลัพ

 

เวทีติดตามแปลงปลูกครั้งที่ 6 3 ธ.ค. 2565 2 ธ.ค. 2565

 

ลงตรวจแปลงของสมาชิก ดูการบันทึกการดำเนินงานและการจดบันทึกบัญชีการขยายสินค้าและบัญชีต้นทุนการปลูก

 

สมาชิกมีการจดบันทึกแผนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง  และได้มีการจดบันทึกการจัดทำบัญชี แจกแจงการจดบัญชีอย่างเป็นระบบมากขึ้น  มีการขยายการปลูกเพิ่มขึ้น  เช่น  พริก  แตงกวา  คะน้า  กวางตุ้ง ผักบุ้ง  โหระพา  และกระเจียบเขียว สมาชิกได้ตรวจพบปัญหาจากการปลูก คือเกิดโรคใบห่อของต้นกระกระเจียบเขียว

 

กิจกรรมตรวจแปลง - รวบรวมข้อมูลการผลิตเพื่อรับรองมาตราฐาน ดูงานนอกพื้นที่ 17 ธ.ค. 2565 17 ธ.ค. 2565

 

คณะทำงาน และสมาชิกจะมีการตรวจ เยี่ยม แปลงเกษตร และรวบรวมข้อมูลผลผลิตและรวบรวมแปลงที่จะขอรับรองมาตรฐาน GAP

 

คณะทำงาน และสมาชิกมีความรู้ จะมีการตรวจ เยี่ยม แปลงเกษตร และรวบรวมข้อมูลผลผลิตและรวบรวมแปลงที่จะขอรับรองมาตรฐาน GAP ได้

 

กิจกรรมปลูกผักปลอดภัย " Kick off ปลูกผักปลอดภัย " 7 ม.ค. 2566 7 ม.ค. 2566

 

-ประชุมสมาชิกทุกคนมาร่วมประชุมชีแจงผลการดำเนินงาน จัดซื้อปัจจัยอุปกรณ์การเพาะปลูก ปุ๋ยและเมล็ดพันธ์

 

ผู้เข้าร่วมเข้าใจในตัวโครงการจำนวนเข้าร่วม 40 คน หน่วยงานเข้าร่วม 7 หน่วยงาน -มีการชี้แจงข้อมูลรายละเอียดการเพาะปลูก แจกปัจจัยการเพาะปลูกให้กับสมาชิกทีเข้าร่วมโครงการ สมาขิกนำเมล็ดพันธ์ไปเพาะปลูก

 

ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 5 17 ม.ค. 2566 17 ม.ค. 2566

 

ประชุมชี้แจงโครงการและวิเคราะห์ผลการดำเนินงานตาใกิจกรรมโครงการ

 

จัดทำข้อมูลชี้แจงรายละเอียดดังนี้ สมาชิกแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูกผัก สมาชิกแลกเปลี่ยนผลการบำรุงดิน

 

เวทีติดตามการปลูกครั้งที่ 9 24 ม.ค. 2566 24 ม.ค. 2566

 

การทำปุ๋ย แนะนำการจัดทำบัญชี ส่งเสริมการขาย

 

การทำปุ๋ย ขยายการทำปุ๋ยไตรโคเดอร์ม่าเพื่อกำจัดเชื้อรา เรียนรู้การจดบันทึกการทำบัญชีต้นทุนอาชีพจดรายรับรายจ่าย ร่วมกันผลิตปุ๋ยไตรโคเดอร์ม่าเพื่อจำหน่าย

 

เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาระดับหน่วยจัดการ (ARE Node) ครั้งที่ 2 4 ก.พ. 2566 4 ก.พ. 2566

 

-แลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อย -ติดตามความคืบหน้าโครงการ

 

แนวทางการขับเคลื่อนโครงการให้ประสบผลสำเร็จ

 

เวทีติดตามการปลูกครั้งที่ 10 16 ก.พ. 2566 16 ก.พ. 2566

 

สภาพของแปลง ดูการจัดการปุ๋ย ตรวจแมลงศัตรูพืช

 

สภาพแปลงที่ปลูกมีหญ้าเยอะ ต้องมีการใส่ปู่ยในแปลงผักเพิ่ม ศัตรูพืชที่พบ คือเต่าแตง

 

ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 6 23 ก.พ. 2566 23 มี.ค. 2566

 

ชี้แจ้งการออกบูธขายผักปลอดภัย ชี้แจงการขยายตลาดผักปลอดภัย ชี้แจงการขายผักตามร้านอาหาร

 

สมาชิกออกบูธขายผักหลักๆจะอยู่ที่ตลาดเกษตรและตลาดใหม่ ขายร้านอาหารได้ 3 ร้าน ขยายตลาดในชุมชนอีก 3 ร้าน

 

เวทีติดตามการปลูกครั้งที่ 11 11 มี.ค. 2566 11 มี.ค. 2566

 

ลงพื้นที่เก็บข้อมูลของสมาชิก แนะนำวิธีการกำจัดแมลง

 

ลงพื้นที่เพื่อตรวจการยายแตงกวาลงแปลงปลูก แนะการใช้กาวดักแมลง แมลงที่พบและติดกับดัก เช่นเต่าแตง ตั๊กแตน แมงสิง มด แมลงปอ ยุง

 

เวทีการสื่อสารและการขยายผล 23 มี.ค. 2566 23 มี.ค. 2566

 

จัดทำสือสาร

 

ทำสือสารประชาสัมพันธ์

 

ดอกเบี้ยรับ 25 มี.ค. 2566 25 มี.ค. 2566

 

ดอกเบี้ยรับ

 

ดอกเบี้ยรับ

 

เวทีติดตามและประเมินผลครั้งที่ 3 25 มี.ค. 2566 25 มี.ค. 2566

 

จัดเวทีแลกเปลี่ยน ติดตามและประเมินผล ARE ครั้งที่ 3

 

ประเมินผล ARE ครั้งที่ 3 ประเมินผลการดำเนินงานของโครงการผักปลอดภัย ดังนี้
1. สรุปการทำบันไดผลลัพธ์ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและบริโภคผักปลอดภัย ผลการดำเนินงาน ARE ครั้งที่ 3  อยู่ในระดับ  4 ของการดำเนินงานตามโครงการ 2. พื้นที่การในการปลูกผัก

 

เวทีติดตามการปลูกครั้งที่ 12 30 มี.ค. 2566 30 มี.ค. 2566

 

ตรวจแปลงสมาชิก จัดทำแผนการผลิต จัดจำหน่าย

 

ตรวจแปลงของสมาชิก ปลูกแตงกวาเริ่มออกผลได้ดี มีการจัดแผนการปลูกรอบต่อไป  ดดยการขยายแปลงเดิม เป็นสองแปลง มีวางตั้งขายผักในร้านอาหาร  เพิ่มช่องทางการจำหน่ายการจำหน่าย

 

เวทีสรุปปิดโครงการ 31 มี.ค. 2566 31 มี.ค. 2566

 

คณะกรรมการและสมาชิก จัดกิจกรรมเวทีสรุปและปิดโครงการ

 

สรุป และชี้แจงการดำเนินงานของกิจกรรมต่างๆที่ได้ลงพื้นที่ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆดังนี้ สรุปผลการขยายผลการปลูก สรุปผลการทำการตลาด สรุปคุณภาพและมาตรฐาน