directions_run

การป้องกันและลดอุบัติเหตุทางท้องถนน ตำบลเกะรอ

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ การป้องกันและลดอุบัติเหตุทางท้องถนน ตำบลเกะรอ
ภายใต้โครงการ Node Flagship จังหวัดยะลา ปี 2565
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดยะลา
รหัสโครงการ 65-01-014
วันที่อนุมัติ 1 เมษายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2565 - 1 มีนาคม 2566
งบประมาณ 111,150.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ หน่วยกู้ชีพอิควะห์รามัน
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายปริญญา มะรียา
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0847082610
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ prinyamariya@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นายอาหมัด เจ๊ะมิ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่1-7 ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.533986,101.517277place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2565 30 ก.ย. 2565 1 เม.ย. 2565 30 ก.ย. 2565 44,460.00
2 1 ต.ค. 2565 28 ก.พ. 2566 1 ต.ค. 2565 28 ก.พ. 2566 55,575.00
3 1 มี.ค. 2566 31 มี.ค. 2566 1 มี.ค. 2566 31 มี.ค. 2566 11,115.00
รวมงบประมาณ 111,150.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานอุบัติเหตุ
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการได้วิเคราะห์ ปัญหาสาเหตุหลักในการเกิดอุบัติเหตุของตำบลเกะรอ จากปัจจัยด้านบุคคล โดยมีพฤติกรรมเสี่ยงในการใช้รถใช้ถนนของผู้ขับขี่และผู้ใช้เส้นทาง ความประมาท ความสามารถของผู้ขับขี่ลดลงเนื่องจากสภาพร่างกายไม่พร้อม รวมถึงการไม่ชำนาญเส้นทาง การไม่เคารพกฎจราจร ขาดวินัยในการใช้รถใช้ถนนร่วมกันและการไม่ใช้อุปกรณ์นิรภัย ด้านยานพาหนะ ยังพบว่าขาดความพร้อมด้านอุปกรณ์ความปลอดภัย  การปรับแต่งสภาพยานพาหนะและการบรรทุกหรือโดยสารที่ไม่ปลอดภัย ด้านสิ่งแวดล้อมพบว่าจุดเสี่ยง จุดอันตราย จุดที่เกิดอุบัติเหตุบ่อยยังไม่ได้รับการแก้ไข ลักษณะทางกายภาพของถนนไม่สมบูรณ์ อาทิ ผิวถนนเป็นหลุม บ่อ รวมถึงอุปสรรคทางธรรมชาติและลักษณะภูมิอากาศ ที่สำคัญคือยานพาหนะที่เกิดเหตุบ่อยครั้งยังพบว่าขาดการต่อภาษีและ พ.ร.บ.ภาคบังคับ 40 เปอร์เซ็นต์ของยานพาหนะไม่มีการต่อภาษีและพ.ร.บ.ภาคบังคับทำให้เกิดปัญหาเมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้นไม่มีพ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถทำให้เป็นภาระของผู้ประสบเหตุต้องจ่ายเงินส่วนตัวและเป็นประเด็นค่ารักษาพยาบาลที่สูงมากสำหรับพี่น้องผู้ประสบเหตุบางรายไม่มีเงินแม้แต่จะจ่ายค่ายาด้วยซ้ำปัญหาเหล่านี้เกิดขึ้นเป็นเวลานานทำให้ควรได้รับการแก้ไขควรมีทีมหรือชุดรณรงค์ให้ความรู้ให้กับพี่น้องประชาชนในพื้นที่ในแต่ละหมู่บ้านสุดเนื่องจากการขาดความรู้ของผู้ใช้รถใช้ถนนในเรื่องของพ.ร.บ.ภาคบังคับตลอดจนการละเลยในการต่อภาษีและพ.ร.บ.ภาคบังคับดังกล่าวแต่ละครั้งเมื่อเกิดอุบัติเหตุธุระส่วนตัวต้องมาแก้ไขปัญหาเหล่านี้เป็นสาเหตุหนึ่งของปัญหา จากปัจจัยต่างๆข้างต้นการเกิดอุบัติเหตุทางถนน ส่งผลกระทบต่อผู้ที่ประสบภัยโดยก่อให้เกิดภาวะเครียดและวิตกกังวล บาดเจ็บ จนกระทั่งการเสียชีวิต ไม่เพียงเท่านั้นยังก่อให้เกิดความสูญเสียต่อเศรษฐกิจและโดยรวมอย่างมหาศาล เพราะการเสียชีวิตจากและบาดเจ็บทั้งทางกายและใจจากอุบัติเหตุทางท้องถนน ทำให้ผู้ประสบภัยและครอบครัวสูญเสียผลิตภาพ เกิดค่าใช้จ่ายในการรักษาตัว ติดหนี้ ขาดรายได้ในการประกอบอาชีพ รวมถึงทางสังคมที่ส่งผลให้เกิดการทะเลาะวิวาท เกิดข้อพิพาทกับคู่กรณี และอุบัติเหตุยังก่อให้เกิดต้นทุนอื่นๆ เช่น ต้นทุนในการดำเนินคดี ต้นทุนจากผลกระทบต่อสภาพการจราจร ป้ายบอกทางชำรุด เสาไฟฟ้าหรือสัญญานไปชำรุด บ้านเรือนเสียหาย เป็นต้น

ดังนั้นทางตำบลเกะรอ มุ่งหวังเพิ่มประสิทธิภาพความครอบคลุม โดยจะร่วมมือกันสร้างกลไก ส่งเสริมให้ประชาชนมีความตระหนักในการเฝ้าระวังป้องกัน การลดอุบัติเหตุ จราจรอย่างแท้จริง และจากการร่วมมือของทีมงาน(FR) อาสากู้ชีพอิควะห์ ซึ่งเป็นมีส่วนในการให้ข้อมูลจุดเหตุ การช่วยเหลือ และเป็นกลุ่มเยาวชนคนในพื้นที่ตำบลเกะรอ ได้เห็นความสำคัญในการส่งเสริมป้องกันและการจัดกิจกรรมเพื่อลดอุบัติเหตุ จึงจัดทำโครงการการป้องและลดอุบัติเหตุทางท้องถนนตำบลเกะรอ เพื่อจัดการจุดเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยง โดยมีวัตถุประสงค์ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดระเบียบการจราจรในชุมชน และเกิดการแก้ไขจุดเสี่ยงของชุมชน รวมถึงสมาชิกในชุมชนมีการปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกันในการแก้ไขจุดเสี่ยงและพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับจุดเสี่ยง การแก้ไขปัญหาการเรี่ยราดของน้ำยางก้อนบนท้องถนน และการจัดการข้อมูลอุบัติเหตุในพื้นที่ ลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุในชุมชน รถที่ขับขี่มี ประกัน พรบ.เพิ่มมากขึ้น เพื่อลดปัญหาการเกิดหนี้สิน การทะเลาะ ชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

สอดคลองกับยุทธศาสตร์จังหวัดยะลา ประเด็น คุณภาพชีวิต

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนเรื่องป้องกันอุบัติเหตุทางถนนที่เข้มแข็ง

ผลลัพธ์ที่ 1 เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ตัวชี้วัดผลลัพธ์
1.1 มีคณะอนุกรรมการ ศปถ.ตำบล ประกอบด้วย ตัวแทน รพ.สต. ปลัดอำเภอผู้รับผิดชอบประจำตำบล ตัวแทน อปท. ที่รับผิดชอบ ศปก.ตำบล ตัวแทนผู้นำชุมชน
1.2 คณะอนุกรรมการมีความเข้าใจบริบทของพื้นที่ 1.3 มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ชัดเจน 1.4 อนุกรรมการมีความรู้เรื่อง RTI 1.6 มีทักษะในวิเคราะห์ข้อมูลและแก้ไขปัญหาได้

100.00
2 เพื่อลดอุบัติเหตุทางท้องถนนอย่างจริงจัง

1 คณะกรรมการ ศปถ.ตำบล ขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตามบทบาท 2 เกิดโครงสร้างการทำงานแบ่งงานมีการประสานงานกับภาคี/เครือข่ายที่เกี่ยวข้องได้ชัดเจน 3 มีข้อมูลได้แก่ ข้อมูลบริบทพื้นที่/จุดเสี่ยง/พฤติกรรม ข้อมูลสถิติอุบัติเหตุ ครั้ง จำนวนคนเจ็บตายลักษณะการเกิดเหตุ 4 มีแผนการดำเนินงานในขับเคลื่อนความร่วมมือและการบูรณาการกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง

0.00
3 เพื่อการบริหารจัดการโครงการ

1-โครงการสามารถดำเนิการได้อย่างมีประสิทภาพ 2-การรายงานผลตามระยะเวลาที่กำหนด 3-แกนนำคณะทำงานมีศักยภาพสามารถดำเนิการโครงการได้สำเร็จ

100.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
1 กิจกรรมร่วมกับสสส. กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 58 9,650.00 12 9,800.00
12 เม.ย. 65 เวทีพัฒนาข้อเสนอโครงการย่อยฯ ประจำปี 65 3 400.00 400.00
26 เม.ย. 65 เปิดบัญชีธนาคาร 0 0.00 500.00
5 พ.ค. 65 เวที่ปฐมนิเทศโครงการย่อยฯปี65 3 400.00 400.00
21 พ.ค. 65 เวทีเรียนรู้การจัดการทำรายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบ 2 400.00 400.00
1 มิ.ย. 65 การจัดทำป้ายไวนิลโครงการและไวนิลเขตปลอดบุหรี่ 1 1,400.00 1,400.00
17 ก.ย. 65 เวทีแลกเปลียนเรียนรู้นำเสนอผลการดำเนินงาน 3 400.00 400.00
22 ต.ค. 65 เวทีพัฒนาศักยภาพโครงการย่อยฯ 1 400.00 400.00
6 พ.ย. 65 เวทีพัฒนาศักยภาพการสื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อการเผยแพร๋/ขยายผลการดำเนินงานของโครงการย่อย 2 500.00 500.00
1 ธ.ค. 65 เวที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 10 1,000.00 1,000.00
22 ม.ค. 66 พัฒนาศักยภาพโดยหน่วยจัดการ 3 1,400.00 1,400.00
16 ก.พ. 66 เวทีสรุปผลการดำเนินงานของโครงการ 20 1,000.00 1,000.00
25 ก.พ. 66 กิจกรรมทำรายงานโครงการ 10 2,000.00 2,000.00
1 มี.ค. 66 พัฒนาศักยภาพทีมงานตำบลเกะรอ 0 350.00 -
2 จัดตั้งคณะทำงานโครงการและประชุมคณะทำงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 80 8,000.00 4 8,000.00
10 มิ.ย. 65 ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจโครงการร่วมกัน แบ่งบทบาทหน้าที่ พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน 20 2,000.00 2,000.00
20 ส.ค. 65 สรุปข้อมูลการติดตามครั้งที่ 1 20 2,000.00 2,000.00
10 พ.ย. 65 สรุปข้อมูลการติดตามครั้งที่ 2 20 2,000.00 2,000.00
1 มี.ค. 66 ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ 20 2,000.00 2,000.00
3 ให้ความรู้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน 3 แห่ง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 120 22,800.00 3 22,800.00
29 มิ.ย. 65 ให้ความรู้เรื่องการป้องกันและการเผ้าระวังอุบ้ติเหตุทางท้องถนน ครั้งที่ 1 40 7,600.00 7,600.00
6 ก.ค. 65 ให้ความรู้เรื่องการป้องกันและการเผ้าระวังอุบ้ติเหตุทางท้องถนน ครั้งที่ 2 40 7,600.00 7,600.00
27 ก.ค. 65 ให้ความรู้เรื่องการป้องกันและการเผ้าระวังอุบ้ติเหตุทางท้องถนน ครั้งที่ 3 40 7,600.00 7,600.00
4 จัดอบรมพัฒนาคณะทำงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 40 8,200.00 1 8,200.00
20 ก.ค. 65 จัดอบรม เรื่องการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุในชุมชนและแนวทางการป้องกัน 40 8,200.00 8,200.00
5 การติดตามประเมิน ARE กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 60 6,000.00 3 6,000.00
1 ก.ค. 65 ติดตามประเมินการดำเนินงาน คปถ. ARE1 20 2,000.00 2,000.00
18 พ.ย. 65 ติดตามประเมินการดำเนินงาน คปถ. ARE2 20 2,000.00 2,000.00
1 ก.พ. 66 ติดตามประเมินการดำเนินงาน คปถ. ARE3 20 2,000.00 2,000.00
6 อบรมให้ความรู้เรื่อง กฎจราจรและการขับขี่อย่างปลอดภัย จำนวน 10 ชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 200 32,000.00 10 32,000.00
22 ก.ค. 65 อบรมให้ความรู้ประชาชนในพื้นที่ และรณรงค์การทำ พ.ร.บ (FR เปิดกิจกรรมต่อ พรบ.ในชุมชนต่อ) ครั้งที่1 20 3,200.00 3,200.00
19 ส.ค. 65 อบรมให้ความรู้ประชาชนในพื้นที่ และรณรงค์การทำ พ.ร.บ (FR เปิดกิจกรรมต่อ พรบ.ในชุมชนต่อ) ครั้งที่่2 20 3,200.00 3,200.00
18 ต.ค. 65 อบรมให้ความรู้ประชาชนในพื้นที่ และรณรงค์การทำ พ.ร.บ (FR เปิดกิจกรรมต่อ พรบ.ในชุมชนต่อ)ครั้งที่ 3 20 3,200.00 3,200.00
21 ต.ค. 65 อบรมให้ความรู้ประชาชนในพื้นที่ และรณรงค์การทำ พ.ร.บ (FR เปิดกิจกรรมต่อ พรบ.ในชุมชนต่อ)ครั้งที่ 4 20 3,200.00 3,200.00
28 ต.ค. 65 อบรมให้ความรู้ประชาชนในพื้นที่ และรณรงค์การทำ พ.ร.บ (FR เปิดกิจกรรมต่อ พรบ.ในชุมชนต่อ) ครั้งที่ 5 20 3,200.00 3,200.00
4 พ.ย. 65 อบรมให้ความรู้ประชาชนในพื้นที่ และรณรงค์การทำ พ.ร.บ (FR เปิดกิจกรรมต่อ พรบ.ในชุมชนต่อ) ครั้งที่ 6 20 3,200.00 3,200.00
18 พ.ย. 65 อบรมให้ความรู้ประชาชนในพื้นที่ และรณรงค์การทำ พ.ร.บ (FR เปิดกิจกรรมต่อ พรบ.ในชุมชนต่อ) ครั้งที่ 7 20 3,200.00 3,200.00
25 พ.ย. 65 อบรมให้ความรู้ประชาชนในพื้นที่ และรณรงค์การทำ พ.ร.บ (FR เปิดกิจกรรมต่อ พรบ.ในชุมชนต่อ) ครั้งที่ 8 20 3,200.00 3,200.00
2 ธ.ค. 65 อบรมให้ความรู้ประชาชนในพื้นที่ และรณรงค์การทำ พ.ร.บ (FR เปิดกิจกรรมต่อ พรบ.ในชุมชนต่อ) ครั้งที่ 9 20 3,200.00 3,200.00
16 ธ.ค. 65 อบรมให้ความรู้ประชาชนในพื้นที่ และรณรงค์การทำ พ.ร.บ (FR เปิดกิจกรรมต่อ พรบ.ในชุมชนต่อ) ครั้งที่ 10 20 3,200.00 3,200.00
7 การปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 11,500.00 1 11,500.00
15 - 22 มี.ค. 66 ชุมชนช่วยกันลงมือปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตรายตามแผนที่ได้วางไว้จากข้อมูลที่ชุมชนได้ร่วมกันวิเคราะห์ 1. ชุมชนสามารถปรับปรุงได้เอง - ติดป้ายเตือนผู้ใช้รถ ป้ายทางแยก ป้ายทางโค้ง ป้ายลดความเร็วในชุมชน โดย จัดทำ(ป้ายเตือนผู้ใช้รถ) และการลงพื้นที่ปรับภูมิทัศตามจุดเ 0 11,500.00 11,500.00
23 ก.พ. 66 จัดเวทีพุดคุยผู้ประกอบการที่มีส่วนในการเกิดอุบัติหตุทางท้องถนน - จัดเวทีเพื่อให้คณะทำงานและสมาชิกถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รายงานสรุปผลการดำเนินงาน 100 13,000.00 13,000.00
100 13,000.00 1 13,000.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1-เกิดคณะทำงานด้านการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน จากหน่วยงานต่างๆในพื้นที่ 2-อุบัติเหตุทางถนนที่ลดลง 3-การจัดการความรู้ด้านการจราจร 4-เกิดการรณรงค์การทำ พ.ร.บ.ภาคบังคับ

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 พ.ค. 2565 10:21 น.