directions_run

โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดตรัง


“ โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน ”

ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายไพบูลย์ หนูอินทร์

ชื่อโครงการ โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน

ที่อยู่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-00-0144-0009 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 31 พฤษภาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-00-0144-0009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 31 พฤษภาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์(Complete Aged Society) ในปี พ.ศ. 2564 ประชากร สูงอายุจะมีถึง 1 ใน 5 ทั้งนี้ในปี 2562 เป็นครั้งแรกที่ประเทศไทยมีประชากรสูงอายุมากกว่าประชากรวัยเด็ก และจะเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” (Super Aged Society) ในอีกไม่ถึง 20 ปี(พ.ศ 2578) ซึ่งโครงสร้าง อายุของประชากรที่เปลี่ยนไปนี้เท่ากับเป็นการเปลี่ยนโครงสร้างของสังคมโดยรวมด้วย สถานการณ์ประชากรผู้สูงอายุไทยในปี 2565มีผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 12.12 ล้านคน คิด เป็นร้อยละ 18.3 ของประชากรไทยทั้งหมด เมื่อจำแนกประเภทผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ประมาณร้อย ละ 96 ของจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมดคือ ผู้สูงอายุที่สามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่ต้องพึ่งผู้อื่น (กลุ่มติดสังคม) โดยส่วน ใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 60-69 ปี อีกประมาณร้อยละ 2 เป็นผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งผู้อื่นในบางกิจกรรมของกิจกรรมของ กิจวัตรประจำวัน (กลุ่มติดบ้าน) และผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นทั้งหมด(ติดเตียง)ประมาณร้อยละ 1 โดยส่วนใหญ่อยู่ ในวัยมากกว่า 80 ปี ซึ่งผู้สูงอายุในช่วยวัยปลายหรืออายุตั้งแต่ 80 ปีขึ้นไปนั้น มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จึงสะท้อนถึง การเพิ่มขึ้นของประชากรที่อยู่ในวัยพึ่งพิงทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคมและสุขภาพ แม้ว่าประชากรไทยจะมีอายุยืนยาวขึ้น แต่กลับตามมาด้วยการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังยาวนานขึ้น และ โอกาสที่จะอยู่ในภาวะพึ่งพิงเนื่องมาจากการมีทุพพลภาพและผู้สูงอายุที่อยู่ลำพังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยปัญหา สำคัญของผู้สูงอายุ คือ ประเด็นสุขภาพและด้านเศรษฐกิจ ซึ่งด้านสุขภาพจากผลการสำรวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2557 พบว่าผู้สูงอายุร้อยละ 95 มีปัญหาสุขภาพด้วยโรคเรื้อรังต่างๆ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคข้ออักเสบ ข้อเสื่อม โรคถุงลมโป่งพอง โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ กล้ามเนื้อหัวใจตายและอัมพาต รวมทั้งยังมี ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุด้วย นอกจากนี้ยังมีข้อมูลว่ามีผู้สูงอายุเพียงร้อยละ 26.5 มีการออกกำลังกายเป็นประจำ ดังนั้นหากปล่อยให้เป็นเช่นนี้จะส่งผลกระทบต่อทั้งตัวผู้สูงอายุเอง ครอบครัว รวมถึงภาครัฐที่จะต้องใช้งบประมาณ จำนวนมหาศาลเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสุขภาพ ดังนั้น จึงจำเป็นที่จะต้องมีการเฝ้าระวังดูแลสุขภาพ อย่างต่อเนื่องตลอดจนการปรับพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ด้านสังคม พบว่า ในปี 2560 มีผู้สูงอายุที่เข้าร่วม กิจกรรมกลุ่ม/ชมรมผู้สูงอายุเพียงร้อยละ 33.7 ส่วนด้านสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินชีวิต พบว่า ผู้สูงอายุ กว่าร้อยละ 10 เคยมีประสบการณ์ในการหกล้ม ดังนั้นจึงจำเป็นต้องจัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกภายในบ้าน เช่น ราวจับ และการปรับสภาพพื้นที่ในบ้านและนอกบ้านให้เอื้อต่อการใช้ชีวิตอย่างปลอดภัยและป้องกันการหก ล้ม ซึ่งเป็นสาเหตุของการบาดเจ็บอันนำไปสู่ภาวะติดบ้านและติดเตียงตามมา ด้านเศรษฐกิจ พบว่า ผู้สูงอายุร้อย ละ 34.3 เป็นผู้สูงอายุที่ยากจน โดยผู้สูงอายุ 4.4 ล้านคน (ร้อยละ 37) ยังคงทำงานอยู่ ซึ่งผู้สูงอายุชายทำงาน มากกว่าผู้สูงอายุหญิงเกือบ 2 เท่า อีกทั้ง ในปัจจุบันผู้สูงอายุเข้าถึงอินเทอร์เน็ตมากขึ้น ซึ่งการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต นั้นง่ายต่อการสื่อสาร แต่มีทั้งคุณและโทษ จึงควรพัฒนาช่องทางสื่อสารไปยังผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดการเข้าใจปัญหา และการเตรียมความพร้อมในการแก้ไขปัญหา เช่น การแก้ไขปัญหาข่าวลวง และความเชื่อที่ไม่มีหลักฐาน สำหรับจังหวัดตรังพบว่าประชากรที่มีอายุมากกว่า ๖๐ ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 17.24 และประชากรอายุ 15-59 ปี คิดเป็นร้อยละ 64.84 ประชากรอายุ 0.14 ปี คิดเป็นร้อยละ 17.51 เพิ่มตามธรรมชาติ ร้อยละ ๐.๒๑ ภายในปี ๒๕๗๒ จะมีประชากรกลุ่มนี้กลายเป็นผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ ๓๐ ของประชากรจังหวัดตรังซึ่งจะ ทำให้จังหวัดตรังเข้าสู่สังคมสูงวัยสุดยอด (ข้อมูลเมื่อ เดือน ธันวาคม 2564) สถานการณ์ประชากรในจังหวัดตรังสามารถจำแนกเป็นกลุ่มสูงอายุส่วนใหญ่สามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่ ต้องพึ่งผู้อื่น คิดเป็นร้อยละ ๙๖.๒๙ ของจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด อีกประมาณร้อยละ 3.71 เป็นผู้สูงอายุที่ต้อง ส่วนที่ 2: รายละเอียดโครงการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถิ่น(ภาคีท้องถิ่น ภาคีสุขภาพ และภาคีภาคประชาชน)มี ศักยภาพในการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้กับประชาชนในตำบล
  2. 1.เกิดกลไกการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้มีความเข้มแข็ง
  3. 2.เกิดสภาพแวดล้อมเตรียม รองรับสังคมสูงวัย
  4. 3.เกิดพฤติกรรมสำคัญเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติได้รับการเตรียมความพร้อม
  5. 4.เกิดคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  6. 5.เกิดนโบบายแผนงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พัฒนากลไกเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้มีความเข้มแข็ง
  2. พัฒนาสภาพแวดล้อมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  3. พฤติกรรมสำคัญเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ
  4. คุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  5. พัฒนานโยบายแผนงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบล
  6. ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม
  7. บัญชีธนาคาร
  8. การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ
  9. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร
  10. ปฐมนิเทศโครงการย่อย
  11. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1
  12. จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส
  13. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 1 (อบรมพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบสังคมสูงวัย : การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยใน 4 มิติ)
  14. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2
  15. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4
  16. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 6
  17. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่2 (ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการย่อยในการใช้โปรแกรม canva และรายงานกิจกรรมและบันทึกรายงานการเงินในระบบ www.happynetwork.org)
  18. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 3
  19. เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด ครั้งที่1
  20. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3
  21. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  22. สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  23. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  24. ส่งเสริมการรับรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ
  25. ส่งเสริมการรับรู้เตรียมรองรับสังคมสุูงวัยทั้ง 4 มิติ
  26. ส่งเสริมการรับรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ
  27. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  28. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 5
  29. การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ
  30. การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ
  31. การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทั้ง 4 มิติ
  32. การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ
  33. การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ
  34. การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ
  35. เตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้ปลอดภัย
  36. การสร้างความยั่งยืนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  37. ประสานงานและจัดทำโครงการ
  38. จัดทำบัญชี
  39. จัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินโครงการ
  40. เวทีแลกเปลี่ยนรู้กับ สสส.
  41. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 7
  42. เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด ครั้งที่ 2
  43. จัดกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย มิติด้านสังคม
  44. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 8
  45. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  46. เตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้ปลอดภัย
  47. จัดกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ และรู้ทันสื่อ
  48. จัดกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสุงวัย 4 มิติ และรู้เท่าทันสื่อ
  49. จัดเวทีทบทวนธรรมนุญสุขภาพตำบลบางด้วน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ประชากร 60 ปีขึ้นไป 40
ประชากรอายุ 35-59 ปี 160

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เงินยืมทดลองเปิดบัญชี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เงินยืมทดลองเปิดบัญชี

 

0 0

2. ปฐมนิเทศโครงการย่อย

วันที่ 2 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าเดินทางประชุมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 1  วิทยาลัยพยาบาลพระบรมราชชนนีตรัง ประกอบด้วย 1. นายไพบูลย์  หนูอินทร์ ตำแหน่ง ประธาน    2. นายสมศักดิ์ สุนทรนนท์  ตำแหน่ง รองประธาน
3. นางอุบล  ชัยรัตน์  ตำแหน่ง เลขานุการ ได้มีการลงนามทำสัญญาโครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสุูงวัย เพื่อทาง NFT จะได้กำหนดขั้นตอนการทำงานตามบันไดผลลัพธ์ของแต่ละพื้นที่ ต้องสอดคล้องกับบันไดผลลัพธ์ของจังหวัดด้วย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน ประธอบ 1. นายไพบูลย์  หนูอินทร์ ตำแหน่ง ประธาน    2. นายสมศักดิ์ สุนทรนนท์  ตำแหน่ง รองประธาน 3. นางอุบล  ชัยรัตน์  ตำแหน่ง เลขานุการ ได้ลงนามในสัญญา โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสุงวัยพร้อมได้รับรู้แนวทางการดำเนินงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ในปีที่ 2 และแนวทางการขับเคลื่อน และการขยายผลการดำเนินกงานมาให้คณะทำงานในพื้นที่ได้รับทราบ และร่วมกันทำงานให้บรรลุตามบันไดผลลัพะ์ที่พื้นที่ได้กำหนดไว้ ในงบประมาณในการดำเนินงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย งบประมาณ 120,000 บาท

 

0 0

3. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1

วันที่ 28 มิถุนายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน เตรียมรองรับสังคมสูงวัย ณ ห้องประชุม อบต.บางด้วน  จำนวน 30 คนโดยมี คุณสุวณี ณ พัทลุง  และ นายเชภาดร จันทร์หอม คณะทำงานของ Node  Flagship ตรัง มาคลี่บันไดผลลัพท์ ประกอบด้วยตัวชี้วัดผลลัพธ์กิจกรรม เพื่อให้คณะทำงานมีความเข้าใจในการดำเนินงานโดยยึดบันไดผลลัพธ์เป็นหลักในการขับเคลื่อนงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการทั้ง30 คนมีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และสามารถเข้าใจในบันไดผลลัพธ์ของ node flagship  ตรัง และนำมาใช้ในพื้นที่ตำลบางด้วน

 

30 0

4. จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส

วันที่ 6 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ป้ายไวนิล ขนาด 1.60x4.00 เมตร โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ตำบลบางด้วน เป็นป้ายชื่อโครงการไว้สำหรับการประชุมกับกลุ่มเป้าหมายและคณะทำงานในพื้นที่เพื่อสร้างความรับรู้และความเข้าใจในตัวโครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสุูงวัยตำบลบางด้วน เป้็นการประชาสัมพันธ์โครงการและความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ จำนวน 1 ป้าย เป็นป้ายไวนิล ขนาด 1.60x4.00 เมตร โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ตำบลบางด้วน เป็นป้ายชื่อโครงการไว้สำหรับการประชุมกับกลุ่มเป้าหมายและคณะทำงานในพื้นที่เพื่อสร้างความรับรู้และความเข้าใจในตัวโครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสุูงวัยตำบลบางด้วน เป้็นการประชาสัมพันธ์โครงการและความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย สร้างการรับรู้ของประชาชนในพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมายแต่ละพื้นที่

 

0 0

5. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 1 (อบรมพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบสังคมสูงวัย : การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยใน 4 มิติ)

วันที่ 6 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1แกนนำได้รับเชิญอบรมพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบสังคสูงวัย จาก มอ ตรัง 2บรรยาย เรื่อง การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในมิติสุขภาพ 3 บรรยาย เรื่องการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในมิติเศรษฐกิจ 4[บรรยาย เรื่อง การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในมิติสังคม 5.บรรยาย เรื่อง การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในมิติสภาพแวดล้อม ุสรุป ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ จากที่ประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำคณะทำงานเข้าอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับ มาปรับใช้ในพื้นที่เพื่อง่ายต่อการดำเนินการชุมชนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทั้ง 4 มิติ  ด้านสังคม  ด้านเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพ ด้านสิ่งแวดล้อม

 

3 0

6. ประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 6 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายบันไดผลลัพธ์โครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ตำบลบางด้วน เพื่อใช้เป้็นป้ายสำหรับการขับเคลื่อนกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ขนาดป้าย 1.20 เมตรx 2.40 เมตร

 

200 0

7. การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ

วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ได้จัดส่งผู้ช่วยนายช่างโยธา และช่างในชุมชน รวมจำนวน 3 คน อบรมช่างท้องถิ่นเข้าร่วม อบรมที่วัดไร่พรุ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง  โดยมีทีมงานวิทยากร จาก ศุูนย์ UDC มอ ตรัง มาให้ความรุู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบ การก่อสร้าง และการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย ขอองบ้านเรื่อนประชาชน แและพีื้นที่สาธารณะในชุมชน ให้เกิดความปลอดภัย และเหมาะสมกับการเข้าสู่สังคมสูงวัยของจังหวัดตรัง ดังนั้น ช่างชุมชนจึงเป็นกำลังสำคํยในการออกแบบและก่อสร้างบ้านเรื่อน หรือพื้นที่สาธารณะให้เกิดความปลอดภัยและสามารถใช้ประโยชน์ได้ทุกกลุ่มวัย สามรถใช้ได้ตอนเข้าสู่สังคมสูงวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ช่วยนายช่างโยธา และช่างในชุมชน รวมจำนวน 3 คน ได้เข้าร่วมอบรมช่างท้องถิ่นที่วัดไร่พรุ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง ช่างท้องถิ่นมีความรู้ความเข้าใจในการปรับสภาพแวดล้อมบ้านพักอาศัยและอาคารสาธารณะเพื่อผู้สูงอายุ  ในตำบลบางด้วน

 

20 0

8. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2

วันที่ 15 สิงหาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ได้ประชุมคณะทำงาน การดำเนินงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย เนื่องจากเป็นปีที่ 2 ของตำบลบางด้วน จึงได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานผู้นำท้องถิ่นและผุ้นำท้องที่เข้ามาร่วมเป้นคณะทำงานเพิ่มขึ้น จึงต้องมีการประชุมเพื่อซักซ้อมความเข้าใจในในโครงการเตรียมรองรับสังคมสุงวัย  สามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสุงวัย ให้คณะทำงานได้มีความตระหนักถึงการเข้าสู่สังคมสุงวัยของประเทศไทย และทุกคนควรจะมีบทบาทในการช่วยกันเตรียมพื้นที่ เตรียมสังคม เตรียมประชาชนให้เกิดการตื้นตัวและเข้าสู่สังคมสุงวัยอย่างรอบรู้และรู้ทันสถานะการณ์  โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม  จำนวน 43 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มคณะทำงาน ได้เข้าร่วมประชุมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย  ครั้งที่ 2 และเป้็นปีที่ 2 ของตำบลบางด้วน ได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานผู้นำท้องถิ่นและผุ้นำท้องที่เข้ามาร่วมเป้นคณะทำงานเพิ่มขึ้น จึงต้องมีการประชุมเพื่อซักซ้อมความเข้าใจในในโครงการเตรียมรองรับสังคมสุงวัย  สามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสุงวัย ให้คณะทำงานได้มีความตระหนักถึงการเข้าสู่สังคมสุงวัยของประเทศไทย และทุกคนควรจะมีบทบาทในการช่วยกันเตรียมพื้นที่ เตรียมสังคม เตรียมประชาชนให้เกิดการตื้นตัวและเข้าสู่สังคมสุงวัยอย่างรอบรู้และรู้ทันสถานะการณ์  โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม  จำนวน 43 คน ทุกคนมีความคิดเห็นที่ต่าง ๆกัน และเมื่อบางด้วนเป็นต้นแบบเกี่ยวกับการเตรียมรองรับสังคมสุงวัย แล้ว ดังนั้นการขับเคลื่อนในปีที่ 2 นี้ ทุกภาคส่วนจึงเป็นกลไกสำคํยที่ทำให้งานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยประสบความสำเร็จและเป็นไปตามบันไดผลลัพธ์ที่วางไว้

 

0 0

9. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4

วันที่ 22 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมกิจกรรมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทั้ง 4 มิติ  โดยกระจายกลุ่มเป้าหมาย ทั้ง 6 หมู่บ้านเข้าร่วมกิจกรรม พร้อมทั้งได้กำหนดแนวทางการดำเนินกิจกรรมและการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานให้มีความรู้ความเข้าใจในการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมคณะทำงาน การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย เข้าร่วมกิจกรรมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทั้ง 4 มิติ  โดยกระจายกลุ่มเป้าหมาย ทั้ง 6 หมู่บ้านเข้าร่วมกิจกรรม พร้อมทั้งได้กำหนดแนวทางการดำเนินกิจกรรมและการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานให้มีความรู้ความเข้าใจในการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย  จึงได้กำหนดการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการเตรียมรองรับสังคมสุงวัย ในวันที่ 7 ตุลาคม  2565 ณ ปากปรน คาแนล ตำบลหาญสำราญ อำเภอหาญสำราจ

 

0 0

10. สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

วันที่ 5 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าจ้างจัดทำสมุดบันทึกสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้สมุดบัทึกสุขภาพเพื่อแจกจ่ายให้กลุ่มเป้าหมาย  จำนวน 200 เล่มๆ ละ 12 บาท  เป็นเงิน 2,400 บาท

 

200 0

11. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3

วันที่ 5 ตุลาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน การจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย  การเข้าถึงข้อมูลการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมสูงวัย ของกลุ่มเป้าหมาย คณะทำงานเข้าร่วมประชุม จำนวน 30 คน โดยได้มีการกำหนด กลุ่มเป้าหมาย อายุ 35-59 ปี  จำนวน  160 คน และ 60 ปี ขี้นไป  จำนวน 40 คน  ให้อสม.เป้นผู้ลงพื้นที่คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย
หมูที่ 1 จำนวน 35 คน หมูที่ 2  จำนวน 35 คน
หมู่ที่ 3 จำนวน 25 คน หมู่ที่ 4 จำนวน 35 คน หมู่ที่ 5 จำนวน 35 คน
หมู่ที่ 6  จำนวน 35 คน
รวมจำนวน  200 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นัดประชุมคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และผู้นำในชุมชน อสม.ในพื้นที่ ได้ดำเนินการคัดเลือกลุ่มเป้าหมายทั้ง 6 หมู่ เข้าร่วมโครงการเตรียมรองรนับสังคมสููงวัย  โดยให้กลุ่มเป้าหมายได้บันทึกกิจกรรมตามสุขบันทึกกิจกรรมที่ได้เตรียมไว้ให้ เพื่อขุมชนเข้าร่วมกิจกรรม การเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ กลุ่มเป้าหมาย อายุ 35-59 ปี  จำนวน  160 คน และ 60 ปี ขี้นไป  จำนวน 40 คน  ให้อสม.เป้นผู้ลงพื้นที่เพื่อสอบถามผู้เข้าร่วมโครงการ สรุป ได้กลุ่มเป้าหมายรายหมู่บ้าน ดังนี้ หมูที่ 1 จำนวน 35 คน หมูที่ 2  จำนวน 35 คน
หมู่ที่ 3 จำนวน 25 คน หมู่ที่ 4 จำนวน 35 คน หมู่ที่ 5 จำนวน 35 คน
หมู่ที่ 6  จำนวน 35 ราย
รวมจำนวน  200 คน  โดยให้กลุ่มเป้าหมายบันทึกข้อมูลต่างๆในสมุดบันทึกสุขภาพประจำตัวและคณะทำงานมีทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย200คน

 

0 0

12. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

วันที่ 7 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย  ณ ปากปรน  คาแนล เฮ้า  โดยมีวิทยากร นาย เชภาดร  จันทร์หอม  และนางจำเนียร มานะกล้า ให้ความรู้เกียวกับบันไดผลลัพธ์ และสร้างความรู้ความเข้าใขให้คณะทำงานในการชับเคลื่อนกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัยที่4 มิติ พร้อมทั้งให้คณะทำงานได้วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานพร้อมทั้งวางแผนการขับเคลื่อนการทำงานตามกิจกรรมที่กำหนดไว้ เวลา 08.30 -09.00 น.  ลงทะเบียนที่ปากปรน คาแนล เฮาส์ เวลา 09.00 -10.30 น.  สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาตามบันไดผลลัพธ์ (นายเชภาดร  จันทร์หอม) เวลา  10.30-10.45 น.  รับประทางอาหารว่าง เวลา 10.45-12.00 น.  สะท้อนผลการเรียนรู้จากการทำโครงการ(นายเชภาดร  จันทร์หอม) เวลา 12.00-13.00 น.  พักเที่ยงรับประทานอาหารกลางวัน เวลา 13.00 -14.30 น.  แบ่งกลุ่มย่อยสะท้อนผลลัพธ์ แต่ละมิติ(นายเชภาดร  จันทร์หอม) เวลา 14.30 14.45 น.  รับประทานอาหารว่าง เวลา  14.45-16.30 น.  แนวทางการดำเนินงานและการขับเคลื่อนงานแต่ละมิติต่อไป พร้อมนำเสนอ(นายเชภาดร  จันทร์หอม)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจในการทำงานโครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสุงวัย  ได้รับรู้ถึงปัญหาและอุปสรรคของการทำงานที่ผ่านมา พร้อมมีแนวทางในการขับเคลื่อนงานต่อไปเพื่อให้บรรลุบันไดผลลัพธื พร้อมสร้างขวัญและกำลังใจให้คณะทำงานและสิ่งที่สำคัญที่สุดทำให้การทำงานประสบความสำเร็จ ความร่วมมือความเข้าใจและตระหนักถึงปัญหาของสังคมสุูงวัย

 

40 0

13. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 3

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ประเด็นสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัย วันที่ 17 พฤศิกายน 2565 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วม 2 ท่าน ประกอบด้วย นายไพบูลย์  หนูอินทร์  ประธานคณะทำงานเครียมรองรับสังคมสูงวัย 2. นายสมศักดิ์ สุนทรนนท์ ประธานสภาองค์กรชุมชน

 

3 0

14. ส่งเสริมการรับรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ

วันที่ 15 ธันวาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมกลุ่มเป้าหมายจำนวน 100 คน เพื่อประชุมชี้แจงโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ และการให้ความสำคัญของผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมพร้อมปรับเปลียนพฤติกรรมและเข้าร่วมกิจกรรม ในวันที่ 29 ะันวาคม  2565 เพื่อส่งเสริมส่งภาพ และการให้ความสำคัญของผู้สุงอายุ

 

100 0

15. ส่งเสริมการรับรู้เตรียมรองรับสังคมสุูงวัยทั้ง 4 มิติ

วันที่ 22 ธันวาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงโครงการเตรียมรองรับสังคมสุูงวัย กับกลุ่มเป้าหมายจำนวน  100 คน ปรกอบด้วย นักเรียนดรงเรียนผู้สุงอายุ ทีมพี่เลี้ยง และประชาชน อายุ 35-59 ปี เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวเข้าร่วมกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย พร้อมทั้งให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และด้านสังคม จึงกำหนดจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและกิจกรรมด้านสังคมการให้ความสำคัญแก่ผู้สูงอายุกับกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมพร้อมปรับเปลียนพฤติกรรมและเข้าร่วมกิจกรรม ในวันที่ 29 ะันวาคม  2565 เพื่อส่งเสริมส่งภาพ และการให้ความสำคัญของผู้สุงอายุ

 

100 0

16. เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด ครั้งที่1

วันที่ 27 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเพื่อร่วมโครงการถอดบทเรียนรอบ 7 เดือนของโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ณ ชายหาดหัวหิน ตำบลบ่อหิน โดยนายไพบูลย์ หนูอินทร์ ประธานดครงการเตรียมรองรับสังคมสุงวัยตำบลบางด้วน ได้เข้าร่วมการถอดบทเรียนกับตำบลบ่อหิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นายไพบูลย์  หนูอินทร์ ได้เข้าร่วมถอดบทเรียนกับตำบลย่อหินในดครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

3 0

17. ส่งเสริมการรับรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ

วันที่ 29 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200 เข้าร่วมกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย โดยมีการแบ่งเป็นกลุ่มสี สร้างการรับรู้และเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่าย ประกอบด้วย ทีมองคืการบริหารส่วนตำบลบางด้วน ทีมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ผู้นำท้องที่ แกนนำภาคประชาสังคม  กลุ่มเป้าหมาย อายุ 35-59 ปี และนักเรียนโรงเรียนผู้สูงอายุ มีการเดินขบวนพาเหรด จัดการแข่งขันกีใา และกิจกรรมนันทนาการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทุกภาคส่วนเข้าร่วมกิจกรรม และเห็นความสำคัญของกิจกรรม มีการรับรู้ถึงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทั้ง 4 มิติ โดยเฉพาะมิติด้านสุขภาพ และด้านสังคม สร้างความสัมพันธ์ทีดีต่อกันในสังคม การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

 

200 0

18. ประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 29 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการเตรียมรองรับสังคมสุงวัย และกิจกรรมขแงแต่ละมิติ เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในพื้นได้รับรู้ ในกิจกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการให้ความสำคัญของผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ จำนวน 5  ป้าย

 

200 0

19. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 5

วันที่ 30 มกราคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสุูงวัย เพื่อกำหนด และติดตามการขับเคลื่อนงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย แต่ละมิติ พร้อมกำหนดแนวทางการดำเนินงานแต่ละมิติ ดังนั้นจึงได้กำหนดการลงพื้นที่ เพื่อติดตามกลุ่มเป้าหมายและขับเคลื่อนกิจกรรมทั้ง 4 มิติ ดังนี้
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13.00 น. ประชุมกลุ่มเป้าหมาย หมู่ที่ 6 บ้านต้นไทร วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13.00 น. ประชุมกลุ่มเป้าหมาย หมู่ที่ 5 บ้านบางด้วน วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13.00 น. ประชุมกลุ่มเป้าหมาย หมู่ที่ 2 บ้านยวนโปะ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13.00 น. ประชุมกลุ่มเป้าหมาย หมู่ที่ 5 บ้านบางด้วน วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13.00 น. ประชุมกลุ่มเป้าหมาย หมู่ที่ 3 บ้านไสจีนติก วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13.00 น. ประชุมกลุ่มเป้าหมาย หมู่ที่ 4 บ้านป่าแก่ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13.00 น. ประชุมกลุ่มเป้าหมาย หมู่ที่ 1 บ้านส้มเฟือง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการเข้าร่วมประชุมจำนวน 30 คน ประกอบด้วยประธาน คณะทำงานและที่ปรึกษาเข้าร่วมประชุมและกำหนดวันลงประชุมกลุ่มเป้าหมายแต่ละหมู่บ้าน พร้อมให้ตัดเลือกบ้านเรื่อนที่จะปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้ปลอดภัย โดยจะใช้เงินโครงการในการจัดซื้อราวจับให้กับตรัวเรือนหมู่บ้านละจำนวน 2 หลัง โดยมีหลักเกณฑ์ดังนี้ บ้านดังกล่าวต้องเข้าร่วมกิจกรรมโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย มีผู้สูงอายุอาศัยอยู่ในบ้านดังกล่าว

 

0 0

20. การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมกลุ่มเป้าหมายจำนวน 50 คนหมู่ที่ 6 บ้านต้นไทร เพื่อทำความเข้าใจในโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทั้ง 4 มิติ โดยเฉพาะมิติด้านเศรษฐกิจได้มีการติดตามผลการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมาพร้อมกำหนดเป้าหมายใหม่ที่คณะทำงานและทีม อสม. ต้องเตรียมพร้อมและดำเนินการจัดหากลุ่มเป้าหมายในการออมกับะนาคาร ธกส. และรณรงค์ในการออมด้วยต้นไม้และเลี้ยงสัตว์ นอกจากมิติการออมแล้วได้ขับเคลื่อนกิจกรรมปรับสภาแวดล้อมที่อยู่อาศัย ให้มีการคัดเลือกครัวเรื่อนที่เหมาะสมต้องเข้าหลักเกณฑ์ดังนี้ ต้องเเข้าร่วมดครงการ ในครัวเรือนมีผูสูงอายุ และบ้านต้องมีห้องน้ำแบบนั่งราบ ทางดครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยจะจัดซื้อราวจับให้จำนวน 2 หลังต่อ หมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายจำนวน 50 คนหมู่ที่ 6 บ้านต้นไทร เพื่อทำความเข้าใจในโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทั้ง 4 มิติ โดยเฉพาะมิติด้านเศรษฐกิจได้มีการติดตามผลการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมาพร้อมกำหนดเป้าหมายใหม่ที่คณะทำงานและทีม อสม. ต้องเตรียมพร้อมและดำเนินการจัดหากลุ่มเป้าหมายในการออมกับะนาคาร ธกส. และรณรงค์ในการออมด้วยต้นไม้และเลี้ยงสัตว์ นอกจากมิติการออมแล้วได้ขับเคลื่อนกิจกรรมปรับสภาแวดล้อมที่อยู่อาศัย ให้มีการคัดเลือกครัวเรื่อนที่เหมาะสมต้องเข้าหลักเกณฑ์ดังนี้ ต้องเเข้าร่วมดครงการ ในครัวเรือนมีผูสูงอายุ และบ้านต้องมีห้องน้ำแบบนั่งราบ ทางดครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยจะจัดซื้อราวจับให้จำนวน 2 หลังต่อ หมู่บ้าน มีการคัดเลือกบ้านเรื่อนกลุ่มเปเ่หมายจำนวน 2 หลัง และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทำการออมกับ ธกส.

 

50 0

21. การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน ของหมู่ที่ 5 บ้านบางด้วน เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรุ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และให้ประชาชนกลุ่มเป้าได้ทำการออมเงินเพิ่ม โดยมี ธกส. มาร่วมให้ความรู้และมีการเปิดบัญชีเพิ่มอีก จำนวน 20 ราย นอกจากนี้มีการให้ความรู้และส่งเสริมการปรับสภาพที่อยุ่อาศัยให้ปลอดโดยคณะทำงานได้คัดเลือกในการซื้อราวจับให้กับครัวเรือนที่เข้าร่วมดครงการ หมู่บ้านละ 2 ครัว ให้ที่ประชุมคัดเลือก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนเข้าร่วมจำนวน 52 คน มีคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และมี ธกส. มาให้ความรู้เกี่ยวกับการออมเงินในรูปแบบต่าง ๆ และกลุ่มเป้าได้มีการเปิดบัญชีเพิ่ม ปรธานสภาองค์กรชุมมาแนะนำและให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับสภาพบ้าน และการได้รับงบประมาณในการว่อมบ้านดครงการบ้านพอเพียง เพื่อเข้ามาช่วยเหลือประชาชนในหมู่บ้าน ผอ.รพสต.บางด้วน แนะนำการออกกำลังกายของผู้สุงอายุ และการควบคุมเรื่องอาหาร ลดหวาน มันเค็ม

 

50 0

22. การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทั้ง 4 มิติ

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน ของหมู่ที่ 2 บ้านยวนโปะ เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรุ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และให้ประชาชนกลุ่มเป้าได้ทำการออมเงินเพิ่ม โดยมี ธกส. มาร่วมให้ความรู้และมีการเปิดบัญชีเพิ่มอีก จำนวน 35 ราย นอกจากนี้มีการให้ความรู้และส่งเสริมการปรับสภาพที่อยุ่อาศัยให้ปลอดโดยคณะทำงานได้คัดเลือกในการซื้อราวจับให้กับครัวเรือนที่เข้าร่วมดครงการ หมู่บ้านละ 2 ครัว ให้ที่ประชุมคัดเลือก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนเข้าร่วมจำนวน 46 คน มีคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และมี ธกส. มาให้ความรู้เกี่ยวกับการออมเงินในรูปแบบต่าง ๆ และกลุ่มเป้าได้มีการเปิดบัญชีเพิ่ม ปรธานสภาองค์กรชุมมาแนะนำและให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับสภาพบ้าน และการได้รับงบประมาณในการว่อมบ้านดครงการบ้านพอเพียง เพื่อเข้ามาช่วยเหลือประชาชนในหมู่บ้าน ผอ.รพสต.บางด้วน แนะนำการออกกำลังกายของผู้สุงอายุ และการควบคุมเรื่องอาหาร ลดหวาน มันเค็ม

 

50 0

23. การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน ของหมู่ที่ 2 บ้านยวนโปะ เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรุ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และให้ประชาชนกลุ่มเป้าได้ทำการออมเงินเพิ่ม โดยมี ธกส. มาร่วมให้ความรู้และมีการเปิดบัญชีเพิ่มอีก จำนวน 35 ราย นอกจากนี้มีการให้ความรู้และส่งเสริมการปรับสภาพที่อยุ่อาศัยให้ปลอดโดยคณะทำงานได้คัดเลือกในการซื้อราวจับให้กับครัวเรือนที่เข้าร่วมดครงการ หมู่บ้านละ 2 ครัว ให้ที่ประชุมคัดเลือก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนเข้าร่วมจำนวน 46 คน มีคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และมี ธกส. มาให้ความรู้เกี่ยวกับการออมเงินในรูปแบบต่าง ๆ และกลุ่มเป้าได้มีการเปิดบัญชีเพิ่ม ปรธานสภาองค์กรชุมมาแนะนำและให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับสภาพบ้าน และการได้รับงบประมาณในการว่อมบ้านดครงการบ้านพอเพียง เพื่อเข้ามาช่วยเหลือประชาชนในหมู่บ้าน ผอ.รพสต.บางด้วน แนะนำการออกกำลังกายของผู้สุงอายุ และการควบคุมเรื่องอาหาร ลดหวาน มันเค็ม

 

50 0

24. การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน ของหมู่ที่ 1 บ้านส้มเฟือง เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และให้ประชาชนกลุ่มเป้าได้ทำการออมเงินเพิ่ม โดยมี ธกส. มาร่วมให้ความรู้และมีการเปิดบัญชีเพิ่มอีก จำนวน 35 ราย นอกจากนี้มีการให้ความรู้และส่งเสริมการปรับสภาพที่อยุ่อาศัยให้ปลอดโดยคณะทำงานได้คัดเลือกในการซื้อราวจับให้กับครัวเรือนที่เข้าร่วมดครงการ หมู่บ้านละ 2 ครัว ให้ที่ประชุมคัดเลือก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนเข้าร่วมจำนวน 53 คน มีคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และมี ธกส. มาให้ความรู้เกี่ยวกับการออมเงินในรูปแบบต่าง ๆ และกลุ่มเป้าได้มีการเปิดบัญชีเพิ่ม ประธานสภาองค์กรชุมมาแนะนำและให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับสภาพบ้าน และการได้รับงบประมาณในการว่อมบ้านดครงการบ้านพอเพียง เพื่อเข้ามาช่วยเหลือประชาชนในหมู่บ้าน ผอ.รพสต.บางด้วน แนะนำการออกกำลังกายของผู้สุงอายุ และการควบคุมเรื่องอาหาร ลดหวาน มันเค็ม

 

50 0

25. การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน ของหมู่ที่ 4 บ้านป่าแก่ เพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และให้ประชาชนกลุ่มเป้าได้ทำการออมเงินเพิ่ม โดยมี ธกส. มาร่วมให้ความรู้และมีการเปิดบัญชีเพิ่มอีก จำนวน 20 ราย นอกจากนี้มีการให้ความรู้และส่งเสริมการปรับสภาพที่อยุ่อาศัยให้ปลอดโดยคณะทำงานได้คัดเลือกในการซื้อราวจับให้กับครัวเรือนที่เข้าร่วมดครงการ หมู่บ้านละ 2 ครัว ให้ที่ประชุมคัดเลือก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนเข้าร่วมจำนวน 35 คน มีคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และมี ธกส. มาให้ความรู้เกี่ยวกับการออมเงินในรูปแบบต่าง ๆ และกลุ่มเป้าได้มีการเปิดบัญชีเพิ่ม ประธานสภาองค์กรชุมมาแนะนำและให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับสภาพบ้าน และการได้รับงบประมาณในการว่อมบ้านดครงการบ้านพอเพียง เพื่อเข้ามาช่วยเหลือประชาชนในหมู่บ้าน ผอ.รพสต.บางด้วน แนะนำการออกกำลังกายของผู้สุงอายุ และการควบคุมเรื่องอาหาร ลดหวาน มันเค็ม

 

50 0

26. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 6

วันที่ 14 มีนาคม 2566 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย เพื่อสรุปผลการดำเนิงานที่ผ่านมาและมาดูบันไดผลลัพธ์ของโครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และเตรียมพร้อมการที่จะให้ทีมพี่เลี้ยงและทีมประเมินระดับจังหวัดลงพื้นที่มาประเมินผลการดำเนินงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสุงวัย ในวันที่ 18 มีนาคม  2566

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีคณะกรรมการเตรียมรองรับเข้าร่วมประชุมทั้ง สามภาคี ประกอบด้วยทีม ผู้ปบริหาร พบักงานองค์การบริหารส่วนตำบลบางด้วน สมาชิก อบต. ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางด้วน อสม. ผู้ใหญ่บ้าน ผุ้ช่วย และสภาองค์กรชุมชนมาประชุมพร้อมได้สรุปผลการดำเนินงานและมี นายเชภาดร  จันทร์หอม  ได้มาทบทวนบันไดผลลัพธ์ และสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาของตำบลบางด้วน ที่เป็นรูปธรรม สามารถใช้เป็นหลักฐานให้กับทีมพี่เลี้ยง และทีมประเมินใช้เป็นข้อมูลในการประเมินในวันที่ 18 มีนาคม  2566 ต่อไป

 

0 0

27. เตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้ปลอดภัย

วันที่ 14 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จากที่ได้ประชุมหมู่บ้าน ทั้ง 6 หมู่บ้าน เพื่อคัดเลือกครัวเรือนของแต่ละหมู่บ้านในการเพิ่มราวจับในห้องน้ำให้กับบ้านเรือนที่มีผู้สูงอายุอาศัย อยู่ และครัวเรือนดังกล่าวเข้าร่วมกิจกรรมเตียมรองรับสังคมสูงวัย และที่สำคัญห้องน้ำต้องเป็นโถส้วมแบบนั่งราบ นั้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้จัดซื้อราวจับ และโถส้วมแบบนั่งราบ ให้ประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนและมีความพร้อมที่เข้าร่วมกิจกรรมเตียรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน ให้กับกลุ่มเป้าหมาย หมู่บ้าน ละ 2 หลัง

 

50 0

28. การสร้างความยั่งยืนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

วันที่ 18 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานและแก่นทำในระดับตำบลและกลุ่มเป้าหมายเพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานจากหน่วยประเมินระดับจังหวัด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 120 คน มีการเต้นบาสโลป ของ อสม. นักเรียนดรงเรียนผู้สุงอายุ และมีการนำเสนอผลการดำเนินงานสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้จัดประชุมคณะทำงานและแก่นทำในระดับตำบลและกลุ่มเป้าหมายเพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานจากหน่วยประเมินระดับจังหวัด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 120 คน มีการเต้นบาสโลป ของ อสม. นักเรียนดรงเรียนผู้สุงอายุ และมีการนำเสนอผลการดำเนินงานสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน

 

120 0

29. ประสานงานและจัดทำโครงการ

วันที่ 12 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ได้เบิกจ่ายค่าประสานงานกับเจ้าหน้าที่หน่วยงานของจังหวัดและประสานงานกับคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในพื้นที่ และและการจัดทำรายงานการขับเคลื่อนกิจกรรมสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน ในระบบ Happy Netwrok

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้บันทึกข้อมูลกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบลบางด้วน และประสานงานกับเจ้าหน้าที่หน่วยจัดการของจังหวัด และคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในพื้นที่ และและการจัดทำรายงานการขับเคลื่อนกิจกรรมสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน ในระบบ Happy Netwrok

 

1 0

30. จัดทำบัญชี

วันที่ 12 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ได้เบิกจ่ายค่าจัดทำบัญชีโครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วนให้ นางสาวสุวรรณี สองนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เบิกจ่ายค่าจัดทำบัญชีโครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วนให้ นางสาวสุวรรณี สองนา

 

1 0

31. เวทีแลกเปลี่ยนรู้กับ สสส.

วันที่ 19 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมประชุมเวที KICK OFF การขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพชีวิตรองรับสังคมสูงวัย จังหวัดตรัง ปี 2566  เพื่อขับเคลื่อนกลไกการทำงานผู้สูงอายุ  โดยบูรณาการความร่วมมือจากภาคีเครื่อข่ายทุกภาคส่วน ภายใต้วิสัยทัศน์ผู้สูงอายุ คุณภาพชีวิตที่ดี  อยู่ดีมีสุข อย่างมีคุณค่า ภายในปี 2570 โดยเป้าประสงค์ 5 มิติ ได้แก่ สุขภาพดี สภาพแวดล้อมดี เศรษฐกิจดี  สังคมดี และเทคโนดลยีดี  ซึ่งในปี 2566 มีเป้าหมายในการดำเนินการ จำนวน 20 พื้นที่  ประชุมในวันพุธที่ 19 เมษายน 2566  ณ ห้องประชุมภัชรัตน์  โรงแรมวัฒนาพาร์ค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ข้าร่วมประชุมเวที KICK OFF การขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพชีวิตรองรับสังคมสูงวัย จังหวัดตรัง ปี 2566  เพื่อขับเคลื่อนกลไกการทำงานผู้สูงอายุ  โดยบูรณาการความร่วมมือจากภาคีเครื่อข่ายทุกภาคส่วน ภายใต้วิสัยทัศน์ผู้สูงอายุ คุณภาพชีวิตที่ดี  อยู่ดีมีสุข อย่างมีคุณค่า ภายในปี 2570 โดยเป้าประสงค์ 5 มิติ ได้แก่ สุขภาพดี สภาพแวดล้อมดี เศรษฐกิจดี  สังคมดี และเทคโนดลยีดี  ซึ่งในปี 2566 มีเป้าหมายในการดำเนินการ จำนวน 20 พื้นที่  ประชุมในวันพุธที่ 19 เมษายน 2566  ณ ห้องประชุมภัชรัตน์  โรงแรมวัฒนาพาร์ค  โดยตำบลบางด้วน ได้ส่งผู้เจ้าร่วมจำนวน 5 คน ประกอบดัวย  1. นายไพบูลย์ หนูอินทร์ 2. นายพิพัฒน์พงษ์  กาญจนาทิพย์ 3 นางนิธิวดี  เก้าเอี้ยน 4 นางสาวอมรลักษณ์ มัธยันต์ และ5. นางสุวรรณี สองนา

 

5 0

32. จัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 19 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ได้จ้างจัดนิทรรศการนำเสนอเตรียมรองรับสัวคมสูงวัยตำบลบางด้วน  ณ ที่ โรงแรมวัฒนาพาร์ค ในวันที่ 19 เมษายน 2566

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดนิทรรศการนำเสนอเตรียมรองรับสัวคมสูงวัยตำบลบางด้วน  ณ ที่ โรงแรมวัฒนาพาร์ค ในวันที่ 19 เมษายน 2566

 

0 0

33. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 7

วันที่ 2 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแลกเปลียนเรียนรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัย และประเมินผลารดำนเนิกิจกรรมขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้มีการประชุมและมีผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลียนเรียนรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัย และประเมินผลารดำนเนิกิจกรรมขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน

 

30 0

34. เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด ครั้งที่ 2

วันที่ 3 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE วันพุธที่ 3 พฤาภาคม 2566 เวลา 09.00น.-16.30 น. ณห้องประชุมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามบันไดผลลัพธ์ และการขับเคลื่อนการทำงานร่วมกับภาคียุทธศาสตร์ และรับฟังและแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนปัญหา อุปสรรคการดำเนินงานที่ผ่านมาและนำมาปรับปรุงวางแผนการดำเนินงานของหน่วยจัดการในระยะเวลาโครงการที่เหลืออยู่ โดยตำบลบางด้วน ได้ส่งผู้เจ้าร่วมจำนวน 5 คน ประกอบดัวย  1. นายไพบูลยื หนูอินทร์ 2. นายสมศักดิ์  สุนทรนนท์ 3 นางสาวนิศารัตร์ ชณีมาศ 4 นางสาวอมรลักษณ์ มัธยันต์ และ5. นางสุวรรณี สองนา เพื่อนำเสนอผลงานดำเนินงานการขับเคลื่อนกิจกรรมสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมเวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE วันพุธที่ 3 พฤาภาคม 2566 เวลา 09.00น.-16.30 น. ณห้องประชุมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามบันไดผลลัพธ์ และการขับเคลื่อนการทำงานร่วมกับภาคียุทธศาสตร์ และรับฟังและแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนปัญหา อุปสรรคการดำเนินงานที่ผ่านมาและนำมาปรับปรุงวางแผนการดำเนินงานของหน่วยจัดการในระยะเวลาโครงการที่เหลืออยู่ โดยตำบลบางด้วน ได้ส่งผู้เจ้าร่วมจำนวน 5 คน ประกอบดัวย  1. นายไพบูลยื หนูอินทร์ 2. นายสมศักดิ์  สุนทรนนท์ 3 นางสาวนิศารัตร์ ชณีมาศ 4 นางสาวอมรลักษณ์ มัธยันต์ และ5. นางสุวรรณี สองนา เพื่อนำเสนอผลงานดำเนินงานการขับเคลื่อนกิจกรรมสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

5 0

35. จัดกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย มิติด้านสังคม

วันที่ 12 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ตำบลบางด้วน ด้านสังคม เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุ พี่เลี้ยง ผู้นำ แกนนำ คณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ได้เห็นความสำคัญของผู้สูงอายุ โดยมีวิทยากรจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางด้วน เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องสุขภาพ และการขับเคลื่อนกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย มิติ ด้านสังคม ให้ทุกภาคส่วนเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุพร้อมเสนอแนวทางขับเคลื่อนกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุ พร้อมการแสดงของนักเรียนโรงเรียนผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผูู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 70 คน จัดกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ตำบลบางด้วน ด้านสังคม เพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุ พี่เลี้ยง ผู้นำ แกนนำ คณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ได้เห็นความสำคัญของผู้สูงอายุ โดยมีวิทยากรจาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางด้วน เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องสุขภาพ และการขับเคลื่อนกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย มิติ ด้านสังคม ให้ทุกภาคส่วนเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุพร้อมเสนอแนวทางขับเคลื่อนกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุ พร้อมการแสดงของนักเรียนโรงเรียนผู้สูงอายุ

 

70 0

36. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 8

วันที่ 15 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน เพื่อกำหนดการจัดกิจกรรมของงบประมาณครงเหลือ และการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัย พร้อมกับคัดเลือกกลุ่มเปเาหมายรับราวจับ และโถส้วมแบบนั่งราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้นัดคณะกรรมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน ผุ้เข้าร่วมจำนวน 30 คน  เพื่อกำหนดการจัดกิจกรรมของงบประมาณครงเหลือ และการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัย พร้อมกับคัดเลือกกลุ่มเปัาหมายรับราวจับ  จำนวน 15 อัน และโถส้วมแบบนั่งราบ  จำนวน 3 ดถ ใช้ยอดเงินจากโครงการไม่เกินร้อยละ 20

 

30 0

37. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัย

วันที่ 19 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ "สามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัน ตำบลบางด้วน เพื่อให้คณะทำงาน ผู้นำแต่ละหมู่บ้าน ประชาชน หมุ่บ้านละ 10 คนเข้าร่วมกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ตามที่ได้ดำเนินกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ใช้งบประมาณของ สสส. เป็นปีที่ 2 ใช้มาตรการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัย โดยมีกลไกคณะทำงานประกอบด้วย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และภาคประชาสังคม ขับเคลื่อนกิจกรรม ด้านสุขภาพ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย ทำให้ตำบลบางด้วน ได้รับการคัดเลือกให้เป็นตำบลต้นแบบในการขับเลื่อนกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ระดับจังหวัด และระดับประเทศ ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน มีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์ ของการดำเนินงาน และเพื่อการวางแผนงานที่จะขับเคลื่อนกิจกรรมต่อไป
จึงจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัย ในวันศุกร์ที่ 19  พฤษภาคม  2566 เวลา  09.30 น. - 15.30 น. ณ  ห้องประชุมโรงเรียนผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลบางด้วน
เวลา 09.00-09.30 น. ลงทะเบียน  คณะทำงาน ผู้นำท้องที่ ท้องถิ่น ประชาชน หมู่บ้านละ 10 คน
เวลา 09.30 -10.00 น.    นายพิพัฒน์พงษ์  กาญจนาทิพย์  รองนายก อบต.บางด้วน กล่าวเปิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “สามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน”
และนายไพบูลย์ หนูอินทร์ ประธานกรรมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน เล่าความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของการขับเคลื่อนโครงการ“สามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน”
ทีม Node Flagship Trang กล่าวถึงความสำคัญของการขับเคลื่อนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ของจังหวัดตรัง และระดับประเทศ เวลา 10.00-10.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง เวลา 10.30-12.00 น. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน ทั้ง 4
มิติประกอบด้วย มิติด้านสุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ มิติด้านสังคม    ผอ.โรงเรียนผู้สูงอายุ และเจ้าหน้าที่ อบต.
มิติด้านปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย ช่างชุมชม และสภาองค์กรชุมชน มิติด้านเศรษฐกิจ  รองปลัด และผู้นำชุมชน
เวลา 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00-14.30 น. สรุปปัญหาผลการดำเนินงานแต่ละมิติพร้อมตอบข้อชักถาม
เวลา 14.30-15.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
เวลา 15.30-16.30 น. วางแผนการขับเคลื่อนงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วนในปีต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัย จำนวน 70 คน ได้มีการสรุปผลการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมาพร้อมกับให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้เสนอแนะ และว่างแผนการดำเนินกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในปีถัดไป

 

70 0

38. เตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้ปลอดภัย

วันที่ 19 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ได้จัดซื้อราวจับและโถส้วมแจกให้กับกลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัย เพื่อสร้างคนครัวแบบอย่างและเพื่อลดอัตราการลื่นล้มในห้องน้ำสำหรับผู้สุงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้มีการแจกราวจับจำนวน 15 อัน และโถส้วมจำนวน 1 โถ ให้กับผู้สูงอายุและผู้เข้าร่วมโครงการเตรียมรองรับสังคมสุงวัย

 

70 0

39. จัดกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ และรู้ทันสื่อ

วันที่ 25 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการรู้เท่าทันสื่อ เตรียมรองรับสังคมสูงวัย ตำบลบางด้วน  โดยมีกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุจากโรงเรียนผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลบางด้วน จำนวน 50 คน จัดอบรมจำนวน 1 วัน  โดยเชิญวิทยากรจาก กศน. อำเภอปะเหลียน  มาให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้โทรศัพท์ การสร้าง ไลท์ เฟสบุค การอัพเดทโทรศัพท์ การแจ้งเตือนในระบบโทรศัพท์ การค้นหาข้อมูล การเก็บรักษาภาพถ่าย  การสร้างคลิปวีดีโอ การขายของออนไลท์ ฯลฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีกลุ่มเป้าหมาผู้สูงอายุจากโรงเรียนผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลบางด้วน จำนวน 50 คน เข้าอบรมจำนวน 1 วัน  โดยวิทยากรจาก กศน. อำเภอปะเหลียน  มาให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้โทรศัพท์ การสร้าง ไลท์ เฟสบุค การอัพเดทโทรศัพท์ การแจ้งเตือนในระบบโทรศัพท์ การค้นหาข้อมูล การเก็บรักษาภาพถ่าย  การสร้างคลิปวีดีโอ การขายของออนไลท์ ฯลฯยเข้าร่วมอบรม จำนวน 5 คน มีความรุ้ความเข้าใจในการใช้โทรศัพท์ สามารถแก้ปัญหาเกี่ยวกับการใช้โทรศัพท์ได้

 

100 0

40. จัดกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสุงวัย 4 มิติ และรู้เท่าทันสื่อ

วันที่ 26 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการรู้เท่าทันสื่อ เตรียมรองรับสังคมสูงวัย ตำบลบางด้วน  โดยมีกลุ่มเป้าหมาย อสม. และประชาชนทั่วไป จำนวน 50 คน จัดอบรมจำนวน 1 วัน  โดยเชิญวิทยากรจาก กศน. อำเภอปะเหลียน  มาให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้โทรศัพท์ การสร้าง ไลน์ เฟสบุ๊ค(facebook) การอัพเดทโทรศัพท์ การแจ้งเตือนในระบบโทรศัพท์ การค้นหาข้อมูล การเก็บรักษาภาพถ่าย  การสร้างคลิปวีดีโอ การขายของออนไลน์ ฯลฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีกลุ่มเป้าหมาย อสม. และประชาชนทั่วไป  จำนวน 50 คน  เข้าอบรมรู้เท่าทันสื่อจำนวน 1 วัน  โดยวิทยากรจาก กศน. อำเภอปะเหลียน  มาให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้โทรศัพท์ การสร้าง ไลน์ เฟสบุ๊ค(facebook) การอัพเดทโทรศัพท์ การแจ้งเตือนในระบบโทรศัพท์ การค้นหาข้อมูล การเก็บรักษาภาพถ่าย  การสร้างคลิปวีดีโอ การขายของออนไลน์ ฯลฯ
  • กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมอบรม จำนวน 5 คน มีทักษะความรู้ความเข้าใจในการใช้โทรศัพท์ สามารถแก้ปัญหาเกี่ยวกับการใช้โทรศัพท์และสามารถแนะนำได้

 

50 0

41. จัดเวทีทบทวนธรรมนูญสุขภาพตำบลบางด้วน

วันที่ 30 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดเวทีทบทวนธรรมนูญสุขภาพตำบลบางด้วน ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย รองนายก อบต. ประธานสภา อบต. สมาชิก อบต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อสม.  กำนันตำบล ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วย ประธานสภาองค์กรชุมชน และประชาชนทั่วไป จำนวน 70 คน เข้าร่วมเวทีทบทวนธรรมนูญสุขภาพตำบล พร้อมได้มติเห็นชอบในการจัดทำร่างธรรมนูญสุขภาพตำบลบางด้วน ทั้ง 4 มิติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • รองนายก อบต. ประธานสภา อบต. สมาชิก อบต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อสม.  กำนันตำบล ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วย ประธานสภาองค์กรชุมชน และประชาชนทั่วไป จำนวน 70 คน เข้าร่วมจัดเวทีทบทวนธรรมนูญสุขภาพตำบลบางด้วน
  • มติเห็นชอบในการจัดทำร่างธรรมนูญสุขภาพตำบลบางด้วน ทั้ง 4 มิติ  และได้ให้ผู้นำแต่ละภาคส่วนลงนามเป็นบันทึกข้อตกลงร่วมกัน และมีการแต่งตั้งคณะติดตามประเมินผลธรรมนูญสุขภาพตำบล

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถิ่น(ภาคีท้องถิ่น ภาคีสุขภาพ และภาคีภาคประชาชน)มี ศักยภาพในการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้กับประชาชนในตำบล
ตัวชี้วัด :
200.00

จำนวน6 หมู่บ้านๆละ 35 คนทีมคณะทำงานและทีมอสม ลงสอบถาม ความต้องการเข้าร่วมโครงการ กลุ่มอายุ 35-59ปี กลุ่มอายุ60ปี ขึ้นไป 40 คน

2 1.เกิดกลไกการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้มีความเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 1.1 มีกลไกคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยจำนวน ๑๕ คน ที่ ประกอบด้วยภาคีที่หลากหลาย ประกอบด้วย ภาคีท้องถิ่น ภาคีสุขภาพ ได้แก่ รพ. สต. อสม. ภาคีภาคประชาชน ได้แก่ แกนนำชมรมผู้สูงอายุ ท้องที่ และแกนนำกลุ่ม องค์กรภาคประชาชน 1.๒ มีการนำเข้าข้อมูลคนเปราะบาง (ผู้สูงอายุ คนพิการและคนยากจน) เข้าสู่ ระบบ imed @home
26.00

1.1คณะทำงาน 26 คน
ตามคำสั่ง แต่จะมีคณะทำงานหมู่บ้าน และอสม รายหมู่บ้านรวม 50 คน 1.2 กลุุ่มเปราะบาง มีการใช้fปรแกรม iMed@homeเน้นกลุ่มผู็ป่วยติดเตียงมีการใช้ในการเยี่ยมบ้าน โดยCare giver 2อาสาสมัครบริบาล3Case Managements

3 2.เกิดสภาพแวดล้อมเตรียม รองรับสังคมสูงวัย
ตัวชี้วัด : มิติสุขภาพ 2.1 มีกติกาชุมชนในการดูแลสุขภาพเพื่อรักษาสุขภาพให้ปลอดโรคปลอดภัยสูงวัย แข็งแรง 2.2 มีการรณรงค์ให้ความรู้เชิดชูเกียรติผู้ที่มีการดูแลสุขภาพปลอดโรคปลอดภัย 2.3 มีร้านลดหวานมันเค็ม 1 ร้าน 2.4 มีระบบดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว (Long Term Care) ผ่านมาตรฐานร้อย ละ 80** มิติสภาพแวดล้อม 2.5 มีครัวเรือนที่มีการปรับสภาพบ้านให้ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ (เจ้าบ้านปรับ เอง/ปรับโดยชุมชน/ปรับโดยหน่วยงาน เช่น อปท. พมจ. ) อย่างน้อยจำนวน ๒ ครัวเรือน 2.6 มีพื้นที่สาธารณะในชุมชน เช่น วัด หรือ มัสยิด หรือ ศาลเจ้า หรือ อาคารและ สถานที่ของราชการ มีการปรับสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ อย่าง น้อย 1 จุด 2.7 มีช่างชุมชน/เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เข้าใจแนวคิดและสามารถ ให้คำแนะนำการปรับสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุอย่างน้อย 2 คน
200.00

1การดำเนินงานมากกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ความร่วมมือในการทำงานทั้ง3 ภาคี 2เป็นศูนย์เรียนรู้จากหน่วยงานต่างๆ 3 อบตกำลังก่อสร้างห้องน้ำห้องส้วมออกแบบโดยศูนย์UDC มอตรัง สำหรับประชาชนทุกคน

4 3.เกิดพฤติกรรมสำคัญเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติได้รับการเตรียมความพร้อม
ตัวชี้วัด : มิติสุขภาพ 3.1 กลุ่มเป้าหมายมีดัชนีมวลกายผ่านเกณฑ์ร้อยละ/มีพฤติกรรมลดการสูบบุหรี่ ร้อยละ 25 มิติสังคม 3.2 กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 25 มีการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (ชมรมผู้สูงอายุ/โรงเรียน ผู้สูงอายุ/กลุ่มอื่นๆ ) อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 3.3 กลุ่มเป้าหมายมีการไปเยี่ยมผู้สูงอายุในชุมชน ร้อยละ 10 3.๔ กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเท่าทันสื่อและเทคโนโลยี ร้อยละ 25 มิติเศรษฐกิจ 3.๕ กลุ่มเป้าหมายมีการออมเตรียมสูงวัยด้วยเงิน ได้แก่ สถาบันการเงินในชุมชน ธนาคาร กอช. ประกันตนเองมาตรา 40 กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ อย่างน้อย 2 รูปแบบ ร้อยละ 25
200.00

3.1กลุ่มเป้าหมาย ส่วนใหญ่ เป็ผู้หญิง จึงไม่ได้ดำเนินการ

5 4.เกิดคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
ตัวชี้วัด : ด้านสุขภาพ 4.1 กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองและมีความเสี่ยงเป็น โรคเบาหวานน้อยกว่าร้อยละ 10 มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงน้อยกว่า ร้อยละ 5 4.2 กลุ่มเสี่ยงเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ5 4.3 กลุ่มเสี่ยงเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตรายใหม่ลดลง มากกว่าหรือเท่ากับร้อย ละ5 4.4 กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60 4.5 กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตที่ควบคุมระดับได้ดีมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60 4.6 กลุ่มติดเตียง ได้รับการดูแลร้อยละ 80
200.00

ได้รับความร่วมมือจากทีม อสม. รพสต. เป็นอย่างดี และกลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือดี ในการดำเนินงานLTC

6 5.เกิดนโบบายแผนงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบล
ตัวชี้วัด : 5.1 มีการบรรจุแผนงานโครงการสนับสนุนการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูง วัยในแผนพัฒนาท้องถิ่นและหรือกองทุนสุขภาพตำบล 5.2 มีและใช้ธรรมนูญสุขภาวะชุมชนในการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ของพื้นที่
1.00

มีการบรรจุโครงการเตรียมรองรับสังคมสุงวัยไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่น ปะจำปี พ.ศ.2566-2570 เรียบร้อยแล้ว และได้นำไปตั้งเป็นข้อบัญญัจิประตำปีงบประมาณ 2566 ซึ่งจะขับเคลื่อนกิจกรรมต่อไป ส่วนธรรมนูญสุขภาพตำบลได้มีการทบทวนและประกาสใช้ธรรมนูญสุขภาพเรียบร้อยแแล้ว

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ประชากร 60 ปีขึ้นไป 40 40
ประชากรอายุ 35-59 ปี 160 160

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถิ่น(ภาคีท้องถิ่น ภาคีสุขภาพ และภาคีภาคประชาชน)มี ศักยภาพในการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้กับประชาชนในตำบล (2) 1.เกิดกลไกการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้มีความเข้มแข็ง (3) 2.เกิดสภาพแวดล้อมเตรียม รองรับสังคมสูงวัย (4) 3.เกิดพฤติกรรมสำคัญเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติได้รับการเตรียมความพร้อม (5) 4.เกิดคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (6) 5.เกิดนโบบายแผนงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนากลไกเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้มีความเข้มแข็ง (2) พัฒนาสภาพแวดล้อมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (3) พฤติกรรมสำคัญเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ (4) คุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (5) พัฒนานโยบายแผนงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบล (6) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (7) บัญชีธนาคาร (8) การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ (9) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร (10) ปฐมนิเทศโครงการย่อย (11) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 (12) จัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส (13) พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 1 (อบรมพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบสังคมสูงวัย : การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยใน 4 มิติ) (14) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 (15) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 (16) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 6 (17) พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่2 (ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการย่อยในการใช้โปรแกรม canva และรายงานกิจกรรมและบันทึกรายงานการเงินในระบบ www.happynetwork.org) (18) พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 3 (19) เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด  ครั้งที่1 (20) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 (21) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (22) สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (23) ประชาสัมพันธ์โครงการ (24) ส่งเสริมการรับรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ (25) ส่งเสริมการรับรู้เตรียมรองรับสังคมสุูงวัยทั้ง 4 มิติ (26) ส่งเสริมการรับรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ (27) ประชาสัมพันธ์โครงการ (28) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 5 (29) การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ (30) การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ (31) การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ทั้ง 4 มิติ (32) การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ (33) การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ (34) การส่งเสริมการรับรู้เรื่องเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ (35) เตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้ปลอดภัย (36) การสร้างความยั่งยืนเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (37) ประสานงานและจัดทำโครงการ (38) จัดทำบัญชี (39) จัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินโครงการ (40) เวทีแลกเปลี่ยนรู้กับ สสส. (41) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 7 (42) เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด  ครั้งที่ 2 (43) จัดกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย มิติด้านสังคม (44) ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 8 (45) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เตรียมรองรับสังคมสูงวัย (46) เตรียมรองรับสังคมสูงวัยด้านปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้ปลอดภัย (47) จัดกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ และรู้ทันสื่อ (48) จัดกิจกรรมเตรียมรองรับสังคมสุงวัย 4 มิติ และรู้เท่าทันสื่อ (49) จัดเวทีทบทวนธรรมนุญสุขภาพตำบลบางด้วน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน

รหัสโครงการ 65-00-0144-0009 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2565 - 31 พฤษภาคม 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

1รูปแบบการออมธนาคาร ขี้วัว 2ออมเงินกับธกศผ่านคณะทำงานหมู่บ้าน ส่งไปอบตเพื่อฝากเงินรายเดือน 3การทำงานร่วมระหว่างสภาองค์กรชุมชนและอบตในเรื่องปรับสภาพแวดล้อม

1 ทะเบียนรายชื่อของสมาชิกและจำนวนสัตว์เลี้ยงรายครอบครัว 2ทะเบียนรายชื่อคนฝากเงินรายบุคลลและสมุดธนาคารธกศ 3 บัญชีการจัดซื้อจัดจ่้างและบัญชีบ้านได้รับสภาองค์กรชุมชน

1ของบจากกองทุนผู้สูงอายในการสนับสนุนลเลี้ยงวัวรายกลุ่ม 2ประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจ่ายหมู่บ้าน ผ่านแกนนำการทำงาน 3 บ้านที่ไม่ เพื่อขอสภาองค์กรชุมชนและกองทุนฟื้นฟูู อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

การมีส่วนร่วมของกลไกการทำงานองคณะทำงาน

สังเคราห์ โมเดล พื้นที่ประสบความสำเร็จ Best practice

การใช้ธรรนูญรองรับส่งคมสูงวัยเป็นเครื่องมือในการทำงาน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

สามภาคีสานพลัง ประกอบด้วย อบปท รพสต ภาคประชาสังคม

สังเคราห์ Model ของพื้นที่ตำบลบางด้วน เป็นพื้นที่ประสบณ์ความสำเร็จ (Best  practice

การปรับคณะสอดคล้องกับกิจกรรมเกัี่ยวข้อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

กลุ่มออกกำลังกาย  กลองยาว  บาสโลบ  โยคะ  มีแกนนำออกกำลังกายทุกหมู่บ้าน

ภาพกิจกรรมออกออกกำลัง ทุกวัน

ส่งเสริมการออกกำลังกาย ต่อเนื่องและออกแบบพฤติกรรมพึงปรัสงค์ของผู้สูงอายุ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

1โรงเรียนสูงอายุ รุ่น30 คน ระยะเวลา 3 เดือนต่อรุ่น 2ส่งเสริมศักยภาพในการคัดกรองพัฒนาการเด็กของศูนย์เด็กเล็ก 3 พัฒนาศักยภาพในการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพเบื้องต้น
4การปรับสภาพแวดล้อมที่เือื้อต่อผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัย และ สถานที่สาธารณะของวัด และห้องส้วมของรพสต และ อบต 5 ศูนย์ยืมกายอุปกรร์ของกองทุนฟืนฟู อบจตรังโดยกองสาธารณสุข

1สถานที่เรียน ภาพกิจกรรมของนักเรียน 2 การปรับปรุงของ บ้าน วัด อบต รพสต

1การทำงานร่วมกันกับ ทีมEMS (FR)iของรพสต/อบต 2 สภาองค์กรชุมชน /ศูนย์ยืมกายอุปกรณ์ของกองทุนฟื้นฟู

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

1 ฝากเงินกับธกศ ผ่านอบต/คณะทำงาน 2 ธนาคารขี้วัวของหมู่ที่5

ทเบียนรายชื่อและรายได้จากการจำหน่ายรายเดือน

1ขอสนับสนุนจากกองทุนศูงอายุ 2 ขยายพื้นที่ดำเนินการ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

ธรรมนูญรองรับสังคมสูงวัย

เอกสารMOU

ประกาศและนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการทำงาน 4 มิติ สุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ สภาพแวดล้อม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

ท้องถิ่น  ท้องที่ รพสต โรงเรียนสูงอายุ สภาองค์กรชุมชน อบจ(กองทุนฟื้นฟู)  พมจ(กองทุนผู้สูงอายุ) กาชาดจังหวัดตรัง  และ ศูนย์UDC มอ วิทยาเขตรังและ

ภาพกิจกรรม  เอกสารความร่วมมือ งบประมาณ ได้รับการจัดสรร

ความต่อเนื่อง ในการสับสนุนกิจกรรมและงบประมาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

การบูรณาการ งบประมาณที่สอดคล้องกับระเบียบเจ้าของงบประมาณ เน้นเป้าหมายร่วม เช่น กองทุนLTC ปรับปรุงบ้าน สภาพแวดล้อม

รายละเอียดในโครงการ การเบิกจ่ายงบประมาณ

บูรณาการ งาน ทุกภาคส่วนที่เดี่ยวข้อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางด้วน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-00-0144-0009

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายไพบูลย์ หนูอินทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด