directions_run

โครงการเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารอย่างยั่งยืน ภายใต้กลุ่มออมทรัพย์บ้านสันติ

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการการเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารอย่างยั่งยืนภายใต้กลุ่มออมทรัพย์บ้านสันติโดยมีวัตถุประสงค์1.เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 2.เพื่อสนับสนุนการเข้าถึงอาหารในระดับชุมชนและครัวเรือนสร้างระบบความมั่นคงทางอาหารของชุมชน 3.เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานกับ สสส.ในเรื่องความมั่นคงทางอาหาร และจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ชุมชน มีกิจกรรมสำคัญดังนี้
1.เวทีสร้างความเข้าใจโครงการให้แก่ชุมชนรับทราบเกี่ยวกับโครงการ 2.ตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการและประชุมคณะทำงาน 3 ครั้ง 3.คณะทำงานลงพื้นที่เก็บข้อมูลกลุ่มเป้าหมายในช่วงต้นโครงการ ช่วงกลางโครงการ และช่วงใกล้เสร็จโครงการ 4.คณะทำงานจัดประชาคมหมู่บ้านและพัฒนาศักยภาพชุมชน 5.ศึกษาดูงานที่ฟาร์มตัวอย่างโคกปาฆาบือซา ม.5 ต.กะลุวอเหนือ อ.เมือง จ.นราธิวาส 6.ครัวเรือนลงมือปฏิบัติการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี 7.อบรมการทำน้ำจิ้ม 8.อบรมการทำสบู่สมุนไพร
9.คณะทำงานติดตามการดำเนินงานโครงการ 10.จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงความมั่นคงทางอาหาร 11.อบรมเชิงปฏิบัติการมัคคุเทศก์น้อย 12. ดำเนินการจัดทำข้อมูลประกอบการจัดตั้งศูนย์ 13.เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พร้อมสรุปบทเรียนการดำเนินงานร่วมกับชุมชน เกิดผลลัพธืดังนี้ 1.ผู้เข้าร่วมโครงการ 37 คน ความรู้และทักษะด้านการเงิน สุขภาพ และสังคมและสามารถทำบัญชีครัวเรือนได้.ผู้เข้าร่วมโครงการ 37 คนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเลือกบริโภคอาหารที่ไม่หวาน มัน เค็ม ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ลดการดื่มสุราและการสูบบุหรี่ บริโภคผักปลอดสารเคมีที่ปลูกเองและรสรุปและวิเคราะห์สถานะทางการเงินมีบัญชีรายรับรายจ่ายของตนเอง 2.มีแหล่งผลิตอาหารที่เป็นแปลงรวมในชุมชน 1 แห่งใช้ผลิตอาหารส่วนกลาง   -ผักยกแคร่แปลงผักรวมปลูกผักปลอดสารเคมี
  -ผักพื้นบ้านที่ทนต่อสภาพภูมิอากาศเพื่อเก็บเมล็ดพันธุ์   -โรงเห็ด   -บ่อเลี้ยงปลาดุก 3.เกิดเครือข่ายความร่วมมือความมั่นคงทางอาหารทั้งในและนอกพื้นที่ 4..เกิดศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนเพื่อเป็นแหล่งอาหารของชุมชนและเป็นแหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชนและชุมชนใกล้เคียงมาศึกษาดูงาน 5.เกิดมัคคุเทศน์น้อยที่สามารถเข้าถึงแหล่งอาหารของชุมชนและสามารถประชาสัมพันธ์ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนได้ 6.เกิดเครือข่ายความร่วมมือความมั่นคงทางอาหารทั้งในและนอกพื้นที่ดังนี้   1.เครือข่ายเกษตรสันติ
  2.เครือข่ายผู้ใช้น้ำ
  3.เครือข่ายปลูกผักยกแคร่
  4.เครือข่ายพัฒนาชุมชนอ.สุคิริน
  5.เครือข่ายเกษตรอ.สุคิริน
  6.เครือข่าย กศน.ต.สุคิริน 7.การประชาสัมพันธ์สินค้าเพื่อการเข้าถึงของผู้บริโภคโดยใช้   1.กลุ่ม Line บ้านสันติ
  2.facebook กรณัท สายแวว
  3.เพจ อสม.บ้านสันติ
  4.tiktok@apple
  5.กลุ่ม Line อสม.บ้านสันติ

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

check_circle

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

check_circle

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

check_circle

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

check_circle

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

check_circle

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

check_circle

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ