directions_run

(08)บ้านวัดประเดิมมีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วยการการจัดการโรคเรื้อเรื้อรังแนวใหม่

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ (08)บ้านวัดประเดิมมีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วยการการจัดการโรคเรื้อเรื้อรังแนวใหม่
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดชุมพร
รหัสโครงการ 65-00240-0008
วันที่อนุมัติ 30 เมษายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2565 - 30 เมษายน 2566
งบประมาณ 80,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชุมชนวัดประเดิม
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุภาวดี นนทรี
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0819783739
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นางวีรวรรณ ลิ่มทอง
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนวัดประเดิม อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2565 30 ก.ย. 2565 1 พ.ค. 2565 30 ก.ย. 2565 32,000.00
2 1 ต.ค. 2565 28 ก.พ. 2566 1 ต.ค. 2565 28 ก.พ. 2566 44,000.00
3 1 มี.ค. 2566 30 เม.ย. 2566 1 มี.ค. 2566 30 เม.ย. 2566 4,000.00
รวมงบประมาณ 80,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

1.1 สถานการณ์ปัญหาของพื้นที่
  บ้านวัดประเดิม ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต.ตากแดด อ.เมือง จ.ชุมพร 86000 สมัยโบราณเชื่อวันว่าเป็นเมืองดั้งเดิมของจังหวัดชุมพร ซึ่งมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นสิ่งเก่าแก่ยังปรากฎ คือ พระปรางค์ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ วัดประเดิม นอกจากนั้นยังมีวัตถุโบราณอีกมากมายที่แสดงว่าบริเวณพื้นที่แห่งนี้เป็นที่อาศัยของผู้คน เป็นชุมชนโบราณ เช่น มีเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ประกอบอาชีพทำมาหากิน ซึ่งปัจจุบันได้เก็บรักษาไว้ ณ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นวัดประเดิม และชุมชนแห่งนี้ยังเป็นที่ตั้งของวัด ซึ่งได้ร้างไปแล้วอีกหลายวัด เช่น วัดแหลม วัดแจ้ง วัดนอก วัดใน วัดท่าศาลา และยังมีพระเสื้อเมือง พระหลักเมืองอีกด้วย บ้านวัดประเดิม มีพื้นที่ทั้งหมด 1,640 ไร่
ลักษณะภูมิประเทศ บ้านวัดประเดิม หมู่ที่ 2 ตำบลตากแดด อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร ห่างจากอำเภอเมืองชุมพร ไปทางทิศใต้ ระยะทาง 3 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ เทศบาลเมืองชุมพร ทิศใต้ ติดต่อกับ คลองชุมพร ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ทางรถไฟสายใต้ หมู่ที่ 4 ทิศตะวันตก ติดต่อกับ คลองชุมพรและเทศบาลเมืองชุมพร จำนวนประชากรรวมทั้งสิ้น 628 คน แยกเป็น ชาย 283 คน หญิง 345 คน ผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) รวมทั้งสิ้น 154 คน แยกเป็น ชาย 65 คน หญิง 89 คน คนพิการรวมทั้งสิ้น 11 คน แยกเป็น ชาย 7 คน หญิง 4 คน จำนวนครัวเรือน 380 ครัวเรือน ประกอบอาชีพหลัก เกษตรกร 314 ครัวเรือน อาชีพรับราชการ 22 ครัวเรือน อาชีพรับจ้างทั่วไป 22 ครัวเรือน อาชีพค้าขาย 15 ครัวเรือน ประกอบอาชีพเสริมหรืออาชีพรอง อาชีพเลี้ยงไก่-เลี้ยงเป็ด เลี้ยงวัว จำนวน 40 ครัวเรือน หมู่บ้านมีรายได้ 30,314,900 บาท/ปี รายได้เฉลี่ยของประชากร (ตามเกณฑ์ จปฐ. ปี2562) จำนวน 88,124.74 บาท/คน/ปี ครัวเรือนยากจน (รายได้ไม่ถึง 38,000 บาท/คน/ปี) ปี 2562 จำนวน 344 ครัวเรือน รายได้จากอาชีพหลัก 73,563.81 บาท/คน/ปี รายได้จากอาชีพรอง 6,48.26 บาท/ปี/คน รายได้อื่นๆ 3,288.23 บาท/คน/ปี รายได้ครัวเรือนเฉลี่ย 275,590 บาท/คน/ปี
บ้านวัดประเดิม มีกลุ่มอาชีพ กลุ่มเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 20 คน กลุ่มปลูกผักตัดยอด 25 คน มีกองทุนสวัสดิการชุมชน มีจำนวนสมาชิก 114 คน กองทุนแม่ของแผ่นดิน มีงบประมาณ 34,440.77 บาท กองทุน กขคจ มีงบประมาณ 200,000 บาท
คมนาคม/สาธารณูปโภค
การเดินทางเข้าหมู่บ้าน มีถนนลาดยาง 1 คน ระยะทาง 2 กม. ถนนคอนกรีต จำนวน 8 เส้น ระยะทาง 8 กม. ห่างจากว่าการอำเภอ ระยะทาง 3 กม. มีไฟฟ้าใช้ครบทุกครัวเรือน มีศาลาประชาคม จำนวน 1 แห่ง แหล่งน้ำ มีคลอง จำนวน 2 แห่ง สระน้ำ จำนวน 1 แห่ง สถานที่สำคัญในหมู่บ้าน มีวัดประเดิม พระปรางค์ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ศูนย์วัฒนาธรรมเฉลิมราชพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นวัดประเดิม พระเสื้อเมือง พระหลักเมือง
การศึกษาและศาสนา ประถมศึกษา จำนวน 258 คน มัธยมศึกษา จำนวน 203 คน อนุปริญญา จำนวน 109 คน ปริญญาตรี จำนวน 52 คน สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 6 คน ทุกครัวเรือนนับถือศาสนาพุทธ ภูมิปัญญาชาวบ้าน
1. แพทย์แผนไทย/สมุนไพร/หมอพื้นบ้าน คือ น.ส.สุชิน ชัยชนะพิศ
2. ผู้อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม/ประเพณีท้องถิ่น คือ นายชูเกียรติ เทพมณฑา
3. ผู้มีความรู้ด้านเกษตร คือ นายบัญญัติ ลิ่มศิริ 4. ผู้มีความรู้ด้านการบริหารจัดการกลุ่มฝีมือต่างๆ คือ นางลมัย กาญจนกร 5. ผู้มีความรู้ด่านพิธีกรทางศาสนา คือ นายชูเกียรติ เทพมณฑา
ศิลปะวัฒนาธรรม/ประเพณีที่สำคัญ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีแห่งพระราชทานห่างพระปรางค์วัดประเดิม
“วันวิสาขบูชา” ปัจจุบันหมู่บ้านได้มีการปรับปรุงพื้นที่สระน้ำหนองหลวง ในพื้นทั้งหมด 9 ไร่ ให้เป็นที่ออกกำลังกาย และพักผ่อน โดยมีการสร้างถนนคอนกรีตรอบหนองน้ำ มีห้องน้ำ มีการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้ประชาชนที่ได้ใช้ประโยชน์
ประชาชนในชุมชน เป็นผู้สูงอายุมากขึ้น จึงไม่สามารถรวมกลุ่มทำกิจกรรมได้ เด็ก - เยาวชน ขาดการปลูกฝังในเรื่องประเพณี วัฒนาธรรมที่ดี ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาผลผลิตให้มีคุณภาพ ขาดการรวมกลุ่มด้านการตลาด และขาดงบประมาณ ขาดบุคลากรที่เสียสละเวลา ชุมชนต้องการให้มีการสร้างอาชีพ ลดต้นทุนการผลิต ส่งเสริมการออม ส่งเสริมการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง รวมกลุ่มกันทำกิจกรรมใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ร่วมกันอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมให้คงอยู่ไว้สืบไป ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาได้ประเด็นที่สอดคล้องกันในส่วนของประเด็นสุขภาวะต่างๆ โดยการวิเคราะห์ความสำคัญของปัญหา แล้วนำมาวิเคราะห์ของปัญหาในรูปแบบของต้นไม้ปัญหา นำปัญหาที่ได้จาการวิเคราะห์ รายด้านทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และสุขภาพ แล้วนำมาเรียงลำดับความสำคัญของปัญหา ตามแผนภูมิที่ 1 และช่วยกันหาแนวทางแก้ไขร่างเป็นกิจกรรม ย่อย ๆ พร้อมทั้งมอบหมายหน้าที่ของแกนนำชุมชนจำนวน 20 คนที่เป็นอาสาสมัครเป็นแกนนำชุมชนครั้งนี้ ตามแผนภูมิที่ 2 ช่วยกันจัดทำแผนโดยมีนักวิชาการช่วยดำเนินการ มีการพูดคุยกัน 2 ครั้งเพื่อทบทวนปัญหา และนำข้อมูลชุมชนมาหนุนเสริมในการจัดทำโปรแกรมผลลัพธ์ และบันไดผลลัพธ์ เพื่อจัดทำข้อเสนอโครงการต่อไป
    แผนภูมิที่ 1  การลำดับความสำคัญของปัญหา ปัญหา ขนาด ความรุนแรง ความตระหนัก ความยากง่าย รวม รายได้น้อย 3 2 2 2 9 ขาดความร่วมมือจากผู้นำชุมชน 3 3 3 1 10 โรคเรื้อรัง 4 4 4 3 15

แผนภูมิที่ 2 รายนามคณะกรรมการจัดทำโครงการ ลำดับที่ รายชื่อ บทบาทหน้าที่ เบอร์โทร 1 น.ส.สุภาวดี นนทรี ผู้รับผิดชอบโครงการ (อสม.) 0819789739 2 นายขวัญชัย กิจติโก รองประธานโครงการ (ผช.ผญ.) 0876226157 3 นางปัญญา ยังสวัสดิ์ เลขานุการโครงการ (ผช.ผญ.) 0981403096 4 นางปราณี ลิ้มศิริ ประชาสัมพันธ์โครงการ 0831806204 5 นายอุบล พุ่มสวัสดิ์ เหรัญญิก 0817970379 6 นางอุไร กาญจนากร กรรมการ 0828211687 7 นางอุษา จันทร์ส่องแสง กรรมการ 0839676795 8 นางรัตนา ยังสวัสดิ์ กรรมการ 0655935937 9 นางวิไลวรรณ กาญจนากร กรรมการ 0862911955 10 นางดรุณี อินทรจันทร์ กรรมการ
11 นางชญาดา ผลคิด กรรมการ (ประธาน อสม.) 0862771399 12 นางเหมือนขวัญ ชมอินทร์ กรรมการ 0660577659 13 นางมาลีนี จิตณรงค์ กรรมการ 0963272684 14 นางจิตติมา ทองเจริญ กรรมการ 0631492628 15 นางห้วย อุปมา กรรมการ - 16 นางเยาวภา แดงสนิท กรรมการ - 17 นางเก็บฟ้า ทวีบุญ กรรมการ 0816913033

รายนามคณะที่ปรึกษากิตติมาศักดิ์ ลำดับที่ รายชื่อ บทบาทหน้าที่ เบอร์โทร 1 นางเยาวดี แดงสนิท ที่ปรึกษา (ผู้ใหญ่บ้าน) 0841242642 2 นายชูเกียรติ เทพมลฑา ที่ปรึกษา (อบต.) 0907041582 3 ดต.พิมล พรหมพานิช ที่ปรึกษา - 4 นางสุดสวรรณ เพชรคง ที่ปรึกษา (ผอ. รพ.สต.) 0862680006 5 นายจำนงค์ อ้นทอง ที่ปรึกษา (นายก อบต.) 0638095240

สาเหตุของปัญหา โดยมีข้อมูลสนับสนุนที่ชัดเจน ในการจัดทำโครงการชุมชนในครั้งนี้ ได้มีการทำการวิเคราะห์ปัญหา การทำต้นไม้ปัญหา นำปัญหาที่ได้จากการวิเคราะห์รายลำดับความสำคัญของปัญหา จึงได้พูดคุยกันในเวทีประชุมประจำเดือนของบ้านประเดิม หมู่ที่ 2 โดยมีนางเยาวดี โคกแก้ว    เป็นผู้ใหญ่บ้าน นำเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาในภาพรวม โดยแกนนำของชุมชน ช่วยกันหาแนวทางแก้ไขร่างเป็นกิจกรรมย่อย พร้อมทั้งมอบหมายหน้าที่ของแกนนำ จำนวน 17 คน ที่เป็นอาสาสมัครเป็นแกนนำชุมชนครั้งนี้ และมีที่ปรึกษา ช่วยกันทำแผน โดยมีนักวิชาการ มาช่วยดำเนินการพูดคุยกัน 2 ครั้ง เพื่อทบทวนปัญหาและนำข้อมูลชุมชนมาหนุนเสริมในการจัดทำโปรแกรมผลลัพธ์ และบันไดผลลัพธ์ เพื่อจัดทำข้อเสนอโครงการต่อไป ข้อมูลของชุมชนบ้านวัดประเดิม พบว่ามีผู้สูงอายุ รวมทั้งสิ้น 154 คน แยกเป็น ชาย 65 คน หญิง 89 คน คนพิการรวมทั้งสิ้น 11 คน แยกเป็น ชาย 7 คน หญิง 4 คน ซึ่งพบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะเป็นโรคเรื้อรังและติดบ้าน แต่ยังไม่มีข้อมูลยืนยันชัดเจน ต้องหาข้อมูลเพิ่มเติม ผลการวิเคราะห์ต้นไม้ปัญหาในการดำเนินงานครั้งนี้ พบว่าสาเหตุในด้านต่างๆ ประกอบด้วย 1)ด้านพฤติกรรมจากคนส่วนใหญ่ไม่ออกกำลังกาย ขาดความรู้ด้านโภชนาการที่ถูกต้อง รับประทานอาหารไม่ถูกต้องและไม่ควบคุมอาหาร(กินอาหารหวาน มัน เค็ม) นอนน้อย (ติดละคร80%) มีสิ่งเสพติดบ้าง (กินเหล้า,สูบบุหรี่, กินหมาก) ขาดความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ มีภูมีปัญญา (ฝีมือ,อาหาร,การแสดง) มีประเพณีวัฒนธรรม (ชอบช่วยเหลือ) 2) ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ พบว่า สิ่งแวดล้อมทางด้านสังคมพบว่าขาดการมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม ขาดกติกา และไม่ให้ความสำคัญของการรวมกลุ่ม และมีการใช้เคมีทางการเกษตร 3) ด้านกลไก พบว่า พัฒนาชุมชนอำเภอเมือง กศน. กองทุนพัฒนาสตรีอำเภอ เกษตรอำเภอ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีหน่วยที่เป็นแรงเสริม ประกอบด้วย อบต.ตากแดดให้การสนับสนุน พจม. สนับสนุนผู้พิการ/ผู้ป่วยติดเตียง ผู้สูงอายุ อสม.ดูแลสุขภาพเบื้องต้น ภายใต้การส่งเสริมของภาครัฐ และมีแรงต้านเรื่อง ขาดการหนุนเสริมบางกลุ่มและนโยบายด้านการช่วยเหลือมีข้อจำกัด จะเห็นได้ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน ทำให้เกิดผลกระทบกับส่วนต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้สูงอายุและครอบครัว ประกอบด้วยด้านสุขภาพทำให้เกิดโรคเรื้อรังต่าง ๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และ โรคอ้วน ถ้าควบคุมไม่ได้จะเกิดโรคแทรกซ้อนขึ้น เช่น อัมพาต/อัมพฤต โรคไต พิการ ติดเตียง และสุขภาขภาพจิต เป็นต้น ซึ่งนำไปสู่ความเสียหายทางเศรษฐกิจ ที่พบว่า ผู้สูงอายุต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา เสียเวลารอคอย ขาดรายได้ และด้านสังคม พบว่ามีความขัดแย้งของคนในครอบครัว ลูกหลานขาดรายได้ เป็นภาระของสังคม และหน่วยงานไม่สามารถดูแลได้ทั่วถึง ด้านสิ่งแวดล้อม พบว่ามีการใช้สารเคมีทางเกษตร และไม่คัดแยกขยะและกำจัดโดยการเผาเป็นส่วนใหญ่ 1.2 แนวทางการแก้ไขปัญหาที่จะเสนอในโครงการนี้ เนื่องจากในชุมชนมีผู้สูงอายุทั้งสิ้น 154 คน แยกเป็น ชาย 65 คน หญิง 89 คน คนพิการรวมทั้งสิ้น 11 คนผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะเป็นโรคเรื้อรังและติดบ้าน (ยังไม่มีข้อมูลยืนยันชัดเจน) และในครัวเรือนของผู้สูงอายุจะมีวัยแรงงานที่เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุและเยาวชน จึงมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคเรื้อรังในอนาคต ถ้ายังมีพฤติกรรมไม่ถูกต้องในการใช้ชีวิตประจำวัน ภายใต้สถานการณ์ของโลกในปัจจุบัน คณะกรรมการหมู่บ้านเห็นความสำคัญของเรื่องโรคเรื้อรังดีเนื่องจากในครัวเรือนของผู้สูงอายุและผู้ป่วย ถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง และที่ผ่านมามีการคัดกรองเบื้องต้น (บุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป) โดยอาสาสมัครสาธารณสุข แต่ไม่ได้ใช้ข้อมูลให้เป็นประโยชน์เท่าที่ควร (ไม่มีฐานข้อมูลในชุมชน) จากการวิเคราะห์ปัญหาครั้งนี้ทำให้ชุมชนตระหนักที่จะดำเนินการลดโรคเรื้อรังในกลุ่มเสี่ยงและผู้สูงอายุ ด้วยการจัดตั้งคณะทำงาน การสำรวจข้อมูลชุมชนเพิ่มเติมและจัดทำฐานข้อมูล พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ประชุมชี้แจงประชาชนในชุมชนพร้อมทั้งสื่อสารด้วยการใช้บอกต่อและไลน์หมู่บ้าน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นในการทำกิจกรรมที่มีทั้งด้านกิจกรรมทางกาย จิต สังคม กำหนดกติกากลุ่มและประกาศใช้ และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น รพ.สต.ตากแดด/สาธารณสุขอำเภอเมือง ในเรื่องการให้ความรู้ด้านสุขภาพ ท้องถิ่นและท้องที่ในเรื่องการอำนวยความสะดวกช่วยประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและภาคเอกชนในการขอสนับสนุนทรัพยากรตามความเหมาะสม เป็นต้น และหน่วยงานเกษตรและพัฒนาชุมชนในการให้ความรู้และสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในการพัฒนาฝีมือ/อาชีพเสริมให้กับคนในชุมชน นอกจากนี้ยังมีสำนักงานจังหวัด วัฒนธรรมจังหวัดและหน่วยงานอื่น ๆ เพื่อการฟื้นฟู ศิลปะวัฒนธรรมชุมชนที่เป็นประวัติศาสตร์ของคนชุมพรให้เป็นที่รู้จัก และเป็นแหล่งท่องเที่ยวชุมชนต่อไป 1.3 การดำเนินงานโครงการจะทำให้เกิดประโยชน์ต่อการสร้างเสริมสุขภาพ โดยมีเป้าหมายในระยะสั้นที่ต้องการให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี ลดปัจจัยเสี่ยง เพิ่มปัจจัยเสริมด้านสุขภาพชุมชน เกิดกลไกการสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่อย่างเ พร้อมทั้งลดอัตราเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ซึ่งจะส่งผลต่อผลลัพธ์ระยะยาวที่ต้องการให้ผู้สูงอายุและประชาชนในชุมชนมีการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ความสัมพันธ์ทางสังคมและมีสิ่งแวดล้อมที่ดี สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ระดับจังหวัดและระดับชาติ

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มตั้งแต่อายุ 35 ปีขึ้นไป 220 -
แกนนำชุมชน 30 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ค. 65มิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65ต.ค. 65พ.ย. 65ธ.ค. 65ม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66เม.ย. 66
1 พัฒนาศักยภาพจัดเวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อเรียนรู้และพัฒนางบโครงการ สสส.(1 พ.ค. 2565-30 เม.ย. 2566) 9,500.00                        
2 จัดตั้งคณะทำงาน(28 มิ.ย. 2565-28 มิ.ย. 2565) 5,700.00                        
3 ประชุมชี้แจงในเวลาและประชุมประจำเดือน(1 ก.ค. 2565-1 ก.ค. 2565) 3,500.00                        
4 รณรงค์การรู้โรคเรื้อรังอย่างมีส่วนร่วมในและนอกพื้นที่(20 ก.ค. 2565-20 ก.ค. 2565) 7,800.00                        
5 จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส อาหารปลอดภัย ออกกำลังกายที่เหมาะสม และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์(15 ส.ค. 2565-15 ส.ค. 2565) 6,200.00                        
6 สำรวจ/ทบทวนปัญหาชุมชน 2 ครั้ง(26 ก.ย. 2565-26 ก.ย. 2565) 3,130.00                        
7 ปฏิบัติการในพื้นที่จริง ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส อาหารปลอดภัย ออกกำลังกายที่เหมาะสมและการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์(5 ต.ค. 2565-5 ต.ค. 2565) 15,870.00                        
8 กิจกรรมติดตามเยี่ยม เสริมพลังและประเมินผลลัพธ์ บุคคต้นแบบ(30 พ.ย. 2565-30 พ.ย. 2565) 4,000.00                        
9 จัดเวทีสรุปบทเรียนและคืนข้อมูลชุมชน(14 ธ.ค. 2565-14 ธ.ค. 2565) 14,400.00                        
10 จัดเวทีประชาคมและประกาศกติกาชุมชนและติดตามผล(15 ธ.ค. 2565-15 ธ.ค. 2565) 5,600.00                        
11 ประสานภาคีเครือข่ายเพื่อการมีส่วนร่วม(17 ม.ค. 2566-17 ม.ค. 2566) 0.00                        
12 เวทีถอดบทเรียนการจัดการความรู้โรคเรื้อรังและคัดเลือกบุคคลคนแบบ(20 ก.พ. 2566-20 ก.พ. 2566) 4,800.00                        
รวม 80,500.00
1 พัฒนาศักยภาพจัดเวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อเรียนรู้และพัฒนางบโครงการ สสส. กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 29 9,500.00 13 9,900.00
4 - 5 มิ.ย. 65 ปฐมนิเทศโครงการ 3 1,200.00 1,200.00
15 มิ.ย. 65 จัดทำป้ายสถานที่นี้ปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 0 1,000.00 1,000.00
20 - 21 ส.ค. 65 สื่อสร้างสรรค์ภาคใต้ตอนบน 1 500.00 500.00
26 ต.ค. 65 สมัชชาพลเมืองจังหวัดชุมพร 5 1,000.00 1,000.00
30 ต.ค. 65 การพัฒนาระบบการจัดกิจกรรมออนไลน์ 1 200.00 200.00
30 ต.ค. 65 พบพี่เลี้ยงเพื่อการตรวจสอบเอกสารการเงิน และรายงาน Online 2 400.00 400.00
31 ต.ค. 65 ประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย สสส. (Node Flagship Chumphon) 2 400.00 400.00
10 มี.ค. 66 พบพี่เลี้ยงเตรียมเวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการพัฒนา (ครั้งที่ 1) 2 0.00 400.00
19 มี.ค. 66 ร่วมกิจกรรมกับเครือข่าย ชุมชนวัดโพธิการาม 4 800.00 800.00
10 เม.ย. 66 ประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย สสส. (Node Flagship Chumphon) 2 400.00 400.00
23 เม.ย. 66 ร่วมกิจกรรมกับเครือข่าย ชุมชนวัดโพธิการาม 4 1,200.00 1,200.00
27 เม.ย. 66 พบพี่เลี้ยงก่อนจบโครงการ (ครั้งที่ 2) 2 400.00 400.00
30 เม.ย. 66 จัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้า 1 2,000.00 2,000.00
2 จัดตั้งคณะทำงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 101 5,700.00 7 5,700.00
28 มิ.ย. 65 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 20 1,500.00 1,500.00
24 ต.ค. 65 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเพื่อการเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานที่ 20 2,200.00 2,200.00
30 ต.ค. 65 คืนเงินเปิดบัญชี 1 500.00 500.00
20 พ.ย. 65 จัดเวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการพัฒนา ครั้งที่ 1และประชุมประจำเดือนครั้งที่ 3 20 500.00 500.00
28 ธ.ค. 65 ดำเนินงานตามแผนที่กำหนดและติดตามประเมินผล 20 0.00 0.00
20 มี.ค. 66 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 9 และARE3 20 500.00 500.00
27 มี.ค. 66 หักเงินยืมเปิดบัญชีโครงการ 0 500.00 500.00
14 มิ.ย. 66 จัดเวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการพัฒนา ครั้งที่ 3 0 0.00 -
3 ประชุมชี้แจงในเวลาและประชุมประจำเดือน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 140 3,500.00 8 3,500.00
12 พ.ย. 65 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 20 500.00 500.00
10 ธ.ค. 65 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 20 500.00 500.00
24 ธ.ค. 65 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 10 0 0.00 500.00
10 ม.ค. 66 ประชุมคณะทำงาน ครั้ง 5 20 500.00 500.00
18 ม.ค. 66 จัดเวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการพัฒนา ครั้งที่ 2 และประชุมประจำเดือนครั้งที่ 6 20 500.00 500.00
2 ก.พ. 66 ประชุมคณะทำงาน ครั้ง 7 20 500.00 500.00
5 มี.ค. 66 ประชุมคณะทำงาน ครั้ง 8 20 500.00 500.00
26 เม.ย. 66 ประชุมคณะทำงาน ครั้ง 10 20 500.00 0.00
4 รณรงค์การรู้โรคเรื้อรังอย่างมีส่วนร่วมในและนอกพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 20 7,800.00 1 7,800.00
9 ต.ค. 65 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้นอกชุมชนกับพื้นที่ต้นแบบผู้สูงอายุ 20 7,800.00 7,800.00
5 จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส อาหารปลอดภัย ออกกำลังกายที่เหมาะสม และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 70 6,200.00 1 6,200.00
15 ส.ค. 65 อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส อาหารปลอดภัย ออกกำลังกายที่เหมาะสม และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 70 6,200.00 6,200.00
6 สำรวจ/ทบทวนปัญหาชุมชน 2 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 250 3,130.00 1 3,130.00
26 ก.ย. 65 สำรวจข้อมูล/ทบทวนสถานการณ์สุขภาพ 250 3,130.00 3,130.00
7 ปฏิบัติการในพื้นที่จริง ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส อาหารปลอดภัย ออกกำลังกายที่เหมาะสมและการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 80 15,870.00 3 15,870.00
5 ต.ค. 65 ร่วมกันปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณพื้นที่กลาง 20 2,070.00 2,070.00
21 ม.ค. 66 ปฏิบัติการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชด้วยการการปลูกผักสวนครัว 30 7,800.00 7,800.00
4 มี.ค. 66 ปฏิบัติการออกกำลังกาย 30 6,000.00 6,000.00
8 กิจกรรมติดตามเยี่ยม เสริมพลังและประเมินผลลัพธ์ บุคคต้นแบบ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 4,000.00 10 3,600.00
30 พ.ย. 65 ติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุทุกกลุ่ม 5 400.00 400.00
11 ธ.ค. 65 ติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุและผู้ป่วยในชุมชน ครั้งที่ 1 5 400.00 400.00
25 ธ.ค. 65 ติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุและผู้ป่วยในชุมชน ครั้งที่ 3 5 400.00 400.00
14 ม.ค. 66 ติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุและผู้ป่วยในชุมชน ครั้งที่ 4 5 400.00 400.00
28 ม.ค. 66 ติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุและผู้ป่วยในชุมชน ครั้งที่ 5 5 400.00 400.00
5 ก.พ. 66 ติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุและผู้ป่วยในชุมชน ครั้งที่ 6 5 400.00 400.00
19 ก.พ. 66 ติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุและผู้ป่วยในชุมชน ครั้งที่ 7 5 400.00 400.00
11 มี.ค. 66 ติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุและผู้ป่วยในชุมชน ครั้งที่ 8 5 400.00 0.00
8 เม.ย. 66 ติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุและผู้ป่วยในชุมชน ครั้งที่ 9 5 400.00 400.00
22 เม.ย. 66 ติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุและผู้ป่วยในชุมชน ครั้งที่ 10 5 400.00 400.00
9 จัดเวทีสรุปบทเรียนและคืนข้อมูลชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 180 14,400.00 1 14,400.00
30 เม.ย. 66 เวทีสรุปบทเรียนและคืนข้อมูลชุมชน 180 14,400.00 14,400.00
10 จัดเวทีประชาคมและประกาศกติกาชุมชนและติดตามผล กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 80 5,600.00 1 5,600.00
15 ธ.ค. 65 เวทีประชาคมเพื่อรับรองกติกาชุมชนและติดตามผล 80 5,600.00 5,600.00
11 ประสานภาคีเครือข่ายเพื่อการมีส่วนร่วม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0
12 เวทีถอดบทเรียนการจัดการความรู้โรคเรื้อรังและคัดเลือกบุคคลคนแบบ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 25 4,800.00 1 4,800.00
20 มี.ค. 66 คัดเลือกผู้นำต้นแบบ 25 4,800.00 4,800.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. คณะทำงานมีศักยภาพในการจัดการโรคเรื้อรัง
  2. เกิดความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายสุขภาพ
  3. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพเชิงรุก
  4. มีพื้นที่กลางในการจัดกิจกรรมชุมชน 5.มีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วยการลดอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรัง   - อัตราเจ็บป่วยโรคเรื้อรังลดลงร้อยละ 10   - มีบุคคลต้นแบบด้านการจัดการสุขภาพ จำนวน 5 คน   - เกิดรูปแบบการจัดการโรคเรื้อรังแนวใหม่
stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 ก.ค. 2565 12:32 น.