directions_run

(12)โครงการพัฒนาการผลิตพืชผักปลอดสารอย่างเป็นระบบและมีตลาดรองรับอย่างยั่งยืน

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อพัฒนาวิสาหิจชุมชนวรรณะเกษตรให้มีความสามารถในการบริหารจัดการองค์กรที่เข้มแข็งและมีการบริหารจัดการที่ดี
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 1.คณะทำงานมีการบริหารจัดการที่เข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจสามารถทำงานได้ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.2.เกิดแผนครัวเรือนและแผนธุรกิจ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.3 เกิดความร่วมมือกับหน่วยงาน
1.00 15.00

คณะทำงานมีการบริหารจัดการที่เข้มแข็ง เกิดการขยายการปลูกพืชผักปลอดภัยเพื่อบริโภคในครัวเรือนและการแปรรูปที่เป็นระบบ

1.มีคณะทำงานจำนวน 15 คน มาจาก กลุ่มแกนนำในชุมชนและ กลุ่มต่าง ๆ อสม ผู้สูงอายุ ผู้นำท้องที่ ท้องถิ่น คณะกรรมการวิสาหกิจวรรณะเกษตร คณะทำงานโครงการ 4 คน ที่ปรึกษา 2 คน 2.มีการร่วมมือกับภาคีในการทำกิจกรรม เช่น เกษตร อบต. มหาลัยแม่โจ้ กลุ่มกสิกรรมธรรมชาติ สวนบายใจ 1.มีผู้เชี่ยวชาญที่มีความสามารถในการผลิตพืชผักปลอดสารเพื่อการบริโภคเองได้ อย่างน้อยจำนวน 10 คน
2.มีครัวเรือนเข้าร่วมเพื่อการผลิดพืชผักปลอดสารจำนวน 25 ครัวเรือน 2.มีจุดรวบรวมสินค้า 1 แห่ง ใช้สถานที่ทำการวิสาหกิจชุมชนวรรณะเกษตร
4.มีผลผลิตที่หลากหลายสามารถนำมาแลกเปลี่ยนและแบ่งปันได้ในกลุ่ม

 

2 เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตพืชผักปลอดสารบ้านเขากล้วยเพื่อการบริโภคและสามารถขยายตลาดได้อย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ที่ 2 เกิดการขยายการปลูกพืชผักปลอดภัยเพื่อบริโภคในครัวเรือนและการแปรรูปที่เป็นระบบ รวมสินค้าที่เป็นระบบตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1. มีผู้เชี่ยวชาญในกระบวนการผลิต พืชผักปลอดสาร 10 คน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 มีการผลิตพืชผักปลอดภัย 22 ครัวเรือน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.3 ได้ผลผลิตที่มีความหลากหลาย เช่น ถั่ว แตง ถั่วพู มีตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.4 เกิดจุดรวมบ ผลลัพธ์ที่ 3 มีทุนหมุนเวียนและมีตลาดรองรับผลผลิตแบบยั่งยืน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 มีการขยายตลาด มีลูกค้ากลุ่มใหม่ จำหน่ายทั้งทาง On- line และการขายแบบ On- Site ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.2มีพันธมิตรทางการตลาดเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.3 เกิดครัวเรือนต้นแบบ 10 ครัวเรือน ผลลัพธ์ที่ 4 มีพื้นที่เกษตรการปลูกพืชผักปลอดภัยเพิ่มขึ้น 10% ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1.เกิดอาชีพและรายได้เพิ่มครัวเรือนละ 3,000 บาท ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.2 เพิ่มพื้นที่ปลูกผักปลอดสารได้ 22 แปลง และมีเกษตรกรเข้าร่วมเพิ่มขึ้น 22 ครัวเรือน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.3 มีแนวทางการพัฒนาวิสาหกิจและชุมชนอย่างมีระบบ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.4 มีพื้นที่เกษตรการปลูกพืชผักปลอดภัยเพิ่มขึ้น 10%
1.00 3,000.00

มีทุนหมุนเวียนและมีตลาดรองรับผลผลิตแบบยั่งยืน มีพื้นที่เกษตรการปลูกพืชผักปลอดภัยเพิ่มขึ้น 10%

  1. มีการขยายตลาด มีลูกค้ากลุ่มใหม่ จำหน่ายทั้งทาง On- line และการขายแบบ On- Site 2.มีพันธมิตรทางการตลาดเพิ่มขึ้นจากการเข้าร่วมทำกิจกรรม 3 มีครัวเรือนต้นแบบ 10 ครัวเรือน 1.มีเกษตรกรเขาร่วมเพื่อปลูกผักแบบปลอดสารไว้ทานในครัวเรือน จำนวน 25 ครัวเรือน 2.มีแนวทางพัฒนาวิสาหกิจที่เป็นระบบมากขึ้น